SOHU0022 p01

Download Report

Transcript SOHU0022 p01

วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
เพือ่ ให้ นักศึกษา
1. เข้ าใจความสาคัญของการเตรียมตัว เพือ่ การเรียนในมหาวิทยาลัย
2. ตระหนักถึงความสาคัญของการวางแผนใช้ ชีวติ ในมหาวิทยาลัย
3. มีความรู้ สึกดีต่อการเรียน และการใช้ ชีวติ ในมหาวิทยาลัย
ถูกบังคับให้ มาเรียน ?
อยากทางานทีต่ รงกับสาขา
ทีเ่ รียน !
จบปริญญาตรีแล้ว น่ าจะปรับตัวเข้ ากับ
งานได้ ดีกว่ า !
- ทางานที่เป็ นประโยชน์ ต่อสั งคม
- อยู่ด้วยตนเอง ไม่ ข้องเกีย่ วกับผู้ใด
- เป็ นลูกจ้ างตลอดกาล (มนุษย์ เงินเดือน)
- ใช้ ชีวติ สนุกหนาน !
นั่นคือ เราต้ องรู้ จกั ตัวตนของเราเอง
ว่ าเราต้ องการทาอะไร หรือเป็ นอะไร
จงเป็ นตัวของตัวเอง Be oneself
และเชื่อมั่นในตัวเอง Self respect
ว่ า เราทาได้
1. มุ่งทางาน
- หาเงินก้ อนโต หารายได้ พเิ ศษ
2. มุ่งสาราญ
- ใช้ จ่ายเงิน เฮฮา เที่ยวเตร่
3. มุ่งเรียน
- เรียนให้ รู้ ลกึ - คิดต่ อ
- เรียนเพือ่ ทาข้ อสอบได้
- ต้ องการเป็ น ................. ทีม่ ศี ักยภาพสู ง
- ต้ องการสร้ าง และสั่ งสมความสามารถพิเศษด้ าน ..........
- ต้ องการมีเพือ่ นสนิท มีสังคมทีด่ ี ........................
ด้ านการเรียน - เรียนให้ ร้ ู รอบ ได้ GPA สู ง มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้ าน
ด้ านสั งคม
- การใช้ ชีวติ ในมหาวิทยาลัย : การคบเพือ่ น สร้ างมิตรภาพ
เข้ ากิจกรรมชมรม
ด้ านส่ วนตัว - มีสุขภาพกาย – จิตดี มีวนิ ัยใช้ จ่าย
ด้ านการเรียน ต้ องมีทักษะการเรียน* ขยัน
รับผิดชอบตัวเอง บริหารเวลา มีเทคนิคการทาข้ อสอบ
และ เรียนรู้ วธิ ีคดิ วิธีแก้ปัญหา
* ทักษะการเรียน = ทักษะการฟัง
การจดโน๊ ต
การอ่ าน การเขียน การทารายงาน การรับมือกับ
วิธีสอน การจา การใช้ ห้องสมุด การบริหารเวลา
ฯลฯ
- มีความรอบรู้ รู้ ลกึ รู้ จริง
- มีความคิดอิสระ
- สามารถตั้งคาถามได้
- สามารถรวบรวมความรู้ และสร้ างองค์ ความรู้ ใหม่ ได้
- จัดลาดับความสาคัญของความรู้ ได้
- คิดอย่ างมีเหตุผล โต้ แย้ งด้ วยเหตุผล
