การควบคุมภายใน
Download
Report
Transcript การควบคุมภายใน
แนวทางการจัดวาง
ระบบการควบค ุมภายใน
และการประเมินผลการควบค ุมภายใน
กลมุ่ ตรวจสอบภายในระดับกระทรวง
กระทรวงศึกษาธิการ
เนื้อหาการนาเสนอ
•
•
•
•
•
ความสาคัญของการควบค ุมภายใน
หลักการควบค ุมภายในตามระเบียบฯ
ข้อกาหนดของระเบียบฯ
บทบาทและความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร
กระบวนการประเมินผลเพื่อจัดทารายงานการ
ควบค ุมภายใน
• การจัดทารายงานการควบค ุมภายในและแบบการ
รายงาน
2
3
ความสาคัญ
ของการควบค ุมภายใน
• สร้างภูมิค้มุ กันให้แก่หน่ วยงาน
• มาตรการในการตรวจสอบความ
ถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูล
• ส่งผลต่อการประเมินคุณภาพการ
ดาเนินงานขององค์กร
4
หลักการควบค ุมภายใน
ตามระเบียบฯ
5
การควบค ุมภายใน (Internal Control)
การควบค ุมภายใน = การควบค ุมปัจจัยภายใน
องค์กร
ระบบการควบค ุมภายใน = การควบค ุมภายในต้อง
จัดทาอย่างเป็นระบบ
6
การควบค ุมภายในตามนัยของระเบียบฯ
● กระบวนการปฏิบต
ั ิ งานที่บคุ ลากร
ทุกระดับขององค์การจัดให้มีขึน้ เพื่อ
ความมันใจอย่
่
างสมเหตุสมผลว่า
การดาเนินงานขององค์การจะบรรลุ
วัตถุประสงค์ทงั ้ 3 ด้าน
7
1. ประสิทธิผล ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน
รวมถึงการดูแลทรัพย์ สิน การป้องกันความ
ผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล และการ
ทุจริต (O)
2. ความเชื่อถือได้ ของข้ อมูลรายงาน (F)
3. การปฏิบัตติ ามระเบียบกฎหมาย นโยบาย
สัญญา (C)
8
ข้อกาหนดของระเบียบฯ
จาแนกเป็ น 2 ส่วน ดังนี้
1. ส่วนระเบียบฯ
2. ส่วนมาตรฐานท้ายระเบียบฯ
9
ส่วนที่ 1
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
10
สาระสาคัญของระเบียบฯ
ระเบียบฯ ข้ อ 5 ฝ่ ายบริหารเป็ นผู้รับผิดชอบนามาตรฐาน
การควบคุมภายในท้ ายระเบียบนีไ้ ปใช้ เป็ นแนวทางจัด
วางระบบการควบคุมภายในให้ แล้ วเสร็จภายใน 1 ปี นับ
แต่ วันที่ระเบียบใช้ บังคับ(27 ต.ค. 2544)
ระเบียบฯ ข้ อ 6 รายงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในอย่ าง
น้ อยปี ละครั ง้ ภายใน 90 วันนับจากวันสิน้ ปี งบประมาณ
(30 ก.ย.)
11
สาระสาคัญของระเบียบฯ
• หน่ วยรับตรวจและผูร้ บั ตรวจต้องส่งรายงานตามที่กาหนด
ไว้ในคานิยามของหน่ วยรับตรวจและผูร้ บั ตรวจตามข้อ 3
ของระเบียบฯ
• หน่ วยงานย่อยของหน่ วยรับตรวจต้องส่งรายงานให้
หน่ วยงานหรือผูบ้ งั คับบัญชาระดับเหนื อขึน้ ไปตามลาดับ
ขัน้ จนถึงระดับหน่ วยรับตรวจหรือผูร้ บั ตรวจรวบรวม
ประมวลผลและจัดทาเป็ นรายงานในภาพรวม
ของหน่ วยงาน
12
ส่ วนที่ 2
มาตรฐานการควบคมุ ภายใน
13
วัตถุประสงค์
(O/F/C)
สารสนเทศ
และการสื่ อสาร
การกาหนดกิจกรรมการควบคุม
การประเมินความเสี่ ยง
สภาพแวดล้อมของการควบคุม
14
1. สภาพแวดล้อมของการควบค ุม (Control Environment)
หมายถึง ปั จจัยต่ างๆซึง่ ร่ วมกันส่ งผลให้ มีการควบคุมขึ้นในหน่ วยรับ
ตรวจหรือทาให้ การควบคุมทีม่ ีอยู่ได้ ผลดีขน้ึ ในทางตรงกันข้ ามก็
อาจทาให้ การควบคุมย่ อหย่ อนลงได้
ปั จจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้ อมของการควบคุม
- ปรัชญาและรูปแบบการทางานของผู้บริหาร
- ความซื่อสัตย์ และจริยธรรม
- ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากร
- โครงสร้ างการจัดองค์ กร
- การมอบอานาจและหน้ าที่ความรับผิดชอบ
- นโยบายและวิธีบริหารบุคลากร
15
1. การสร้างสภาพแวดล้อมการควบค ุมที่ดี
• การควบคุมที่เป็ น
รูปธรรม
(Hard Controls)
–กาหนดโครงสร้าง
องค์กร
–นโยบาย
–ระเบียบวิธีปฏิบตั ิ
• การควบคุมที่เป็ น
นามธรรม (Soft
Controls)
–ความซื่อสัตย์
–ความโปร่งใส
–ความรับผิดชอบ
–ความมีจริยธรรม
16
2. การประเมินความเสี่ยง
หมายถึง การวัดค่าความเสี่ยง เพื่อใช้กาหนด
ลาดับความสาคัญของความเสี่ยง
ฝ่ ายบริหาร ต้องประเมินความเสี่ยงทัง้ จากปัจจัย
ภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุ
วัตถุประสงค์ของหน่ วยรับตรวจอย่างเพียงพอและ
เหมาะสม
17
ความเสี่ยง คืออะไร
