การควบคุมภายใน - สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง

Download Report

Transcript การควบคุมภายใน - สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง

แนวทาง
การจัดวางระบบการควบคุมภายใน
และการประเมินผลการควบคุมภายใน
1
เนือ้ หาการนาเสนอ
1. วัตถุประสงค์ ของการเรียนรู้
2. สาระสาคัญของระเบียบ คตง.ว่ าด้ วยการกาหนด
มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544
3. ความหมายและวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน
4. ความรับผิดชอบของฝ่ ายบริหารต่ อการควบคุมภายใน
5. การดาเนินการและขั้นตอนการประเมินผลการ
ควบคุมภายใน
2
1. วัตถุประสงค์ ของการเรียนรู้
เมื่อเสร็จสิ้นการอบรม ผู้เข้ ารับการอบรมจะมี
ความรู้ ความเข้ าใจในการจัดวางระบบการควบคุม
ภายใน และประเมินผลการควบคุมภายใน รวมทั้งจะ
สามารถนาหลักการเกีย่ วกับมาตรฐานการควบคุม
ภายในไปใช้ ปฏิบัติภายในหน่ วยงานเพือ่ ให้ การ
ดาเนินการของหน่ วยงานมีประสิ ทธิภาพและ
ประสิ ทธิผลในระดับทีน่ ่ าพอใจอยู่เสมอ
3
2.สาระสาคัญของระเบียบ คตง.ว่ าด้ วยการ
กาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน
พ.ศ.2544
4
ส่ วนที่ 1 ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดินฯ
 คตง. ได้ ออกระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน
ว่ าด้ วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544
ข้ อ 5 ให้ หน่ วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายในให้
แล้ วเสร็จภายในหนึ่งปี นับแต่ วนั ที่ระเบียบใช้ บังคับ
ข้ อ 6 ประเมินการควบคุมภายในและรายงานผลการประเมิน
อย่ างน้ อยปี ละหนึ่งครั้ง ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้น
ปี งบประมาณ หรือปี ปฏิทนิ
5
ส่ วนที่1: ตัวระเบียบ (ต่ อ)
• การรายงานตามระเบียบฯ ข้ อ 6
• รายงานอย่ างน้ อยปี ละครั้ง ทุกปี
• รายงานครั้งแรกรายงานภายใน 240 วัน หรือ
ภายในสิ้นเดือน ก.พ. 2547 ขยายเป็ น ธ.ค.47
• ครั้งต่ อไป รายงานภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้น
ปี งบประมาณ (ภายในเดือน ธ.ค.ของทุกปี ) หรือปี ปฏิทนิ
(ภายในเดือน มี.ค.ของทุกปี )
6
รายละเอียดที่ต้องรายงานตามระเบียบฯ ข้ อ 6
การควบคุมภายในเป็ นไปตามมาตรฐานการควบคุม
หรือไม่ (ปอ.๑ )
 ผลการประเมินความเพียงพอและประสิ ทธิผลของระบบ
การควบคุมภายใน และผลการประเมินองค์ ประกอบของ
การควบคุมภายใน (ปอ.๑,ปอ.๒)
 จุดอ่ อน ข้ อเสนอแนะ และแผนการปรับปรุงแก้ ไข
(แบบ ปอ.๓)
7
ระเบียบฯข้ อ 8: การไม่ ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานการควบคุมภายใน

แจ้ งกระทรวงเจ้ าสั งกัด หรือผู้บังคับบัญชา
รายงานต่ อประธานรัฐสภา
• คณะกรรมาธิการของรัฐสภา
• คณะกรรมาธิการพิจารณางบประมาณรายจ่ ายประจาปี
 อาจต้ องรับโทษปรับทางปกครอง ตามระเบียบ คตง.
ว่ าด้ วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544

8
3. ความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดการควบคุมภายใน
ความหมาย
หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กากับดูแล ฝ่ าย
บริ หารและบุคลากรของหน่ วยรั บตรวจกาหนดให้ มี
ขึ้น เพื่อให้ มี ความมั่นใจอย่ างสมเหตุสมผลว่ าการ
ดาเนินงานจะบรรลุผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ ของ
การควบคุมภายใน
9
3. ความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดการควบคุมภายใน (ต่ อ)
แนวคิดการควบคมุ ภายใน
เป็ นกระบวนการทีร่ วมเป็ นส่ วนหนึ่งในการปฏิบัติงาน
ตามปกติ
เกิดขึน้ ได้ โดยบุคลากรทุกระดับขององค์ กร
ให้ ความเชื่อมั่นในระดับสมเหตุสมผล เพือ่ บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ 3 ประการของการควบคุม
10
3.ความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดการควบคุมภายใน (ต่ อ)
3 วัตถุประสงค์
1. ประสิ ทธิผลและประสิ ทธิภาพของการดาเนินงานรวมทั้ง
การดูแลรักษาทรัพย์ สิน การป้องกันการรั่วไหล สู ญเสี ย และ
การทุจริต (Operation = O)
2. ความเชื่อถือรายงานทางข้ อมูล(Financial Reporting =F)
3. การปฏิบัตติ ามกฎหมายและระเบียบข้ อบังคับทีเ่ กีย่ วข้ อง
( Compliance = C )
11
3. ความรับผิดชอบของฝ่ ายบริหารต่ อการควบคุมภายใน
ผู้บริหารระดับสู ง
ผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ
12
หน้ าทีข่ องผู้บริหารระดับสู ง



รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้ มกี ารควบคุมภายในทีม่ ี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลในระดับทีน่ ่ าพอใจอยู่เสมอ
ประเมินผลการควบคุมภายในของหน่ วยงาน
กาหนดให้ หน่ วยตรวจสอบภายในเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
ควบคุมภายใน
13
หน้ าทีข่ องผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ



จัดให้ มีการควบคุมภายในของส่ วนงานที่ตน
รับผิดชอบ
สอบทานการปฏิบัติงานที่ใช้ บังคับในหน่ วยงานที่
ตนรับผิดชอบ
ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงการควบคุมภายในให้ รัดกุม
14
ส่ วนที่ 2 มาตรฐานการควบคุมภายใน
5 องค์ ประกอบของการควบคมุ ภายใน
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม
2. การประเมินความเสี่ ยง
3. กิจกรรมการควบคุม
4. สารสนเทศและการสื่ อสาร
5. การติดตามประเมินผล
15
1. สภาพแวดล้ อมของการควบคุม
ปั จ จั ย ต่ างๆ ที่ ส่ งเสริ ม องค์ ประกอบการควบคุ ม
ภายในอืน่ หรือการควบคุมทีม่ อี ยู่ให้ มปี ระสิ ทธิผลยิง่ ขึน้
เป็ นเรื่องการสร้ างความตระหนัก เน้ นที่จิตสานึก
และให้ ความสาคัญกับคุณภาพของคน เช่ น
 ความซื่อสั ตย์ และจริยธรรมในทุกระดับองค์ กร
การพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากร
 ปรัชญาและรู ปแบบการบริหาร
 โครงสร้ างองค์ กรที่ดี
16
2.
การประเมินความเสี่ ยง
ความหมาย:
ความเสี่ ยง หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด
ความเสี ยหาย การรั่วไหล ความสู ญเปล่ า หรือเหตุการณ์
ซึ่งไม่ พงึ ประสงค์ ที่ทาให้ งานไม่ ประสบความสาเร็จตาม
วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายทีก่ าหนด
17
ขั้นตอนในการประเมิน
ความเสี่ ยง
1.การระบุปัจจัยเสี่ ยง (Risk Identification)
2.การวิเคราะห์ความเสี่ ยง (Risk Analysis)
3.การบริ หารความเสี่ ยง (Risk Management)
18
การวิเคราะห์ ผลกระทบของความเสี่ ยง
5
4
3
2
1
19
ระดับของความเสี่ ยง (Degree of Risk)
มีความเสี่ ยงสูงมาก
มีความเสี่ ยงสูง
มีความเสี่ ยงปานกลาง
มีความเสี่ ยงต่า
1 2 3 4 5
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยง
3. กิจกรรมการควบคุม

วิธีการต่ างๆ ทีฝ่ ่ ายบริหารกาหนดหรือออกแบบโดย
ได้ รับการตอบสนองจากบุคลากรและนามาใช้ ในการ
ปฏิบัติงานเพือ่ ป้องกันหรือลดความเสี่ ยง
ตัวอย่ างกิจกรรมการควบคมุ
 การกาหนดนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงาน
 การแบ่ งแยกหน้ าที่
 การอนุมัติ
 การดูแลป้องกันทรัพย์ สิน
20
4. สารสนเทศและการสื่ อสาร
• สารสนเทศ หมายถึง ข้ อมูลข่ าวสารทางการเงิน
และข้ อมูลข่ าวสารอืน่ ๆ เกีย่ วกับการ ดาเนินงานของ
หน่ วยงาน ทั้งข้ อมูลจากแหล่ งภายใน หรือภายนอก
โดยลักษณะของสารสนเทศที่ดี
 เหมาะสมกับการใช้  ทันเวลา
ถูกต้ อง สมบูรณ์  น่ าเชื่อถือ เป็ นปัจจุบัน
21
4. สารสนเทศและการสื่ อสาร
•การสื่ อสาร หมายถึง การส่ งสารสนเทศระหว่าง
บุคลากร โดยจัดให้ มีระบบการสื่ อสารสองทาง
เพือ่ ให้ เกิดความเข้ าใจและความสั มพันธ์ ทดี่ ีภายใน
องค์ กร
22
5. การติดตามประเมินผล
การติดตามประเมินผล หมายถึงกระบวนการ
ประเมินคุณภาพการปฎิบัตงิ าน และประเมินประสิ ทธิผล
ของการควบคุมภายในทีว่ างไว้ อย่ างต่ อเนื่องและสม่าเสมอ
เพือ่ ทราบว่ าระบบการควบคุมภายในทีม่ ีอยู่สามารถ
ป้ องกันความเสี่ ยงในระดับที่ยอมรับได้ หรือต้ องปรับปรุง
ให้ ทันสมัยตามสถานการณ์ ที่เปลีย่ นแปลงไป
23
5.การติดตามประเมินผล (ต่ อ)