- สามารถตัดสิ นใจภายใต้ กรอบแนวคิดเชิงคุณธรรม - จริยธรรมได้
การเตรียมตัวเพือ่ การเรียนในมหาวิทยาลัย
นักศึกษาหลักสู ตร 4 ปี ต้ องใช้ เวลา ~ 2,000 ชั่วโมงในชั้นเรียน
นักศึกษาหลักสู ตร 6 ปี ต้ องใช้ เวลา
~
3,000 ชั่วโมงในชั้นเรียน
จงใช้ เวลาอย่ างคุ้มค่ า และมีความหมาย
ตั้งแต่ ชั่วโมงแรก - ชั่วโมงสุ ดท้ าย
วิธีเรียนให้ ดใี นชั้นเรียน
* ก่ อนเข้ าชั้ นเรียน ควรอ่ านเนือ
้ หาวิชาที่จะเรียนใน
วันนีแ้ บบข้ ามๆ (skim) พอให้ เห็นภาพรวมว่ า
วันนีจ้ ะได้ เรียนเรื่องอะไร
- มาถึงชั้นเรียนก่ อนเวลา 5 – 10 นาที ในลักษณะพร้ อม
-- นอนพอ อิม่ พอดีๆ ไม่ วติ กกังวล ไม่ เมาค้ าง
- ระหว่ างรออาจารย์ ตั้งสติ เรียกสมาธิ (หลับตาก็ได้ )
‘ตัวเราอยู่ทนี่ ี่ ใจต้ องจดจ่ ออยู่ทนี่ ี่’
- ระหว่ างรอ ควรอ่ านทบทวน lecture note คราวก่ อน
เพือ่ จะได้ เชื่อมโยงกับเนือ้ หาวิชาของวันนี้
- สมุดจด – notebook ควรมีทเี่ ก็บใบประมวลการสอน
การบ้ าน แบบทดสอบที่ได้ รับคืน
- เตรียมปากกา หลายๆ ด้ าม หลายๆ สี และปากกา Hi-light
- ถ้ าอาจารย์ บรรยายจากตารา ก็ต้องนาตารามาด้ วย แล้วใช้ ปากกา
Hi-light ขีดตรงเนือ้ หาที่คดิ ว่าสาคัญ หรือที่อาจารย์ เน้ นยา้
- จงฟัง – และจดแนวคิด – ความรู้ ที่แน่ ใจว่ า ไม่ สามารถหาอ่ านได้
จากตาราเล่มใด
หลักการจดโน๊ ตย่ อ
- ไม่ จดทุกคาพูด ฟังแล้ วต้ องตีความ แล้ วสรุ ปแนวคิด
เขียนเป็ นภาษาของเราเอง
- หลังเลิกชั้นเรียน ต้ องรีบทา lecture note ให้ สมบูรณ์
สามารถอ่านเข้ าใจได้ เมื่อเวลาผ่ านไป ด้ วยการเติมส่ วนที่จด
ไม่ ทัน ตรวจสอบกับเพือ่ น กับตารา หรือถามอาจารย์
ก่ อนเข้ าชั้นเรียน
- เตรียมสมุดโน้ ตที่จะจด และเก็บงานต่ างๆ ของเราได้
- ถามตัวเองเกีย่ วกับเนือ้ หาที่เรียนไปในคราวก่อน
- อ่านเรื่องที่อาจารย์ มอบหมายให้ อ่าน เพือ่ นา key idea มาเก็บ
ไว้ในสมอง เตรียมดึงออกมาใช้
- ทาตัวเองให้ alert ทั้งกายและใจ
- ทาใจให้ มีสมาธิ เพือ่ เตรียมฟัง
ระหว่ างเรียน
- ตั้งใจตอนอาจารย์ เริ่ม lecture เพราะอาจารย์ กาลังทบทวนให้ เรา
- ฟังโครงร่ างเนือ้ หา – agenda ของวันนี้