• โอกาสทีจ่ ะเกิดความผิดพลาดความเสียหาย
• การรัวไหล
่
ความสูญเปล่า หรือ
• เหตุการณ์ ซึง่ ไม่พึงประสงค์ ทีท่ าให้งานไม่ประสบ
ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที ่
กาหนด
18
วันที่ 11 มีนาคม 2554 เกิดแผ่นดินไหว 8.8 ริคเตอร์ -สึ นามิในญี่ปุ่น
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในเมืองฟูกชู ิม่าระเบิด
19
วันที่ 11 มีนาคม 2554 เกิดแผ่นดินไหว 8.8 ริคเตอร์ -สึ นามิในญี่ปุ่น
20
ขัน้ ตอนในการประเมิน
ใช้ในการประเมินการ
กาหนด
ความเสี่ยง
ควบค ุมภายใน
วัตถ ุประสงค์ระดับ
องค์กร/กิจกรรม
เพื่อรายงาน
1.การระบุปัจจัยเสี่ ยง (Risk Identification)
2.การวิเคราะห์ความเสี่ ยง (Risk Analysis)
3.การบริ หารความเสี่ ยง (Risk Management)
21
การระบ ุปัจจัยเสี่ยง
1.เริ่มจากการระบุความเสี่ ยง (Risk Identification)
ในแต่ ละขั้นตอน โดยพิจารณาความเสี่ ยงที่เกีย่ วข้ องกับ
การดาเนินงานทีไ่ ม่ มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
รายงานทางการเงินหรือการรายงานข้ อมูลไม่ น่าเชื่อถือ
การไม่ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้ อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี ฯลฯ
2.ระบุปัจจัยเสี่ ยงหรือสาเหตุของความเสี่ ยง (Risk Factor)
บรรยากาศทางจริยธรรม
ความกดดันจากฝ่ ายบริหาร
ความรู้ ความสามารถของบุคลากร
22
การวิเคราะห์ความเสี่ยง
เทคนิคการวิเคราะห์ความเสี่ยงมีหลายวิธี
ิ เคราะห์ความเสี่ยงโดยประเมิน
โดยทัวไปจะว
่
ความถี่ที่จะเกิดหรือโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
(Likelihood) และผลกระทบของความเสี่ยง
(Consequences) โดยการให้คะแนนดังนี้ :-
การวัดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood)
เป็นการประเมินความเป็นไปได้/โอกาสในการเกิด
เหต ุการณ์ต่างๆ ว่ามีมากน้อยเพียงใด พิจารณา
ในร ูปของความถี่ (Frequency) หรือระดับความ
เป็นไปได้/โอกาส
โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ
24
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
โอกาสจะเกิดความเสี่ยง
ความถี่โดยเฉลี่ย
คะแนน
สูงมาก
สูง
ปานกลาง
น้อย
น้อยมาก
1 เดือนต่อครัง้ หรือมากกว่า
1-6 เดือนต่อครัง้ แต่ไม่เกิน 5 ครัง้
1 ปีต่อครัง้
2-3 ปีต่อครัง้
5 ปีต่อครัง้
5
4
3
2
1
25
การวัดผลกระทบ (Impact)
เป็นการพิจารณาถึงความร ุนแรงของเหต ุการณ์ต่างๆ
ที่จะเกิดความเสียหาย/ผลกระทบต่อองค์กร ซึ่งมีทงั้
ผลกระทบในเชิงปริมาณ(คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียได้)
และในเชิงค ุณภาพ
26
ผลกระทบของความเสี่ยงต่อองค์กร
ผลกระทบ
มูลค่าความเสียหาย
คะแนน
สูงมาก
สูง
ปานกลาง
น้อย
น้อยมาก
> 10 ล้านบาท
>2.5 แสน - 10 ล้านบาท
>50,000 - 2.5 แสนบาท
>10,000 - 50,000 บาท
ไม่เกิน 10,000 บาท
5
4
3
2
1
27
การวิเคราะห์ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk)
5
4
3
2
1
5
10
15
20
25
4
8
12
16
20
3
6
9
12
15
2
4
6
8
10
1
2
3
4
5
1 2
3
ความเสี่ยงสูงมาก 20-25
ความเสี่ยงสูง 10-16
ความเสี่ยงปานกลาง 4-9
ความเสี่ยงต่า 1-3
4 5
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
28
การบริหารความเสี่ยง
• การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
• การลดหรือควบคุมความเสี่ยง
• การยอมรับความเสี่ยง
• การแบ่งปันหรือถ่ายโอน ความเสี่ยง
29
3. กิจกรรมการควบคุม
หมายถึง นโยบายและวิธีการต่ าง ๆทีฝ่ ่ ายบริหารกาหนดให้
บุคลากรของหน่ วยรั บตรวจปฏิบัตเิ พื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง
และได้ รับการสนองตอบโดยมีการปฏิบัติ
•ควรแฝงอยู่ในกระบวนการทางานตามปกติ
•สามารถลดความเสี่ยงให้ อยู่ในระดับยอมรับได้
•ต้ นทุนคุ้มกับประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับ
•เพียงพอเหมาะสมไม่ มากหรือน้ อยเกินไป
•มีการติดตามประเมินผลเป็ นระยะ
30
ตัวอย่างกิจกรรมการควบค ุม
- การกระทบยอด
- การแบ่งแยกหน้าที่
- การสอบทาน
- การดูแลป้ องกันทรัพย์สิน - การจัดทาเอกสารหลักฐาน