การติดตามผลในระหว่ างการปฏิบัติงาน
การประเมินผลเป็ นรายครั้ง
1. ประเมินการควบคุมด้ วยตนเอง
2. ประเมินการควบคุมอย่ างเป็ นอิสระ
24
การดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน
1. กาหนดผู้รับผิดชอบ
2. กาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ การประเมิน
3. ศึกษา ทาความเข้ าใจโครงสร้ างการควบคุมภายใน
4. จัดทาแผนการประเมิน
5. ดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน
6. สรุปผล และจัดทารายงานการประเมิน
25
1. กาหนดผู้รับผิดชอบ
เจ้ าหน้ าทีร่ ะดับอาวุโสหรือคณะทางาน
ผู้บริหารและผู้ปฏิบัตริ ะดับส่ วนงานย่ อย
ผู้ตรวจสอบภายใน
26
1. กาหนดผู้รับผิดชอบ (ต่ อ)
 ประเมินผลการควบคุม
ด้วยตนเอง (CSA)
 ติดตามการประเมินผล
 สรุ ปผลการประเมิน
 จัดทารายงานระดับ
ส่ วนงานย่อย
27
2. กาหนดขอบเขต
และวัตถุประสงค์ การประเมิน
ประเมินทั้งระบบ/บางส่ วน/งานที่มีความ
เสี่ ยงสู ง
ประเมินเพือ่ ต้ องการทราบสิ่ งใด
 ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลการดาเนินงาน
ความถูกต้ อง น่ าเชื่อถือของรายงานทางข้ อมูล

การปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ฯลฯ
28
3. ศึกษาทาความเข้ าใจโครงสร้ าง
การควบคุมภายใน
รูปแบบระบบการควบคุมภายในตามทีอ่ อกแบบไว้
ทางานจริง ทาอย่ างไร
สอบถาม / สั มภาษณ์ / ศึกษาเอกสาร
สรุปผลการศึกษา
29
4. จัดทาแผนการประเมิน




เรื่องทีจ่ ะประเมิน
วัตถุประสงค์ การประเมิน
ขอบเขต
ผู้ประเมิน



ระยะเวลา
วิธีประเมิน
เครื่องมือ อุปกรณ์ ทใี่ ช้
30
5.ดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน
• จนท. อาวุโส/คณะทางาน/ฝ่ ายบริ หารส่ วนงานย่อย
จัดประชุ มเชิงปฏิบัตกิ าร
• ฝ่ ายบริ หารส่ วนงานย่อยกับผูป้ ฏิบตั ิ
• กาหนดงานในความรับผิดชอบของส่ วนงานย่อยออกเป็ น
กาหนดงานในความ
รับผิดชอบของส่ วนงานย่ อย กิจกรรม/งานเพื่อทาความเข้าใจวัตถุประสงค์,เป้ าหมายหลักของ
กิจกรรม/งาน
จัดเตรียมเครื่องมือ
ประเมินผลฯ
ดาเนินการประเมินผล
การควบคุมภายใน
• แบบประเมินองค์ประกอบฯ / แบบสอบถามการควบคุมภายในฯ
• ตารางกิจกรรม /ผังภาพเกี่ยวกับการควบคุมภายในฯ
• ระดับส่ วนงานย่อย
• ระดับหน่วยรับตรวจ
31
5. ดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่ อ)
 ดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน
 การประเมินผลระดับส่ วนงานย่ อย
- ประเมินผลกิจกรรม
และพิจารณาองค์ ประกอบทั้ง 5 ของการควบคุมภายใน
 การประเมินผลระดับหน่ วยรั บตรวจ - ใช้ ผลการประเมิน
ส่ วนงานย่ อย และประเมินเพิม่ เติม เพือ่ สรุปภาพรวมของ
หน่ วยงาน
32
6.สรุปผลและจัดทาเอกสารการประเมิน
ส่ วนงานย่ อย