- จับประเด็นสาคัญ
-จด เขียน สิ่ งต่ างๆ ให้ เพียงพอสาหรับการทาความเข้ าใจใน
โอกาสต่ อไป
หลังเลิกชั้นเรียน
- ทาประเด็นที่ยงั สงสั ยให้ กระจ่ าง ด้ วยการถามอาจารย์ หรื อเพือ่ น
- ใช้ ตาราเรียน เพือ่ เติมเต็มประเด็นที่ยงั ไม่ สมบูรณ์
- อ่านค้ นคว้าเพิม่ เติมในหัวข้ อที่เรียนในวันนั้นๆ อีก 3 ชั่วโมง/วิชา
- รีบทาการบ้ าน – งานมอบหมาย ในขณะที่ความรู้ นีย้ งั สดใหม่
สิ่ งที่ต้องทาเป็ นประจา
- ทบทวน lecture note
- ทาโน๊ ตย่ อเพือ่ เตือนความจา
- ตื่นตัวที่จะทาแก่นสารของเรื่องที่เรียนให้ กว้ างขวาง – ลึกซึ้ง
ยิง่ ขึน้
- สร้ างโจทย์ คาถามเอง และตอบโจทย์ น้ ัน
หา และจัดมุมสาหรับดูหนังสื อ / ทาการบ้ าน
- ควรเป็ นโต๊ ะที่มีขนาดใหญ่ พอที่เราจะวางของใช้ ที่จาเป็ นทุกอย่ างได้
- เตรียมอุปกรณ์ เครื่องเขียนให้ ครบครัน
- ควรใช้ เก้าอีธ้ รรมดาที่นั่งสบาย
- ต้ องมีแสงสว่างเพียงพอ
- มีอุณหภูมิในระดับที่ร่างกายของเรารับได้
- เวลาเรียน ทบทวน อาจต้ องปิ ดมือถือ ดึงสายโทรศัพท์ ออก
แขวนป้ายไว้ หน้ าประตูห้อง ‘Do Not Disturb’
ตั้งซุ้มเด็กเรียน
- จับกลุ่มกับเพือ่ นที่ต้ งั ใจเรียน ร่ วมคิด ร่ วมติว
- ช่ วยติวเพือ่ นที่ยงั ไม่ เข้ าใจเนือ้ หา
- เข้ าชมรมวิชาการ เพือ่ รับการติวจากรุ่ นพีท่ ี่เก่ งๆ
-ขอใช้ ห้องประชุ ม / ห้ องสั มมนาในห้ องสมุด เพือ่ ติวหรืออภิปราย
ปัญหาวิชาการ
อืน่ ๆ ที่ควรทา
- ไปพบอาจารย์ ที่ปรึกษา เมื่อมีคาถาม หรือมีปัญหา หรือเพือ่ สร้ าง
มิตรภาพ
- ใช้ เวลาว่ างก่ อนเข้ าเรียนวิชาต่ อไปในห้ องสมุดให้ เกิดประโยชน์ เช่ น
เข้ าไปอ่าน หนังสื อพิมพ์ อ่านวารสาร ฝึ กฝนภาษาอังกฤษที่ห้อง
LSAC หรือฝึ กใช้ ระบบสื บค้ น
- เรียนรู้ ว่าในมหาวิทยาลัยมีบริการอะไรบ้ างสาหรับนักศึกษา และ
ตั้งอยู่ที่ใด สานักกิจการนักศึกษา ตึกเรียน ห้ อง Lab โรงยิม
โต๊ ะอ่านหนังสื อในสวน
การใช้ ประโยชน์ จากห้ องสมุด
‘อ่ าน ค้ นคว้ า (ย่ อยสารสนเทศ) ได้ ลกึ ซึ้งเท่ าใด
ความคิดวิจารณญาณ ก็ก้าวไกลไปเท่ านั้น’
- รู้ วธิ ีหาหนังสื อ
- รู้ วธิ ีหาบทความวารสาร