- การบริ หารทรัพยากรบุคคล
- การบันทึกรายการทางบัญชี
เหตุการณ์อย่างถูกต้องและทันเวลา
- การอนุ มต
ัิ
31
กิจกรรมการควบค ุม
1. จัดวางผังเมืองให้เหมาะสม
2. ประชาสัมพันธ์และให้ความรูแ้ ก่ประชาชน
3. จัดให้มกี ารฝึ กซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ
4. วางแผนในเรื่องการอพยพผูค้ น หลีกเลี่ยงการก่อสร้างใกล้ชายฝัง่ ทะเล
5. จัดให้มศี นู ย์เตือนภัยจากคลื่นสึนามิ มีการประกาศเตือนภัย
32
หอเตือนภัย
ทุ่นเตือนภัย
33
4. สารสนเทศและการสื่อสาร
• สารสนเทศ หมายถึง ข้ อมูลข่ าวสารทางการเงิน และข้ อมูล
ข่ าวสารอื่น ๆ เกี่ยวกับการ ดาเนินงานของหน่ วยรั บตรวจ ไม่ ว่า
เป็ นข้ อมูลจากแหล่ งภายใน หรือภายนอก
• การสื่อสาร หมายถึง การส่ งสารสนเทศระหว่ างบุคลากร
• ฝ่ ายบริหารต้ องจัดให้ มีสารสนเทศอย่ างพอเพียงและสื่อสารให้
ฝ่ ายบริหารและบุคลากรอื่นๆที่เหมาะสมทัง้ ภายในและภายนอก
หน่ วยรับตรวจ ซึ่งจาเป็ นต้ องใช้ สารสนเทศนัน้ ในรูปแบบที่
เหมาะสมและทันเวลา
34
35
5. การติดตามประเมินผล
• หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบตั ิ งาน
และประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในทีว่ างไว้
อย่างต่อเนื อ่ งและสม ่าเสมอ โดย
การติดตามผลในระหว่างการปฎิบตั ิ งาน
(Ongoing Monitoring) และ
การประเมินผลเป็ นรายครัง้ (Separate Evaluation)
การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self
Assessment)
การประเมินการควบคุมอย่างเป็ นอิสระ (Independent
Assessment)
36
ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร
ต่อการควบค ุมภายใน
♂
ผูบ้ ริหารระดับรองลงมา
♂ ผูบ
้ ริหารระดับสูง
37
ผูบ้ ริหารระดับสูง
■ กาหนดหรือออกแบบการควบคุมภายในขององค์กร
สร้างสภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดี
ปฏิบตั ิ ตนให้เป็ นตัวอย่างที่ดีในเรื่องความซื่อสัตย์
ความมีคณ
ุ ธรรม และจริยธรรม
จัดให้มีและให้ความสาคัญหน่ วยตรวจสอบภายใน
สนับสนุนกระบวนการประเมินการควบคุมภายใน
และการบริหารความเสี่ยง
38
ผูบ้ ริหารระดับรองลงมา
☺ กาหนดหรือออกแบบการควบค ุมภายในส่วนงานที่ได้รบั
มอบหมาย
☺ติดตามประเมินประสิทธิภาพผลการปฏิบตั ิงานภายใต้
การควบค ุมที่นามาใช้
☺ แก้ไขหรือปรับปร ุงการควบค ุมภายในตามผลการประเมิน
การควบค ุมภายในส่วนงานที่ได้รบั มอบหมาย
☺ปล ูกฝังผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้มีวินยั จิตสานึกที่ดี มีความ
เข้าใจ
และเห็นความสาคัญของการควบค ุมภายใน
39
บทบาทของผูบ้ ริหารระดับสูงต่อการตรวจสอบภายใน
♣ จัดให้ มีหน่ วยตรวจสอบภายใน
♣ ให้ การยอมรับงานตรวจสอบภายในเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของการควบคุมภายในของหน่ วยงาน
♣ สร้ างความมั่นใจแก่ หน่ วยตรวจสอบภายใน
ต่ อความเป็ นอิสระในวิชาชีพ
♣ มอบหมายให้ หน่ วยตรวจสอบภายในรับผิดชอบในการ
ประเมินผลการควบคุมภายในโดยอิสระ
♣ จัดให้ มีระบบติดตามผลในการปฏิบัตติ ามข้ อเสนอแนะ
40
ของผู้ตรวจสอบภายใน
กระบวนการประเมินผล
เพื่อจัดทารายงานการควบค ุมภายใน
41
1.
2.
3.
4.
5.
6.
กาหนดผูร้ บั ผิดชอบ
กาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมิน
ศึกษาและทาความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน
จัดทาแผนการประเมินผล
ดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน
สรุปผลการประเมินและจัดทารายงานการประเมิน
42
ผูบ้ ริหารสูงสุด มีหน้ าที่
พิจารณาผลการประเมินระดับหน่ วยรับตรวจ(ปอ.)
เจ้าหน้ าที่ระดับอาวุโส/
คณะทางาน
1. อานวยการและประสานงาน
2. จัดทาแผนการประเมิน
3. ติดตามการประเมิน
4. สรุปภาพรวม
5. จัดทารายงานระดับองค์กร
(ปอ. 2 , 3 , 1)
ผูบ้ ริหารระดับส่วนงานย่อยและ
ผูป้ ฏิบตั ิ งานในส่วนงานย่อย
1. ประเมินการควบคุม (CSA)
2. ติดตามผลการประเมิน
3. สรุปผลการประเมิน
4. จัดทารายงานระดับ
ส่วนงานย่อย
(ปย. 1 , 2)
ผูต้ รวจสอบภายใน
1.ประเมินการควบคุม
(CSA)
2.สอบทานการประเมิน
3.สอบทานรายงาน
4.จัดทารายงานแบบ ปส.