วิเคราะห์ ความมีอยู่ ความเพียงพอ ประสิ ทธิผล
การควบคุมจากผลการประเมิน
เสนอวิธีการปรับปรุง แก้ ไข ข้ อบกพร่ อง จุดอ่ อน
จัดทารายงาน ส่ ง เจ้ าหน้ าทีอ
่ าวุโส/คณะทางาน
1. รายงานผลการประเมินองค์ ประกอบการควบคุมภายใน – ปย.1
2. รายงานการประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน – ปย.2
33
สรุปผลและจัดทาเอกสารการประเมิน (ต่ อ)
หน่ วยรับตรวจ
 รวมผลสรุ ปส่ วนงานย่ อยผลการประเมินเพิม
่ เติม
 ผลการประเมินอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน
 วิเคราะห์ เปรียบเทียบ สรุ ปภาพรวม
 จัดทารายงาน
1. หนังสื อรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน – ปอ.1
2. รายงานผลการประเมินองค์ ประกอบการควบคุมภายใน – ปอ.2
3. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน – ปอ.3
34
ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน
ขั้นตอนที่ 1 กาหนดผู้รับผิดชอบและประชุมเชิงปฏิบัติการ
1.1 เจ้ าหน้ าทีร่ ะดับอาวุโส/คณะทางานกับฝ่ าย
บริหารส่ วนงานย่ อย เพือ่ กาหนดงาน/กิจกรรม
และวัตถุประสงค์ ของงาน/กิจจกรม พร้ อม
มอบหมายการจัดทาเครื่องมือการประเมิน
35
ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน
1.2 ฝ่ ายบริหารส่ วนงานย่ อยกับผู้ปฏิบัตขิ อง
ส่ วนงานย่ อย เพือ่ ระบุงาน/กิจกรรมในความ
รับผิดชอบ รวมทั้งจัดทาแบบสอบถามการ
ประเมินองค์ ประกอบการควบคุมภายในและ
แบบสอบถามการควบคุมภายในของงานที่
รับผิดชอบ
36
ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินการควบคุมภายในของส่ วนงานย่ อย
2.1 ประเมินองค์ ประกอบการของการควบคุม
ภายในของส่ วนงานย่ อย สรุปผลการประเมินฯ
ตามแบบ ปย.1
2.2 ประเมินการควบคุมภายในของงานทีร่ ับผิด
ชอบ ตามแบบสอบถามที่จัดทา
37
ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน
2.3 ประเมินความเสี่ ยงของงานทีร่ ับผิดชอบ โดย
นาข้ อมูลทีไ่ ด้ จาก ข้ อ 2.1 ,2.2 มาวิเคราะห์
ตามแบบ ปย.2
2.4 ส่ วนงานย่ อยส่ งรายงานฯ ปย.1 และ ปย.2
ให้ เจ้ าหน้ าทีร่ ะดับอาวุโส/คณะทางาน
38
ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน
ขั้นตอนที่ 3 ประมวลผลการควบคุมภายในระดับ
หน่ วยรับตรวจ โดยคณะทางาน
3.1 ประเมินองค์ ประกอบของการควบคุมภายใน
ระดับหน่ วยรับตรวจสรุปผลฯ ตามแบบ ปอ.2
3.2 ประมวลผลรายงานการประเมินฯของส่ วนงาน
ย่ อย (แบบ ปย.2) เป็ น แบบ ปอ.3
39
ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน
3.3 จัดทาร่ างหนังสื อรับรองการประเมินผลการ
ควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1)
3.4 เสนอร่ าง ปอ.1,2 และ 3 ต่ อผู้บริหารสู งสุ ด
เพือ่ ส่ งให้ ผู้ตรวจสอบภายในสอบทานและ
จัดทารายงานฯ (ปส.) และนาเสนอผู้บริหาร
เพือ่ พิจารณาสั่ งการ
40
ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน
3.5 ผู้บริหารสู งสุ ดพิจารณา แบบ ปอ.1, 2, 3 และ ปส.
พร้ อมลงนามเห็นชอบ
3.6 ส่ งหนังสื อรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน
(ปอ.1) ให้ สตง. ภายในระยะเวลาที่กาหนด
41
การจัดส่ งรายงานให้ สตง.
ห นั ง สื อ รั บ ร อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล
การควบคุม ฉบับเดียว
รายงานอืน่ เก็บไว้ ที่หน่ วยรับตรวจ
42
G หน่
หน่ววยรั
ยรับบตรวจที
ตรวจที่ม่มีหีหน่น่ววยงานย่
ยงานย่อยภายใต้
อยภายใต้สังสกัั งดกัด
• หากโครงสร้ างการบริ หารงานของหน่ วยงานย่อย
ภายใต้สงั กัดมีอสิ ระทางการบริหาร
• หน่วยงานย่อยนั้นสามารถกาหนดหรื อออกแบบ
และประเมินผลการควบคุมภายในของตนเอง
เสมือนเป็ นหน่วยรับตรวจ
43
Gหน่หน่วยรั
วยรับบตรวจที
ตรวจที่มีห่มีหน่น่วยงานย่
วยงานย่อยภายใต้
อยภายใต้สังสกัั งดกัด
ให้หน่ วยงานย่ อยดังกล่าวจัดทา
• รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ทั้งในระดับ
ส่ วนงานย่อยและระดับหน่วยรับตรวจ
• จัดทาหนังสื อรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน
เสนอต่อ คตง.โดยตรง
44
6. รูปแบบรายงานและแบบสอบถาม
การควบคุมภายใน
45
บทที่ 4 รู ปแบบรายงานและตัวอย่ างรายงาน
รู ปแบบรายงาน



