policy นโยบายด้านสาธารณสุข ในการรับมือกับภัยพิบัติ
Download
Report
Transcript policy นโยบายด้านสาธารณสุข ในการรับมือกับภัยพิบัติ
POLICY
นโยบายด้านสาธารณสุข
ในการรับมือกับภัยพิบตั ิ
สาธารณภัย
หมายถึง ภัยอันมีผลกระทบต่อสาธารณชน อาจเกิดจากธรรมชาติ หรือมี
ผูท้ าให้เกิดขึ้ น ก่อให้เกิดอันตรายทั้งต่อชีวิต และ ทรัพย์สิน
ประกอบด้ วย ภัยด้านสาธารณภัย ๑๔ ประเภท และ ภัยด้านความมันคง
่
๔ ประเภท
ภัยด้ านสาธารณภัย ๑๔ ประเภท
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
อุทกภัย
วาตภัย
ภัยจากดิน โคลนถล่ม
ภัยแล้ง
ภัยจากคลืน่ สึนามิ
ภัยหนาว
อัคคีภยั
ภัยจากแผ่นดินไหวและอาคาร
ถล่ม
๙. ภัยจากโรคระบาดสัตว์และพืช
๑๐. ภัยจากโรคระบาดในมนุ ษย์
๑๑. ภัยจากสารเคมีและวัตถุอนั ตราย
๑๒. ภัยจากไฟป่ า
๑๓. ภัยจากการคมนาคมขนส่ง
๑๔. ภัยจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภัยด้ านความมั่นคง ๔ ประเภท
๑.
๒.
๓.
๔.
ภัยจากการก่อวินาศกรรม
ภัยจากทุ่นระเบิด กับระเบิด
ภัยทางอากาศ
ภัยจากการชุมนุ มประท้วงและก่อการจลาจล
วัฏจักรการบริหารจัดการสาธารณภัย
เตรียมความพร้ อม
ก่อนเกิด
ภัย
ระหว่าง
เกิดภัย
ตอบโต้ บรรเทาทุกข์
ป้ องกันและ
ลดผลกระทบ
หลังเกิดภัย
ฟื้ นฟู บูรณะ
นโยบายสาธารณสุ ขในการรับมือกับภัยพิบัติ
นโยบายรัฐมนตรี/รัฐมนตรีช่วย
ว่ ากระทรวงสาธารณสุ ข
(นายวิทยา บุรณศิริ)
(นายต่ อพงษ์ ไชยสาส์ น)
ข้อ ๕ (จากนโยบาย ๑๖ ข้อ)
เตรียมความพร้อม พัฒนาระบบเฝ้ าระวัง เตือนภัย การจัดการ
ทีม่ ีประสิทธิผล ทันการณ์ เมือ่ เกิดภัยพิบตั ิ โรคระบาด และภัย
สุขภาพ
นโยบายสาธารณสุ ขในการรับมือกับภัยพิบัติ
นโยบายเฉพาะหน้ า
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ สงั คมไทยทุกภาคส่วนสามารถเผชิญและแก้ ไขปัญหาสาธารณภัย
ด้ านสาธารณสุขที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลายและ ต่อเนื่องร่วมกัน ได้ อย่าง
มีผลกระทบ และ ความเสียหายน้ อยที่สดุ
นโยบายระยะยาว
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ เกิดระบบเตรียมพร้ อมด้ านการแพทย์และการสาธารณสุข ทีม่ ี
ส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในการป้ องกันและลดผลกระทบ การเตรียม
ความพร้ อม การบริหารจัดการในภาวะวิกฤต และ การจัดการหลังเกิด
ภัย มีความพร้ อมเผชิญกับสาธารณภัย และ ภัยด้ านความมั่นคงต่างๆ
นโยบายเฉพาะหน้ า ๔ ด้ าน
๑.
๒.
๓.
๔.