43
ผูร้ บั ผิดชอบกับรายงานการควบค ุมที่เกี่ยวข้อง
• ผูบ้ ริหารระดับส่วน
งานย่อย
• แบบ ปย.1 ผลการประเมิน
องค์ ประกอบฯ
• แบบ ปย.2 การประเมินผลและการ
ปรับปรุงการควบคุมฯ
• เจ้าหน้าที่ระดับอาว ุโส/
คณะทางานในนาม
หัวหน้าหน่วยงาน
• แบบ ปอ.1, ปอ.2 และ ปอ.3
• ผูต้ รวจสอบภายใน
• แบบ ปส. รายงานผลการสอบทานการ
ประเมินการควบคุมของผู้ตรวจสอบ
ภายใน
44
2. กาหนดขอบเขตและวัตถ ุประสงค์ของการประเมิน
2.1 การประเมินผลระบบควบคุมภายใน
จะดาเนินการทุกระบบทัง้ หน่ วยงาน หรื อ
จะประเมินผลเฉพาะบางส่ วนงานที่มีความ
เสี่ยงสูงซึ่งส่ งผลกระทบต่ อหน่ วยงานเป็ นอย่ างมาก
2.2 กาหนดวัตถุประสงค์ ของการ
ประเมินว่ าจะมุ่งประเมินในเรื่ องใด
ตามวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน
(3 วัตถุประสงค์ : O F C)
2.3 คณะผู้ประเมิน
ร่ วมประชุม
และนาเสนอ
ผู้บริหาร
ให้ ความเห็นชอบ
ก่ อนดาเนินการ
ในขัน้ ตอนต่ อไป
45
พิจารณาว่าโครงสร้างการควบคุม
ภายในเป็ นไปตามที่ออกแบบไว้หรือไม่
ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น สอบถาม ศึกษา
เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ
46
4. จัดทาแผนการประเมินผล
เรื่องที่จะประเมิน
วัตถุประสงค์ในการประเมิน
ขอบเขตการประเมิน
ผูป
้ ระเมิน
ระยะเวลาในการประเมิน
วิธีการประเมิน
อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ ใช้ในการ
ประเมิน
47
5. ดาเนินการประเมินผลการควบค ุมภายใน
ขัน้ ตอนที่ 1 : จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิ การ
ขัน
้ ตอนที่ 2 : กาหนดงานในความรับผิดชอบของส่วน
งานย่อยออกเป็ นกิจกรรม/งาน เพื่อทาความเข้าใจ
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายหลักของกิจกรรม/งาน
ขัน
้ ตอนที่ 3 : จัดเตรียมเครือ่ งมือการประเมิน
ขัน
้ ตอนที่ 4 : ดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน
ทัง้ ระดับส่วนงานย่อยและหน่ วยงาน
48
ระดับส่วนงานย่อย
แบบ ปย.1
แบบ ปย.2
ระดับหน่ วยงาน
แบบ ปอ.1
แบบ ปอ.2
แบบ ปอ.3
ผูต้ รวจสอบภายใน
แบบ ปส.
การรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินตามระเบียบฯ ข้อ 6
ให้จดั ส่งเฉพาะหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปอ.1)
รายงานแบบอื่นให้เก็บไว้ที่หน่ วยงานเพื่อใช้ประโยชน์ ต่อไป
49
การประเมินผลการควบค ุมภายใน
50
การประเมินรายครัง้
(Control Self Assessment : CSA)
การประเมินตามแบบประเมิน
องค์ ประกอบของมาตรฐาน
การควบคุมภายใน
การประเมินการ
ควบคุมภายใน
ทีม่ อี ยู่ของกิจกรรมต่ าง ๆ
วิเคราะห์ ความมีอยู่ ความเพียงพอ
ประสิ ทธิผลของการควบคุม
และเสนอแผนการปรับปรุ ง
การประเมินความเสี่ ยงที่
ยังมีอยู่ทเี่ กีย่ วข้ องกับ
การบรรลุวตั ถุประสงค์ ของ
กิจกรรมต่ าง ๆ
รายงานของ
ส่ วนงานย่ อย
(ปย.1,ปย.2)51
51
การประเมินตามแบบประเมินองค์ประกอบ
ของการควบค ุมภายใน
ศึกษาแบบประเมินฯ
ตามภาคผนวก ก. และใช้ในการ
ประเมินองค์ประกอบฯ
ประเมินความมีอยู่
เหมาะสม เพียงพอ
สร ุปผล
แบบ ปย.1
52
ตัวอย่างแบบประเมินองค์ประกอบของการควบค ุมภายใน
องค์ประกอบที่ 1 สภาพแวดล้อมการควบค ุม (Control Environment)
53
54 54
55
การประเมินการควบค ุมที่มีอยู่
และความเสี่ยงที่มีอยู่
56
ระบ ุกิจกรรมที่จะประเมิน
- พิจารณาจากโครงสร้างองค์กร
- พิจารณาจากภารกิจของ
องค์กร
57
โครงสร้างองค์กร
58
กรณีประเมินการควบค ุมของ งาน
สนับสน ุนอาจใช้แบบสอบถาม /
คูม
่ ือการปฏิบตั ิงาน
59
มีการกาหนดหน้าที่ความ
รับผิดชอบตามคาอธิบาย
ตาแหน่งงาน
เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
นาไปประเมินความเพียงพอ
ของการควบค ุมภายในของ
กิจกรรมนี้
x
60
60
61
ชื่อส่วนงานย่อย............................................................
รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน
สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ .........เดือน...................... พ.ศ. ..............