ระดับหน่ วยรับตรวจ
แบบ ปอ. ประเมินองค์กร
ระดับส่ วนงานย่ อย
แบบ ปย. ประเมินส่ วนงานย่ อย
ผู้ตรวจสอบภายใน
แบบ ปส. ประเมินโดยผู้ตรวจสอบภายใน
46
รูปแบบรายงานระดับส่ วนงานย่ อย – ปย.
มี 2 แบบ
1. รายงานผลการประเมินองค์ ประกอบของการควบคุมภายใน - ปย.1
2. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุ งการควบคุมภายใน - ปย.2
47
ปย.1
แบบประเมินองค์ ป............................
ระกอบของการควบคุมภายใน
................................
.......................................
องค์ ประกอบของการควบคุมภายใน
(1)
1. สภาพแวดล้ อมการควบคุม
.......................................
2. การประเมินความเสี่ ยง
.......................................
3. กิจกรรมการควบคุม
.......................................
4. สารสนเทศและการสื่ อสาร
.......................................
5. การติดตามประเมินผล
.......................................
ผลการประเมิน .................................................................
..........................................................................................
ส่ วนหัวรายงาน
ผลการประเมิน/ ข้ อสรุ ป
(2)
ชื่อผู้รายงาน
ตาแหน่ ง
วัน เดือน พ.ศ.
48
ปย.2
แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน
มี 7 คอลัมน์
.............................
.................................
........................................
ส่ วนหัวรายงาน
กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/ การควบคุมที่ การประเมินผล ความเสี่ ยงที่
กิจกรรม/ ด้ านของงานทีป่ ระเมิน
มีอยู่
การควบคุม
ยังมีอยู่
และวัตถุประสงค์ ของการควบคุม
(1)
(2)
(3)
(4)
49
ปย.2
แบบประเมินผลและปรับปรุ งการควบคุมภายใน (ต่ อ)
การปรับปรุ งการควบคุม
(5)
กาหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ
(6)
หมายเหตุ
(7)
ชื่อผู้รายงาน
ตาแหน่ ง
วัน.......เดือน..........พ.ศ.........
50
รูปแบบรายงานระดับหน่ วยรับตรวจ – ปอ.
มี 3 แบบ
1. หนังสื อรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน – ปอ.1
2. รายงานผลการประเมินองค์ ประกอบของการควบคุม
ภายใน – ปอ.2
3. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน – ปอ.3
51
ปอ.1
แบบรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน
 เป็ นหนังสื อรับรองที่หน่ วยรับตรวจรับรองตนเองเกีย่ วกับการควบคุมภายใน
เรี ยน................
....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)......ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่
.....เดือน.......พ.ศ.......ด้วยวิธีการที่ ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)......กาหนด โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
สร้างความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดาเนิ นงานจะบรรลุวตั ถุประสงค์ดา้ น.................
...................................................................................................................ซึ่ งรวมถึงระเบียบ
ปฏิบตั ิของฝ่ ายบริ หาร
จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ....................สาหรับปี
สิ้ นสุ ดวันที่.....................เป็ นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กาหนดไว้ มีความเพียงพอและ
บรรลุวตั ถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามที่กล่าวในวรรคแรก
__________________
__________________
52
__________________
ปอ.2
แบบประเมินองค์ ประกอบของการควบคุมภายใน (ต่ อ)
ข้ อมูลทีร่ ายงาน ได้มาจาก
1. สรุปผลจากแบบ ปย.1 ของส่ วนงานย่ อยต่ างๆ
(รูปแบบเดียวกันกับ ปย.1)
2. การประเมินเพิม่ เติมในระดับองค์ กร
53
ปอ.3
แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
มี 6 คอลัมน์
.............................
.................................
........................................
กระบวนการปฏิบัตงิ าน/
โครงการ/ กิจกรรม/ ด้ านของงาน
ทีป่ ระเมินและวัตถุประสงค์ ของ
การควบคุม
(1)
ส่ วนหัวรายงาน
ความเสี่ ยงทีย่ งั มีอยู่
งวด/ เวลาที่
พบจุดอ่ อน
(2)
(3)
54
ปอ.3
แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่ อ)
การปรับปรุ งการควบคุม
(4)
กาหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ
(5)
หมายเหตุ
(6)
ชื่อผู้รายงาน
ตาแหน่ ง
วัน.......เดือน..........พ.ศ.........
55
ปย2
กระบวนการ
ปฏิบตั ิงานและ
วัตถุประสงค์
ของการควบคุม
(1)
กระบวนการ
ปฏิบตั ิงานและ
วัตถุประสงค์
การควบคุม
(1)
การ การประเมิน ความเสี่ ยง
การ
ควบคุม
ผลการ ที่ยังเหลืออยู่ ปรับปรุง
ทีม่ อี ยู่
ควบคุม
การ
ควบคุม
(2)
(3)
(4)
(5)
กาหนดเสร็จ/
ผู้รับผิดชอบ
หมายเหตุ
(6)
(7)
ความเสี่ ยง
ทีม่ อี ยู่
งวด/เวลาทีพ่ บ
จุดอ่ อน
การปรับปรุง
การควบคุม
กาหนดเสร็จ/
ผู้รับผิดชอบ
(2)
(3)
(4)
(5)
ปอ3
หมายเหตุ
(6)
56
56
รูปแบบรายงานของผู้ตรวจสอบภายใน – ปส.
 รายงานผลการสอบทานการประเมิ น ผล
การควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน
57
ปส.
แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน

เป็ นการประเมินการควบคุมอย่ างอิสระโดยผู้
ตรวจสอบภายใน

เพือ่ รายงานผู้บริหารถึงผลการสอบทานการประเมิน
ของหน่ วยงานและส่ วนงานย่ อย เป็ นไปตามทีอ่ งค์ กร
กาหนดหรือไม่ เพียงใด
58
ปส.
แบบรายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่ อ)
รายงาน............................................

เรียน (หัวหน้ าหน่ วยรับตรวจ/ ผู้บริหารสู งสุ ดของหน่ วยรับตรวจ) 
 ข้ าพเจ้ าได้ สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ (ชื่อหน่ วยรับตรวจ).......
สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที.่ .......เดือน...........พ.ศ.........การสอบทาน.................................................
..................................................................................................................................................
....................................................................ภายใน
ชื่อผู้รายงาน
ตาแหน่ ง
วันที.่ ....เดือน............พ.ศ.........
59
ปอ. 1
หนังสื อรับรองการประเมิน
ผลการควบคุมภายใน
ปอ.2 และ ปย. 1
ผลการประเมิน
5 องค์ ประกอบ
ปอ.3
แผนการปรับปรุง
ปย. 2
การประเมินผลและ
การปรับปรุงการควบคุมภายใน
ปส.
รายงานผลการสอบทาน
60
แบบสอบถามการควบคุมภายใน
วัตถุประสงค์
 เพือ่ เป็ นแนวทางในการประเมินองค์ ประกอบของการควบคุม
ภายในและประเมินการควบคุมภายในตามกิจกรรมแต่ ละด้ าน
 เพือ่ ให้ ทราบความเสี่ ยงทั่วไปทีม
่ ีผลกระทบต่ อการบรรลุ
วัตถุประสงค์ การควบคุมภายใน
 เพือ่ ให้ ทราบความเพียงพอของการควบคุมภายใน
 เพือ่ ใช้ ประโยชน์ ในการแก้ ไข ปรับปรุ งการควบคุมภายในต่ อไป
61
แบบสอบถามองค์ ประกอบของการควบคุมภายใน
ผู้ประเมินสามารถนาแบบสอบถามองค์ ประกอบของการควบคุม
ภายในมาประยุกต์ ใช้ เป็ นเครื่องมือในการประเมินองค์ ประกอบ
ของการควบคุมภายในได้ (ภาคผนวก ก หน้ า 85 – 96)
 เป็ นกลุ่มชุ ดคาถามแต่ ละองค์ ประกอบของการควบคุมภายใน เพือ่
นาไปใช้ ในการประเมินการควบคุมภายใน
 จัดเตรียมไว้ ล่วงหน้ า
 คาถามตั้งขึน
้ ตามมาตรฐานของหลักการควบคุมตามแนวคิดว่ า
เป็ นการควบคุมทีด่ แี ละเหมาะสมในองค์ ประกอบนั้นๆ