ด้ านศูนย์ปฏิบัติการ War Room
ด้ านสถานบริการ
ด้ านดูแลประชาชนในภาวะวิกฤต
ด้ านฟื้ นฟู
ด้ านศูนย์ ปฏิบัตกิ าร War Room
๑. จัดตั้งศูนย์ฯ ระดับจังหวัด และ/หรือ ระดับอาเภอ/พื้นที่ ตามระดับความ
รุนแรงของภัยพิบัติ
๒. จัดโครงสร้ าง บุคลากร ระบบบัญชาการ ระบบประสานงาน ของศูนย์ฯ
๓. จัดระบบข้ อมูล เฝ้ าระวัง และ ระบบเตือนภัย
๔. จัดระบบประชาสัมพันธ์ และ การให้ ข้อมูลต่อสาธารณะ
๕. จัดระบบสนับสนุน ยา เวชภัณฑ์ และ สิ่งของ
ด้ านสถานบริการ
๑.
๒.
๓.
๔.
ป้ องกันสถานบริการจากภัยพิบัติ
สารองทรัพยากรในช่วงเกิดภัยพิบัติ
ปรับระบบบริการในช่วงเกิดภัยพิบัติ
ส่งต่อผู้ป่วยที่จาเป็ น
ป้องกันสถานบริการจากภัยพิบัติ
๑. ระบุจุดเสี่ยงต่อภัยพิบัติท้งั ในและนอกสถานบริการ
เช่น ระบบไฟฟ้ า ระบบนา้ เสีย เวชภัณฑ์ ครุภัณฑ์ทางการแพทย์
ระบบสื่อสาร เป็ นต้ น
๒. ดาเนินการป้ องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติในจุดเสี่ยงต่างๆ
เช่น เคลื่อนย้ ายเวชภัณฑ์ ทาแนวป้ องกันนา้ ท่วม เป็ นต้ น
สารองทรัพยากรในช่ วงเกิดภัยพิบัติ
สารองทรัพยากร ที่สาคัญ โดยเฉพาะสาหรับให้ บริการผู้ป่วยวิกฤติ เช่น
ออกซิเจน, นา้ , เวชภัณฑ์, เชื้อเพลิง อย่างน้ อย ๗ – ๑๐ วัน
ปรับระบบบริการในช่ วงเกิดภัยพิบัติ
ปรับจุดบริการ เช่น จุดบริการผู้ป่วยนอก เป็ นตัน
ส่ งต่ อผู้ป่วยทีจ่ าเป็ น
๑. ระบุผ้ ูป่วยที่ต้องเคลื่อนย้ าย และ ดาเนินการส่งต่อ
๒. ประสานสถานบริการส่งต่อ
ด้ านดูแลประชาชนในภาวะวิกฤต
๑. จัดทีมเข้ าช่วยเหลือผู้ป่วยวิกฤติพร้ อมหน่วยกู้ชีพ และ นากลับสู่สถาน
บริการกรณีจาเป็ น
๒. ดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่ต้องได้ รับยาต่อเนื่อง แต่ไม่สามารถเข้ าถึงบริการ
ตามปกติได้
ด้ านฟื้ นฟู
๑.
๒.
๓.
๔.
ฟื้ นฟู บูรณะ สถานบริการ
ฟื้ นฟูสขุ ภาพกาย จิตของประชาชน
ป้ องกัน ควบคุมโรคระบาด
ฟื้ นฟูระบบสุขาภิบาล และ สิ่งแวดล้ อม
นโยบายระยะยาว ๔ ด้ าน
๑.
๒.
๓.
๔.
ด้ านป้ องกันและลดผลกระทบ
ด้ านเตรียมความพร้ อม
ด้ านบริหารจัดการในภาวะวิกฤต
ด้ านจัดการหลังเกิดภัย
ด้ านป้ องกันและลดผลกระทบ
ระบุสถานบริการเสี่ยงต่อการเกิดสาธารณภัยประเภทต่างๆ
๑.