แบบ ปย.2
กระบวนการ การควบคุม
การ
ความเสี่ ยงที่ การปรับปรุง กาหนด
หมายเหตุ
ปฏิบตั ิงาน/
ทีม่ อี ยู่
ประเมินผล
ยังมีอยู่
การควบคุม
เสร็จ/
โครงการ/
การควบคุม กรณี ประเมินการควบคุมของงานเฉพาะอาจ
ผู้รับผิดชอบ
ใช้แบบสอบถาม / คู่มือการปฏิบตั ิ งาน /
กิจกรรม/
Check List ของ ISO
ด้ านของงาน
ทีป่ ระเมิน
และ
วัตถุประสง
ค์ ของ
การควบคุม
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
62
ตัวอย่างการประเมินฯ
บุคลากรรวม 2,000 คน และได้ รับจัดสรรงบประมาณ 5,000 ล้ านบาท
โครงสร้ างการแบ่ งส่ วนงาน ดังนี ้
– สานักงานเลขานุการกรม
– สถาบันการพัฒนาฝี มือแรงงาน
– สานักการเงินและการคลัง
– ศูนย์ คอมพิวเตอร์
–สานักบริหารพัสดุ
– สานักทรั พยากรบุคคล
– สานักพัฒนาฝี มือแรงงานภูมิภาคที่ 1-15
63
กิจกรรมที่สาคัญของสานักบริหาร
พัสด ุ
1. งานจัดซื้อจัดจ้าง
2. งานทะเบียนพัสด ุ
3. งานบาร ุงรักษา
4. งานบริหารทัว่ ไป
64
การกาหนดวัตถ ุประสงค์
วัตถุประสงค์ระดับองค์กร
เพื่อปรับปรุงพัฒนา
มาตรฐานฝี มือแรงงาน
เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของภาคธุรกิจ
อุตสาหกรรม
วัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม
สานักบริหารพัสดุ
-ให้บริการจัดหาพัสดุได้ตามความต้องการ
ของส่วนงานต่าง ๆ ได้อย่างประหยัดและ
ทันเวลา
-ดูแลบารุงรักษาทรัพย์สินขององค์กรให้มี
อายุการใช้งานที่เหมาะสม และใช้
ประโยชน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-มีระบบฐานข้อมูลพัสดุที่สมบูรณ์ สามารถ
ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลที่จดั เก็บได้อย่าง
เป็ นปัจจุบนั และถูกต้องเชื่อถือได้
65
วัตถ ุประสงค์(ช่อง1) และ การควบค ุมที่มีอยู่ (ช่อง2)
งานทะเบียนพัสด ุ
วัตถุประสงค์
มีระบบฐานข้อมูลพัสดุท่ี
สมบูรณ์ สามารถใช้ประโยชน์
จากข้อมูลที่จดั เก็บได้อย่างเป็ น
ปัจจุบนั และครบถ้วนถูกต้อง
ประเมินว่าเพียงพอและ
มีประสิทธิผลหรือไม่
?
การควบค ุมที่มีอยู่
-มอบหมายงานให้ เจ้ าหน้ าที่บันทึก
ข้ อมูลเป็ นผู้นาเข้ าข้ อมูล
-กาหนดไว้ ในคู่มือฯ ให้ บันทึกรายการ
เคลื่อนไหวของแต่ ละวันในวันทาการ
ถัดไป
66
การควบค ุมที่มีอยูแ่ ล้วและความเสี่ยงที่ยงั มีอยู่
การควบค ุมที่มีอยู่
-มอบหมายงานให้เจ้าหน้าที่บนั ทึก
ข้อมูลเป็นผูน้ าเข้าข้อมูล
-กาหนดไว้ในคูม
่ ือฯ ให้บนั ทึกรายการ
เคลื่อนไหวของแต่ละวันในวันทาการ
ถัดไป
ความเสี่ยงที่ยงั มีอยู่
เจ้าหน้าที่ไม่สามารถ
บันทึกข้อมูลได้ทงั้ หมด
เนื่องจากปริมาณเอกสาร
นาเข้ามีจานวนมากเพิ่มขึ้น
กว่าแต่กอ่ น
67
ความเสี่ยงที่ยงั มีอยู่ และการปรับปร ุงการควบค ุม
เจ้าหน้าที่ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ทงั้ หมดเนื่องจากปริมาณ
เอกสารนาเข้ามีจานวนมากเพิ่มขึ้นกว่าแต่กอ่ น
การปรับปรุงการควบคุม (ช่อง 5 )
-จัดสรรเวลาให้เจ้าหน้ าที่บนั ทึกข้อมูลภายในวันทาการ
เดียวกับที่ได้รบั เอกสารโดยจัดเป็ นระบบ Batch
-เอกสารส่วนที่เป็ นการขอเบิกพัสดุให้ผเู้ บิกบันทึกเข้าในแผ่น
บันทึกข้อมูลโดยตรงและส่งแผ่นมาให้งานทะเบียน Upload
ขึน้ ระบบฯ
68
แผนการปรับปร ุงระดับส่วนงานย่อย แบบ ปย. 2
ความเสี่ยงที่ยงั มีอยู:่ เจ้าหน้าที่ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ทงั้ หมด
เนื่องจากปริมาณเอกสารนาเข้ามีจานวนมากเพิ่มขึ้นกว่าแต่กอ่ น
งวด/เวลาที่
พบจุดอ่อน
การปรับปรุง
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
30 ก.ย. 53 จัดสรรเวลาให้เจ้าหน้ าที่บนั ทึก 1 ธ.ค. 53/
ข้อมูลภายในวันทาการ
ผูอ้ านวยการ
เดียวกับที่ได้รบั เอกสารโดย
สานักบริหาร
จัดเป็ นระบบ Batch
พัสดุ
69
• แจ้งแผนการปรับปรุงฯ ให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้อง
ทราบและให้ถือปฏิบตั ิ โดยทัวกั
่ น
• ติดตามผลการดาเนินการตามแผนฯ ใน
งวดถัดไป
70
สรุปขัน้ ตอนปฏิบตั ิ ในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
1. ฝ่ ายบริหารทาความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมภายใน
2. ผูบ้ ริหารสูงสุดมอบหมายอย่างเป็ นทางการ ให้มี
ผูร้ บั ผิดชอบแน่ ชดั ในการจัดวางระบบการควบคุม
ภายในของหน่ วยงานโดยควรมอบหมายให้ผบ้ ู ริหาร
ทุกระดับมีส่วนร่วม
3. ผูบ้ ริหารแต่ละระดับสามารถมอบหมาย กระจายอานาจ