62
แบบประเมินองค์ ประกอบของการควบคุมภายใน
ภาคผนวก ก
 แบ่ งเป็ น
5 องค์ ประกอบ
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม
2. การประเมินความเสี่ ยง
3. กิจกรรมการควบคุม
4. สารสนเทศและการสื่ อสาร
5. การติดตามประเมินผล
แต่ ละองค์ ประกอบแยกเป็ น หัวข้ อหลักและหัวข้ อย่ อยทีเ่ กีย่ วเนื่องกับหัวข้ อ
หลัก
การนาไปใช้ ควรปรับแต่ งให้ เหมาะสม สอดคล้ องกับข้ อเท็จจริงและความเสี่ ยง
ของหน่ วยงานทีเ่ ป็ นอยู่ในปัจจุบนั
63
แบบสอบถามเกีย่ วกับการควบคุมภายใน
(Internal Control Questionnaires : ICQ)
 ใช้ เป็ นเครื่องมือในการประเมินโดยประยุกต์ ใช้ ให้ เหมาะสม
(ภาคผนวก ข)
 กลุ่มชุ ดคาถามเกีย่ วกับการควบคุมภายในเฉพาะเรื่อง/ กิจกรรม
 จัดเตรียมไว้ ล่วงหน้ า
 กาหนดขึน้ ตามมาตรฐานของหลักการควบคุมภายในตาม
แนวคิดว่ าเป็ นการควบคุมภายในที่ดแี ละเหมาะสมสาหรับเรื่อง
หรือกิจกรรมนั้น
64
แบบสอบถามการควบคุมภายใน
ภาคผนวก ข
มี 4 ชุด
 ชุ ดที่ 1 แบบสอบถามด้ านการบริหาร ประกอบด้ วย
 ภารกิจ
 กระบวนการปฏิบัตงิ าน
 การใช้ ทรัพยากร
 สภาพแวดล้ อมของการดาเนินงาน
65
แบบสอบถามการควบคุมภายใน
ภาคผนวก ข (ต่ อ)
มี 4 ชุด
 ชุ ดที่ 2 แบบสอบถามด้ านการเงิน ประกอบด้ วย
 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 ทรัพย์ สิน
 รายงานการเงิน
66
แบบสอบถามการควบคุมภายใน
ภาคผนวก ข (ต่ อ)
มี 4 ชุด
 ชุ ดที่ 3 แบบสอบถามด้ านการผลิต ประกอบด้ วย
 การวางแผนการผลิต
 การดาเนินการผลิต
 การบริ หารคลังสิ นค้ า
 ชุ ดที่ 4 แบบสอบถามด้ านอืน่ ๆ ประกอบด้ วย
 การบริ หารบุคลากร
 ระบบสารสนเทศ
 การบริ หารพัสดุ
67
แบบสอบถามการควบคุมภายใน
ภาคผนวก ข (ต่ อ)
วิธีการใช้
1. ผูป้ ระเมินเป็ นผูถ้ ามตามคาถามในแบบ
- มีการปฏิบตั ิตาม ใส่ เครื่ องหมาย “” ในช่อง “มี/ใช่”
- ไม่มีการปฏิบตั ิตาม ใส่ เครื่ องหมาย “” ในช่อง “ไม่มี/ไม่ใช่”
- ไม่มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับเรื่ องที่ถามใช้อกั ษร “NA” ในช่อง “ไม่มี/ไม่ใช่”
2. ผูป้ ระเมินทดสอบคาตอบโดย การสอบถาม การสังเกตการณ์
การปฏิบตั ิงานจริ ง หรื อวิเคราะห์จากเอกสารหลักฐานแล้วสรุ ป
ในช่อง “คาอธิบาย/ คาตอบ”
3. พิจารณาประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายในกิจกรรมนั้น
68
แบบสอบถามการควบคุมภายในเฉพาะเรื่อง
 หน่ วยรั บตรวจที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานเฉพาะเรื่อง
เช่ น ISO HA (Hospital Assurance) เป็ นต้ น สามารถ
นามาตรฐานการปฏิบัติงานเฉพาะเรื่อง/ กิจกรรมมาใช้
สร้ างเป็ นแบบสอบถามได้
69
ข้ อดีและข้ อจากัดของการประเมินผลการควบคุม
การประเมินผลการควบคุมด้ วยตนเอง (CSA)
ข้ อดี
1. มีความคุ้นเคยกับระบบงานเป็ นอย่ างดี
2. เข้ าใจพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน และ
วัฒนธรรมของหน่ วยงาน
3. มีความเป็ นกันเอง
4. ยอมรับความเห็นหรือข้ อเสนอแนะของ
การประเมินได้ ง่าย
5. เสี ยค่ าใช้ จ่ายน้ อย
6. เป็ นการเสริมสร้ างการเรียนรู้
7. สามารถประเมินผลในส่ วนของ
Soft Controls ได้ อย่างเต็มที่
ข้ อจากัด
1. เกิดความลาเอียงในการประเมินผล
2. อาจเกิดความขัดแย้งทาให้ ไม่ ยอมรับ
ข้ อบกพร่ องหรือปัญหาหรืออุปสรรค
ทีม่ ีผลต่ อการปฏิบัติงาน
3. ไม่ ค่อยมีเวลาในการประเมินผลอย่ าง
เต็มที่