๒. พัฒนา ปรับปรุงสถานบริการด้ านโครงสร้ าง เพื่อรองรับสาธารณภัย
๓. พัฒนาระบบข้ อมูล เฝ้ าระวัง และ เตือนภัย
๔. กาหนดแหล่งงบประมาณ ในการดาเนินการด้ านต่างๆ
ด้ านเตรียมความพร้ อม
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
เตรียมบุคลากรเพื่อรองรับสาธารณภัย
พัฒนาระบบบัญชาการ ประสานงาน ในภาวะวิกฤติ
เตรียม เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ พาหนะ เพื่อรองรับสาธารณภัย
เตรียมระบบสื่อสาร เพื่อใช้ งานในภาวะวิกฤต
ฝึ กซ้ อมแนวทางปฏิบัติ และ แผนสาหรับสาธารณภัยต่างๆ
พัฒนาระบบเครือข่ายด้ านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อรองรับสาธารณภัย
ด้ านบริหารจัดการในภาวะวิกฤต
๑. พัฒนาทีมแพทย์ในภาวะวิกฤต เช่น DMAT, MERT เพื่อ
ช่วยเหลือผู้ประสบภัย
๒. จัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่จาเป็ นสาหรับทีมแพทย์ในภาวะวิกฤต
ด้ านจัดการหลังเกิดภัย
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
พัฒนาทีมประเมินความเสียหายหลังเกิดภัย
พัฒนาทีม ฟื้ นฟู ด้ านกาย และ จิต
พัฒนาทีม ควบคุม ป้ องกันโรค
พัฒนาทีม ฟื้ นฟู ด้ านสุขาภิบาล และ สิ่งแวดล้ อม
จัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่จาเป็ นสาหรับทีมฟื้ นฟูประเภทต่างๆ
วิสัยทัศน์
ประชาชนในพื้ นที่ประสบภัย ได้รบั บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีคุณภาพ
ปลอดภัยและมีความมันใจในระบบบริ
่
การสาธารณสุขทุกระยะของการเกิดภัยอย่าง
ทันท่วงทีในทุกสถานการณ์ที่เกิดขึ้ น
เป้าหมาย
พัฒนาระบบบูรณาการการเตรียมพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้เป็ น
เอกภาพและมีประสิทธิภาพ ด้วยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกีย่ วข้อง สามารถ
ลดความสูญเสียของประชาชนในพื้ นที่ประสบภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ ๑: การป้องกันและลดผลกระทบ
(Prevention and Mitigation)
มาตรการ ๑.๑ การปรับปรุงทบทวนกฎหมายของหน่วยงานที่เกีย่ วข้องเพือ่ ให้เกิดความ
เชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
มาตรการ ๑.๒ การจัดการและเชื่อมต่อระบบข้อมูลสารสนเทศด้านบริหารจัดการภัยพิบตั ิ
ระหว่างหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง
มาตรการ ๑.๓ จัดทาแผนเตรียมพร้อมด้านการแพทย์ และสาธารณสุขแบบบู รณาการ
มาตรการ ๑.๔ สร้างและเพิม่ องค์ความรู ้ ด้านการแพทย์และสาธารณสุขในการดู แล
ผูป้ ระสบภัยเบื้ องต้นให้กบั ผูบ้ ริหาร ผูน้ าชุมชน ประชาชน/ผูป้ ฏิบตั ิในพื้ นที่เสีย่ ง
มาตรการ ๑.๕ สนับสนุ นให้มีการวิจยั เพือ่ พัฒนารูปแบบระบบบริการ ทางการแพทย์ และ
สาธารณสุขในภาวะฉุ กเฉินและ งานวิจยั อื่นที่เกีย่ วข้องเพือ่ นาไปสู่การปฏิ บตั ิได้จริง
มาตรการ ๑.๖ การประเมินความเสีย่ งภัยของสถานบริการสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ๒: การเตรียมความพร้ อม
(Preparedness)
มาตรการ ๒.๑ จัดทาโครงสร้างหน่วยงานรับผิดชอบที่ชดั เจน
มาตรการ ๒.๒ สร้างระบบและกลไกการเชื่อมโยงระบบแจ้งเตือนภัย(Warning
system) และกระจายข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยงานที่เกีย่ วข้องโดยใช้เทคโนโลยีที่
ทันสมัย
มาตรการ ๒.๓ จัดทาแผนปฏิบตั ิการเตรียมพร้อมด้านการแพทย์ และสาธารณสุขแบบ