หน้ าที่ ให้บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลในส่วนงานของตน
ร่วมรับผิดชอบในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
ได้ตามความเหมาะสม
71
สรุปขัน้ ตอนปฏิบตั ิ ในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
4. ผู้ได้ รับมอบหมาย เริ่มต้ นโดยการประเมินการควบคุมภายในที่
เป็ นอยู่ในปัจจุบัน โดยควรใช้ วธิ ีประเมินตนเอง (Control SelfAssessment)
5. การประเมินตนเองในระดับส่ วนงาน เริ่มด้ วยการระบุงานที่
ต้ องการประเมิน (ซึ่งอาจเป็ นกระบวนการปฏิบัตงิ าน/กิจกรรม/
ด้ านของงาน/โครงการทีส่ าคัญต่ อการบรรลุภารกิจและ
วัตถุประสงค์ หลักของส่ วนงาน) รวมทั้งการจัดลาดับ
ความสาคัญเพือ่ ใช้ ประกอบการประเมินการควบคุม
72
สรุปขัน้ ตอนปฏิบตั ิ ในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
6. ประเมินองค์ ประกอบการควบคุมภายใน (แบบสอบถาม ใน
ภาคผนวก ก)
7. การประเมินการควบคุมของงานทีเ่ ลือกมา ให้ ประยุกต์ ใช้
(แบบสอบถาม ในภาคผนวก ข)
8. แต่ ละส่ วนงานนาผลการประเมินมาจัดทาแผนการ
ปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน
73
สรุปขัน้ ตอนปฏิบตั ิ ในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
9. เสนอแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน ต่ อ
ผู้บังคับบัญชาระดับเหนือขึน้ ไปเพือ่ พิจารณาให้ ความ
เห็นชอบ
10. แผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในทีไ่ ด้ รับความ
เห็นชอบแล้ ว ให้ กาหนดเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
11. สื่ อสารและแจ้ ง การปรับปรุงให้ ผ้ ูเกีย่ วข้ องทราบเพือ่ ให้
ถือปฏิบัติ อย่ างเป็ นทางการต่ อไป
74
สรุปขัน้ ตอนปฏิบตั ิ ในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
12. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามระบบการควบคุม
ภายในโดย ผู้บังคับบัญชา และหรือผู้ตรวจสอบภายใน
อย่ างต่ อเนื่องและ สมา่ เสมอ
13. ประเมินผลการควบคุมภายในด้ วยตนเอง และโดยผู้
ตรวจสอบภายในอย่ างน้ อยปี ละครั้งเพือ่ จัดทารายงาน
ตามระเบียบฯ ข้ อ 6
75
การจัดทารายงาน
การควบค ุมภายใน
76
ระเบียบฯ ข้อ 6
กาหนดให้หน่วยงานต้องรายงานระบบการ
ควบค ุมภายใน ต่อ สตง. ซึ่งประกอบด้วยกัน
2 รายงาน
1. รายงานการจัดวาง
ระบบการควบค ุมภายใน
ภายใน 240 วัน หลังจาก
จัดวางระบบแล้วเสร็จ
(รายงานครัง้ เดียว)
2. รายงานการ
ประเมินผลการควบค ุม
ภายใน อย่างน้อยปีละ
1 ครัง้ ภายใน 90 วัน
นับจากวันสิ้น
ปีงบประมาณ
77
แบบรายงานการควบค ุมภายใน
ปอ.1
หนังสือรับรองการประเมินผล
การควบค ุมภายใน
ปอ.2 / ปย.1
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ
ของการควบค ุมภายใน
ปอ.3
รายงานแผนการปรับปร ุง
การควบค ุมภายใน (สร ุปจาก ปย.2)
ปย.2
รายงานการประเมินผล
และการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
ปส.
รายงานผลการสอบทานการประเมิน
การควบค ุมภายใน
78
สร ุปรายงานที่ตอ้ งจัดทาและจัดส่งตามระเบียบฯ ข้อ 6
แบบรายงาน
หน่วยรับตรวจ
1. ปอ.1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบค ุมภายใน
2. ปอ.2 ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบค ุมภายใน
3. ปอ.3 แผนการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
หน่วยงานย่อย/ส่วนงานย่อย
1. ปย.1 ผลการประเมินองค์ประกอบของการควบค ุมภายใน
2. ปย.2 การประเมินผลและการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
ผูต้ รวจสอบภายใน
ปส. ผลการสอบทานการประเมินผลการควบค ุมภายใน
จัดทา จัดส่ง
-
-
-
ของผูต้ รวจสอบภายใน
79
ขัน้ ตอนการจัดทารายงาน - ระดับส่วนงานย่อย
ขัน้ ตอนที่ 1
ประเมินแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐาน
การควบค ุมภายใน
การประเมินองค์ประกอบของการควบค ุม
ภายใน (ตย. แบบประเมิน ภาคผนวก ก)
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ
ของการควบค ุมภายใน (ปย.1)
80
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบค ุมภายใน
ประเด็นการประเมิน
ผลการประเมิน
คาอธิบายเพิ่มเติม
มี/ใช่ ไม่มี/ไม่ใช่
ตย.แบบประเมิน
(ภาคผนวก ก)
1. สภาพแวดล้อมของการควบค ุม
1.1 .........................................