- รู้ วธิ ีหาความรู้
ใช้ เวลาในขณะทีอ่ ยู่ในห้ องสมุดให้ คุ้มค่ า
บริหารเวลา
- จัดตารางเวลาของตัวเอง
- ทาปฏิทินภาคการศึกษา
-- จดเรื่องใหญ่ ๆ ที่ต้องทาให้ สาเร็จในภาคการศึกษา
- ทาตารางเวลาประจาสั ปดาห์
-- วันที่ต้องส่ งงานมอบหมาย วันติววิชา วันทดสอบย่ อย ตารางสอบ
- ทาตารางเวลาประจาวัน
-- แบ่ งเวลาในแต่ ละวัน เช่ น ช่ วงเวลาใด ออกกาลังกาย ทบทวน
บทเรียน เข้ าชั้นเรียน พบอาจารย์ ทาการบ้ าน ทากิจส่ วนตัว พักผ่ อน
ในแต่ ละวัน นักศึกษาควรจะ
- ทบทวนเนือ้ หาวิชา เพือ่ ดูว่า ต้ อง
เตรียมการอะไรเกีย่ วกับวิชาหนึ่งๆ สาหรับ
การเรียนในสั ปดาห์ ต่อไป และจดสิ่ งที่ต้อง
ทาลงในตารางเวลาประจาวันด้ วย
ตัวอย่ างการจัดสรรเวลาใน 1 สั ปดาห์ (168 ชั่วโมง)
กิจกรรม
:
จำนวนชั่วโมงที่ใช้
เรียนในชั้นเรียน
18 (7 วิชา)
ทบทวน / อ่านค้ นคว้าเพิม่ เติม :
28 (7 วิชา × 4 ชม.)
ทาการบ้ าน
กิน
:
14
ออกกาลังกาย
:
3
เดินทางไป – กลับ
นอน
ธุระส่ วนตัว
:
:
:
ปิ้ ง)
เวลาว่างในมหาวิทยาลัย
:
เวลาว่างนอกมหาวิทยาลัย
เวลาที่สูญเปล่ า
4 / ± 14
56 / 49
12 (ทาความสะอาดห้ อง,
ซัก – รีดเสื้อผ้ า, ช้ อป
10 (เข้ าห้ องสมุด, เข้ ากลุ่มติว,
ท่ องศัพท์ , เข้ ากิจกรรมชมรม)
:
12 (พบเพือ่ น, chat,
ดูภาพยนตร์ , ฟังเพลง, ไปหอศิลป์ )
:
11 / 8 (ไม่ ควรมากกว่า 1.5
ชม. ต่ อวัน)
การจัดวางของในห้ องพัก / ห้ องทางานส่ วนตัว
- จัดวางให้ เป็ นระเบียบ
ตารา lecture note อุปกรณ์ เครื่องเขียน
สะดวกเมื่อจะหยิบใช้ สะอาด เรียบร้ อย
เพิม่ บรรยากาศการเรียน ไม่ เสี ยเวลารื้อค้ น
และจัดเก็บเข้ าที่ใหม่
ด้ านสั งคม : การใช้ ชีวติ ในมหาวิทยาลัย
นักศึกษาจะได้ ใช้ ชีวติ อยู่ในสิ่ งแวดล้ อมที่ประกอบไป
ด้ วยปัญญาชน เต็มไปด้ วยอิสรภาพ เสรีภาพ
(ภายใต้ กฎเกณฑ์ ) มีชมรมให้ เลือกเข้ าเป็ นสมาชิก
มีเพือ่ นใหม่ มากมาย
- รู้ กฎระเบียบของมหาวิทยาลัย และปฏิบตั ิ
ตามอย่ างเคร่ งครัด
การคบเพือ่ น
- นักศึกษามุ่งอะไร ก็เลือกคบเพือ่ นทีม่ ่ ุงสิ่ งเดียวกัน
- เป็ นตัวของตัวเอง บริหารเพือ่ นเป็ น
- Learn to say ‘NO !’