บู รณาการทุกระดับ
มาตรการ ๒.๔ เตรียมพร้อมบุคลากร ทรัพยากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข แผน
เตรียมพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข
มาตรการ ๒.๕ กาหนดให้มีการฝึ กซ้อมแผนทุกระดับ
มาตรการ ๒.๖ จัดทาฐานข้อมูลทรัพยากร(คน เงิน ของ)ด้านการแพทย์ และสาธารณสุขให้
พร้อมและเป็ นปั จจุบนั
ยุทธศาสตร์ ๓: การบริหารจัดการฉุกเฉิน
(Emergency Response Management)
มาตรการ ๓.๑ จัดให้มีศูนย์เตรียมพร้อมด้านการแพทย์ และสาธารณสุขให้เป็ น
ศูนย์กลางในการสังการ
่
อานวยการและการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพทุก
ระดับตามประเภทของภัย
มาตรการ ๓.๒ จัดระบบการสือ่ สารฉุ กเฉินที่มีประสิทธิภาพเพือ่ สนับสนุนระบบ
บัญชาการ
มาตรการ ๓.๓ สนับสนุนและจัดการให้มีหน่วยกูช้ ีพ/กูภ้ ยั เพือ่ ปฏิบตั ิหน้าที่ในการ
เคลือ่ นย้ายผูบ้ าดเจ็ บจากพื้ นที่เกิดเหตุไปสู่สถานบริการทางการแพทย์
มาตรการ ๓.๔ จัดให้มีระบบการแพทย์ และสาธารณสุข ทั้งเชิงรับและเชิงรุกที่มี
ประสิทธิภาพ มีโครงข่ายเชื่อมโยง ช่วยเหลือร่วมมือกันอย่างเป็ นระบบตลอดจน
ส่งกาลังบารุงที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ ๔: การจัดการหลังเกิดภัย
(Rehabilitation and Reconstruction Recovery)
มาตรการ ๔.๑ ประเมินและ ดาเนินการฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมและมลพิษต่างๆที่
ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และโครงสร้างพื้ นฐานด้านการแพทย์ และสาธารณสุขให้
อยู่ในสภาพที่ดีเหมาะสมกับการดารงชีวิตในระดับที่ยอมรับได้ (เป็ นสากล)
มาตรการ ๔.๒ ควบคุมโรคระบาดในพื้ นที่ประสบภัยอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรการ ๔.๓ ดาเนินการด้านโภชนาการและอาหารปลอดภัย ให้กลับสู่ภาวะปกติ
อย่างรวดเร็ว
มาตรการ ๔.๔ ฟื้ นฟูสภาพจิ ตใจให้แก่ผูป้ ระสบภัยให้สามารถดารงชีวิตได้เป็ นปกติ
การดาเนินงาน
คณะทางานศูนย์ ปฏิบัตกิ ารแก้ไขปัญหาอุทกภัย ด้ านการแพทย์ และ
สาธารณสุ ข กระทรวงสาธารณสุ ข
๑. ดาเนินการจัดตั้ง และดาเนินงาน “ศูนย์ปฏิบตั ิการแก้ไขปั ญหาอุทกภัย ด้าน
การแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข”
๒. วางแผน สนับสนุน ช่วยเหลือ ประสานงานด้ านการแพทย์และสาธารณสุข
๓. ประสาน สั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง เตรียมความพร้ อมเพื่อแก้ ไขปัญหาและให้ ความ
ช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ประสบภัยให้ เป็ นไปด้ วยความรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
๔. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องของกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่
เกี่ยวข้ องทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข
๕. ติดตาม ประเมินผล เพื่อให้ ความสนับสนุน พร้ อมทั้งรายงานผลให้ ผ้ ูบริหารระดับสูง
๖. รวบรวมข้ อมูลข่าวสาร และประชาสัมพันธ์ด้านข่าวสาร และข้ อมูลด้ านต่าง ๆ
๗. งานอื่น ๆ ตามที่ได้ รับมอบหมาย
30
หลัก 2P2R
1) การเตรียมพร้อม (Preparation)
2) การเผชิญเหตุ (Response)
3) การฟื้ นฟู (Recovery)
4) การป้องกัน (Prevention)
ศูนย์ สนับสนุนการอานวยการและการบริหาร
สถานการณ์ อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ ม (ศอส.)