2. การประเมินความเสี่ยง
2.1 .........................................
3. กิจกรรมการควบค ุม
3.1 .........................................
4. สารสนเทศและการสื่อสาร
4.1 .........................................
5. การติดตามประเมินผล
5.1 .........................................
องค์ประกอบการควบค ุมภายใน
1. สภาพแวดล้อมของการควบค ุม
2. การประเมินความเสี่ยง
3. กิจการรมการควบค ุม
4. สารสนเทศและการสื่อสาร
5. การติดตามประเมินผล
แบบ ปย. 1
ผลการประเมิน/ข้อสร ุป
81
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบค ุมภายใน
ชื่อ (หน่วยงานย่อย)……………………………………...
ณ วันที่......เดือน..............พ.ศ. .........
องค์ประกอบของการควบค ุมภายใน
(1)
แบบ ปย. 1
ผลการประเมิน/ข้อสร ุป
(2)
1. สภาพแวดล้อมของการควบค ุม
2. การประเมินความเสี่ยง
3. กิจกรรมการควบค ุม
4. สารสนเทศและการสื่อสาร
5. การติดตามประเมินผล
ผลการประเมินโดยรวม.....................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
ชื่อผูร้ ายงาน....................................
ตาแหน่ง..........................................
วันที่..........เดือน...............พ.ศ.........
82
ขัน้ ตอนการจัดทารายงาน - ระดับส่วนงานย่อย
ขัน้ ตอนที่ 2
ประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามภารกิหลัก
และจุดอ่อนของการควบค ุมภายใน
วิเคราะห์กิจกรรมตามภารกิจหลัก และจุดอ่อนของ
การควบค ุมภายในมาประเมินความเสี่ยง
รายงานการประเมิน ผลและการปรับปร ุง
การควบค ุมภายใน (ปย.2)
83
(ตัวอย่าง)
การประเมินระดับความเสี่ยง (Risk
Profile)
กิจกรรม การตรวจรับพัสด ุ
วัตถ ุประสงค์ เพื่อให้ได้รบั พัสด ุถ ูกต้อง ครบถ้วน ภายในเวลาที่กาหนด และเป็นไปตามระเบียบฯ พัสด ุ
ความเสี่ยง
ผล
โอกาส
กระทบ ระดับ ระดับความ
ความ
ความ คะแนน
เสีย่ ง
ถี่
เสียหาย
ลาดับ
ความ
เสี่ยง
1. ได้รบั พัสด ุไม่ตรงตาม
ค ุณลักษณะเฉพาะ
2
2
4
ปานกลาง
4
2. ได้รบั ไม่ถ ูกต้องครบถัวนและ
ตรงตามเวลาที่กาหนด
3
4
12
สูง
2
3. พัสด ุมีค ุณภาพต่า ไม่ได้มาตรฐาน
4
4
16
สูง
1
4. กรรมการไม่มีความรู้ ความ
ชานาญ
4
3
12
สูง
3
84
การวิเคราะห์และพิจารณาการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
เพื่อจัดทาแผนการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
แบบประเมิน
การประเมินความเสี่ยง
ขัน้ ตอน
ของงาน/
กิจกรรม
(1)
วัตถ ุประสงค์
ของงาน/
กิจกรรม
(2)
ความเสี่ยง/
ปัจจัยเสี่ยง
โอกาส
(3)
(4)
ผลกระทบ
ระดับ
คะแนน
ระดับความ
เสี่ยง
ลาดับความ
เสี่ยง
(5)
(6)
(7)
(8)
แบบ ปย. 2
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์
ของการควบค ุม
(1)
การควบค ุมที่มี
อยู่
การประเมินผล
การควบค ุม
ความเสี่ยงที่
ยังมีอยู่
การปรับปร ุง
การควบค ุม
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
หมายเหต ุ
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
56
85
ตัวอย่างแบบรายงาน ปย.2
แบบ ปย. 2
ชื่อส่วนงานย่อย……………………….
รายงานการประเมินผลและการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
สาหรับปีสิ้นส ุดวันที่…….เดือน…………..พ.ศ. …….
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์
ของการควบค ุม
การควบค ุมที่มี
อยู่
การประเมินผล
การควบค ุม
ความเสี่ยงที่
ยังมีอยู่
การปรับปร ุง
การควบค ุม
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
หมายเหต ุ
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
ชื่อผูร้ ายงาน………………….
ตาแหน่ง……………………..
วันที่………………………...