4. ขาดทักษะในการประเมินผลที่ดีหรือ
ไม่ มีประสบการณ์ ในการประเมินผล
มากเท่ าที่ควร
70
ข้ อดีและข้ อจากัดของการประเมินผลการควบคุม (ต่ อ)
การประเมินผลการควบคุมอย่ างเป็ นอิสระ
ข้ อดี
1. ไม่ มีความลาเอียงในการประเมินผล
สามารถวิจารณ์ ได้ อย่างตรงไปตรงมา
2. ไม่ มีส่วนเกีย่ วข้ องหรือส่ วนได้ ส่วนเสี ยกับ
หน่ วยงาน
3. มีเวลาดาเนินการประเมินผลอย่างเต็มที่
4. มีความชานาญและประสบการณ์ ใน
การประเมินผลเป็ นอย่างดี
ข้ อจากัด
1. ต้ องใช้ เวลาในการทาความเข้ าใจ
ระบบงานทีน่ ามาประเมินผล
2. อาจไม่ ได้ รับข้ อมูลทีแ่ ท้ จริงในการ
นามาประเมินผล
3. เสี ยค่ าใช้ จ่ายมาก
4. อาจเกิดการไม่ ยอมรับผลทีไ่ ด้ จาก
การประเมิน
5. ไม่ สามารถประเมินผลในส่ วนของ
Soft Controls ได้ อย่างเต็มที่
71
72
73
74
7. กรณีศึกษา
75
แบบ ปย.2
รายงานการประเมินผลและการปรับปรุ งการควบคุมภายใน
กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/ การควบคุมที่ การประเมินผล ความเสี่ ยงที่
กิจกรรม/ ด้ านของงานทีป่ ระเมินและ
มีอยู่
การควบคุม
ยังมีอยู่
วัตถุประสงค์ ของการควบคุม
76
กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/ กิจกรรม/ ด้ าน
ของงานทีป่ ระเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม
การควบคุม
ทีม่ อี ยู่
การประเมินผล
การควบคุม
1. งานด้ านการบริหารทั่วไป
1.1 การรับ - ส่ งหนังสื อ
วัตถุประสงค์ ของการควบคุม
เพื่อ.........................................................
.....................................................................
1.2 การจัดพิมพ์
วัตถุประสงค์ ของการควบคุม
เพื่อ.........................................................
......................................................................
1.3 การจัดเก็บเอกสารทางราชการ
วัตถุประสงค์ ของการควบคุม
เพื่อ.........................................................
......................................................................
77
คาถามที่ได้ รับจากหน่ วยรับตรวจ
78
คาถามทีไ่ ด้ รับจากหน่ วยรับตรวจ
 การจัดทารายงานตามแนวทางฉบับใหม่ เริ่มเมือ่ ไร
 หน่ วยงานจะต้ องจัดทาหนังสื อรั บรองการจัดวาง
ระบบการควบคุ ม ภายใน (ตามระเบี ย บข้ อ 5)
หรือไม่
 จ าเป็ นหรื อ ไม่ ที่ ห น่ วยงานต้ อ งจั ด ท ารู ป แบบ
รายงานการควบคุ มภายในให้ เหมือนกับรู ปแบบ
ตามแนวทางฉบับนี้
79
คาถามทีไ่ ด้ รับจากหน่ วยรับตรวจ (ต่ อ)
 หน่ ว ยงานได้ จั ด ท าแผนการบริ ห ารความเสี่ ย ง
ตามเกณฑ์ ของ กพร.
- หน่ วยงานต้ องจัดทารายงานการควบคุมภายในหรือไม่
- หน่ วยงานสามารถนาข้ อมูลในแผนบริหารความเสี่ ยง
มาใส่ ในรายงานการควบคุมภายในได้ หรือไม่
 เจ้ าหน้ าทีอ่ าวุโสจาเป็ นต้ องแต่ งตั้งหรือไม่
80
คาถามทีไ่ ด้ รับจากหน่ วยรับตรวจ (ต่ อ)
 หน่ วยรั บตรวจมอบหมายให้ ผู้ตรวจสอบภายในเป็ น
ผู้ประมวลผลภาพรวม เหมาะสมหรือไม่ ที่ถูกควรเป็ น
หน้ าทีใ่ คร
 กรณีที่หน่ วยงานได้ ส่งรายงานการควบคุมภายในให้
สตง.แล้ ว อยากทราบว่ า สตง. มี แ นวทางในการ
ดาเนินการอย่ างไรบ้ าง

81
คุณสารภี ผลส่ ง
โทร . (สนง.) 074 616755-6
โทรมือถือ (083 – 634 – 8403)
สานักตรวจเงินแผ่ นดินจังหวัดพัทลุง
อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง
82