- เพือ่ นช่ วยเพือ่ น คบเพือ่ นทีเ่ ขาห่ วงใยเราอย่ างจริงใจ
ชวนเขาไปเทีย่ วบ้ านบ้ าง
รู้ แหล่ งเงินทุน (ทุนเรียน, รางวัลต่ างๆ)
- ไม่ ว่าจะเรียนมหาวิทยาลัยใด ต้ องเตรียมเงินทุนจานวนมากทั้งสิ้น
-- นักศึกษาที่ก้ ู กยศ. ต้ องยืน่ เอกสารการกู้ตามเวลาที่กาหนด
-- นักศึกษา มทม. มีทุนเรียนดี (ตั้งแต่ ปี 2 เป็ นต้ นไป)
มีรางวัลเรียนดี (มอบให้ ในวันปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ )
มีทุนสนับสนุนการเรียนรู้ เป็ น Lab boy
และทุนของบริษัทอุตสาหกรรมต่ างๆ
เป็ นสมาชิกชมรมในมหาวิทยาลัย
- ชมรมด้ านบาเพ็ญประโยชน์ : ชมรมอาสาพัฒนาชนบท - ทางานสโมสรนักศึกษา
ชมรมสร้ างสรรค์ ชีวติ ฯลฯ
- ชมรมด้ านวิชาการ
: ชมรมไฟฟ้ากาลัง, ชมรมอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ
- ชมรมด้ านศาสนา
: ชมรมพุทธ, คริสเตียน, อิสลาม ฯลฯ
- ชมรมด้ านกีฬา
: เทควันโด้ , เคนโด้ , ฟุตบอล ฯลฯ
- ชมรมด้ านศิลปวัฒนธรรม : ชมรมอีสาน, ชมรมล้ านนา, ชมรมทักษิณ ฯลฯ
- ชมรมด้ านนันทนาการ
: ชมรมถ่ ายภาพ, ชมรมการละคอน, ชมรมดนตรี ฯลฯ
ด้ านส่ วนตัว
กิจวัตร
- เก็บห้ องให้ ดูดี จัดให้ เหมือนที่บ้าน อาจแขวนรู ปถ่ าย poster ที่ชอบ
- เสื้อผ้ าต้ องสะอาด
- ถ้ าจะมีมิตรภาพแบบโรแมนติก
-- จงซื่อสั ตย์ และจริงใจ อย่ าชิงสุ กก่ อนห่ าม
การใช้ จ่ายเงิน
- กาหนดวงเงินใช้ จ่าย และใช้ จ่ายตามนั้น
- อย่ าพกสมุดเช็ค
- ใช้ บัตรเครดิตอย่ างมีสติ
- อย่ าใช้ มอื ถืออย่ างเพลิดเพลิน
- จ่ ายบิลตามกาหนด
ดูแลสุ ขภาพกาย - ใจ
- นอนให้ พอ ออกกาลังกาย รับประทานให้ เหมาะ
- อย่ าพึง่ กาแฟ เครื่องดืม่ ชู กาลัง ให้ รับประทานผลไม้ สดแทน
- อยู่ให้ ห่างไกลจากบุหรี่ แอลกอฮอล์
- หลีกเลีย่ งอาหารขยะ : fast food
- คิดบวกเท่ านั้น
- ทาจิตใจให้ ปลอดโปร่ ง
- ใช้ บริการห้ องพยาบาลของมหาวิทยาลัย ตึก E ชั้น 2
- ใช้ บริการศูนย์ ให้ คาปรึกษา ถ้ ารู้ สึกชีวติ เริ่มรวน
สานักกิจการนักศึกษา ตึก D ชั้น 1
- อาจารย์ ทุกคนใน มทม. เป็ นอาจารย์ ที่ปรึกษาของนักศึกษา
- โทรไปบ้ านเมื่อ homesick
- สร้ างความสั มพันธ์ อนั ดีกบั คนรอบข้ าง คิดถึงคนอื่นให้ มาก
คาถาม ?
ท่ านคิดว่ า
การใช้ ชีวติ นักศึกษาในปัจจุบัน
ยากกว่ า หรือง่ ายกว่ าในอดีต
คราวหน้ า เรียน หัวข้ อ
กำรเรี ยนร้ ู และรูปแบบกำรเรี ยนร้ ู
ต้ องทาแบบฝึ กหัด ส่ งในคาบเรียน