86
สร ุปขัน้ ตอนการจัดทารายงาน
1
ระดับ
ส่วนงานย่อย
ประเมินองค์ประกอบ
ของการควบค ุมภายใน
ของส่วนงาน
จัดทารายงาน แบบ ปย.1
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ
ของการควบค ุมภายใน
แบบประเมิน
ภาคผนวก ก
สร ุปผลการประเมิน
และรายงานจุดอ่อน
ของการควบค ุม
2
ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
ของแต่ละกิจกรรมหลัก
(ประเมินความเสี่ยง)
จัดทารายงาน แบบ ปย.2
รายงานการประเมินผลและการปรับปร ุง
การควบค ุมภายใน
87
การรายงาน
ผลการดาเนินการ
ตามแผนการปรับปร ุง
การควบค ุมภายใน
88
รายงานแผนการปรับปร ุง
• แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
(ค.ต.ป.) โดยคณะกรรมการตรวจสอบ และ
ประเมินผลประจากระทรวงศึกษาธิการ
• คารับรองการปฏิบตั ิราชการประจาปีตามเกณฑ์
ค ุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ตัวชี้วดั ระดับความสาเร็จของการควบค ุมภายใน
89
รายงาน รอบ 6 เดือน
การจัดทารายงานผลการดาเนินการตาม
แผนการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน รอบ 6 เดือน
(ณ วันที่ 31 มีนาคม) เพื่อเป็นการติดตาม
ความก้าวหน้าในการดาเนินการตามแผนการ
ปรับปร ุงการควบค ุมภายในของหน่วยงาน
วิธีการรายงาน
• รายงานโดยใช้ แบบ ปย. 2 หรือ ปอ. 3
• รายงานโดยการใช้ แบบติดตาม
90
การรายงานผลการดาเนินการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
รายงาน ปย.2 (ณ 30 กย. 2553)
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์
ของการควบค ุม
(1)
การควบค ุมที่มี
อยู่
การประเมินผล
การควบค ุม
ความเสี่ยงที่
ยังมีอยู่
การปรับปร ุง
การควบค ุม
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
หมายเหต ุ
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
รายงานผลการดาเนินการ รอบ 6 เดือน (ณ 31 มีค. 2554)
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์
ของการควบค ุม
(1)
การควบค ุมที่มี
อยู่
การประเมินผล
การควบค ุม
ความเสี่ยงที่
ยังมีอยู่
การปรับปร ุง
การควบค ุม
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
รายงานผล
การดาเนินการ
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
91
(ตัวอย่างที่ 1)
ชื่อส่วนงานย่อย……………………….
รายงานผลการดาเนินการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
สิ้นส ุด ณ วันที่ 31 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2554
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์
ของการควบค ุม
(1)
การควบค ุมที่มี
อยู่
การประเมินผล
การควบค ุม
ความเสี่ยงที่
ยังมีอยู่
การปรับปร ุง
การควบค ุม
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
รายงานผลการ
ดาเนินการ
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
ชื่อผูร้ ายงาน………………….
ตาแหน่ง……………………..
วันที่………………………...
92
การรายงานผลการดาเนินการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
รายงาน ปย.2 (ณ 30 กย. 2553)
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์
ของการควบค ุม
(1)
การควบค ุมที่มี
อยู่
การประเมินผล
การควบค ุม
ความเสี่ยงที่
ยังมีอยู่
การปรับปร ุง
การควบค ุม
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
หมายเหต ุ
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
รายงานผลการดาเนินการ รอบ 6 เดือน (ณ 31 มีค. 2554)
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์ ของ
การควบค ุม
จุดอ่อน/ความ
เสี่ยงที่ยงั มีอยู่
งวด/เวลาที่พบ
จุดอ่อน
(1)
(2)
(3)
การปรับปร ุง
กาหนด
เสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
สถานะการ
ดาเนินการ
วิธีการติดตามและ
สร ุปผลการ
ดาเนินการ
(4)
(5)
(6)
(7)
93
(ตัวอย่างที่ 2 )
ชื่อส่วนงานย่อย……………………….
รายงานผลการดาเนินการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
สิ้นส ุด ณ วันที่ 31 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2554
กิจกรรม/
วัตถ ุประสงค์
ของการ
ควบค ุม
จุดอ่อน/
ความเสี่ยง
ที่ยงั มีอยู่
งวด/เวลาที่
พบจุดอ่อน
การปรับปร ุง
กาหนดเสร็จ/
ผูร้ บั ผิดชอบ
สถานะการ
ดาเนินการ
วิธีการติดตามและ
สร ุปผลการดาเนินการ
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
ชื่อผูร้ ายงาน………………….
ตาแหน่ง……………………..
วันที่………………………...
94
การจัดทารายงานในปีถัดไป
การติดตามประเมินผลและการจัดทารายงาน
การควบค ุมภายใน (สาหรับรอบปีถัดไป)
1
ทบทวนและประเมิน
องค์ประกอบการควบค ุม
เพื่อจัดทารายงานการประเมิน
(ปย.1)
2 วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง
รายงานการประเมินผลและ
ปรับปร ุงการควบค ุมภายใน (ปย.2)
ของกิจกรรมตามภารกิจหลัก
3
ประเมินผลการควบค ุม
ตามแบบ ปย.2 ของงวดก่อน
95
การจัดส่งรายงานการควบค ุมภายใน
ตามแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
รายงานรอบ 12 เดือน
ส่งรายงาน แบบ ปอ. 1 - 3
และแบบ ปส. ณ วันที่ 30
กันยายน ให้ คตป. กระทรวง
ภายใน เดือนพฤศจิกายน
รายงานรอบ 6 เดือน
ส่งรายงานความก้าวหน้าของ
แผนปรับปร ุงการควบค ุม
ภายใน ณ วันที่ 31 มีนาคม
ให้ คตป. กระทรวง ภายใน
เดือนเมษายน
96
การสนับสน ุนจากผูบ้ ริหาร
การติดตามประเมินผล
ความรับผิดชอบ
ปัจจัยสูค
่ วามสาเร็จ
การดาเนินการต่อเนื่อง
เป้าหมายที่ชดั เจน
97
การสื่อสารมีประสิทธิผล
ฝึกปฏิบตั ิ
1. การประเมินองค์ประกอบตามมาตรฐานการ
ควบค ุมภายใน และสร ุปรายงานตาม แบบ ปย.1
2. แบ่งกลมุ่ (แยกตามกลมุ่ งาน) เพื่อวิเคราะห์
ภารกิจตามแบบประเมินความเสี่ยง
3. จัดทารายงานการปรับปร ุงการควบค ุมภายใน
ตาม แบบ ปย. 2