1) การเตรียมพร้อม (Preparation)
(1) ให้ กระทรวงสาธารณสุขสารองวัสดุ และเคมีภัณฑ์สาหรับการ
ควบคุมและป้ องกันโรค จากนา้ ท่วมขังและขยะ ให้ กบั ศูนย์อนามัยและ
สานักงานควบคุมโรค เพื่อให้ การสนับสนุนจังหวัดเมื่อมีการร้ องขอ
(2) ให้ ทุกหน่วยที่มีผ้ ูแทนประจา ศอส. ได้ ตรวจสอบกับหน่วยงานของ
ตนเองในพื้นที่ท่มี ีการแจ้ งเตือน ที่ได้ มีการสั่งการ เตรียมการ มีผลการ
ปฏิบัติอย่างไร พร้ อมทั้งรายงานให้ ศอส.ทราบด้ วย
2) การเผชิญเหตุ (Response)
(1) ให้ จังหวัดที่ต้องการรับการสนับสนุนนา้ ดื่มสะอาด ร้ องขอมายัง ศอส.
เพื่อ ศอส. จะประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องเพื่อจัดส่งความช่วยเหลือให้ ต่อไป
(2) จังหวัดพังงา ขอรับการสนับสนุนสะพานแบร์ลีย์ จานวน 2 ชุด ทั้งนี้
กรมทางหลวงชนบทได้ ให้ การสนับสนุน จานวน 1 ชุด แล้ ว และขอให้ ศูนย์
บรรเทาสาธารณภัย กองทัพบก ประสานหน่วยทหารในพื้นที่ให้ การสนับสนุน
สะพานแบร์ลีย์ ให้ กบั จังหวัดพังงา จานวน 1 ชุด
(3) ให้ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) แจ้ งเตือนเครือข่ายทีมกู้
ชีพเตรียมความพร้ อมปฏิบัติการช่วยเหลือฉุกเฉินแก่ประชาชนผู้ประสบภัยได้
อย่างทันท่วงที
3) การฟื้ นฟู (Recovery)
ให้ จังหวัดที่มีการจ่ายเงินช่วยเหลือตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้ วยเงิน
ทดรองราชการฯ ตามหลักเกณฑ์เดิมไร่ละ 606 บาท ไปแล้ ว ให้ นาเรื่องเสนอต่อ
ก.ช.ภ.จ. เพื่อพิจารณาให้ ความช่วยเหลือเพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรีต่อไป โดย
เกษตรกรกลุ่มนี้จะเป็ นกลุ่มแรกที่จะสามารถให้ การช่วยเหลือได้ จึงให้ ทุกจังหวัด
เร่งสนับสนุนการดาเนินการในส่วนนี้ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ด้วย
4) การป้องกัน (Prevention)
ให้ กระทรวงสาธารณสุข ดาเนินการป้ องกันโรคระบาดที่มากับนา้ โดยเฉพาะ
โรคฉี่หนู โรคตาแดง โรคอุจจาระร่วง และโรคมือเท้ าปาก โดยให้ ความรู้ด้าน
สุขอนามัยส่วนบุคคล การล้ างมือให้ สะอาดทุกครั้ง และให้ แจกจ่ายแอลกอฮอล์เจล
รองเท้ าบู้ท ให้ กบั ผู้ประสบอุทกภัย
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
รมต. Video conference
ให้ เจ้ าหน้ าที่/อสม.สวมชูชีพทุกครั
้ งที่ออกปฏิบัติงาน
จัดหาเรือในการออกปฏิบัติการให้ เหมาะสม(ประสาน ผวจ./ขอเช่าเอกชน)
สสจ.เข้ าดูสขุ อนามัย/สวล./การควบคุมโรค/การรักษาพยาบาล
จัดระบบการรับ-ส่งต่อผู้ป่วย/ กาหนดจุดนัดรับ-ส่งต่อ
ประสานความร่วมมือกับตารวจ/หน่วยที่เกี่ยวข้ อง
การแจ้ งเตือนประชาชน โดยเฉพาะเด็กจมนา้
ติดตามประเมินการสร้ างขวัญและกาลังใจของเจ้ าหน้ าที่
การดูแลด้ านสุขภาพจิต /การฆ่าตัวตาย
การจัดหายาที่จาเป็ น/เฉพาะ (นา้ กัดเท้ า/ตาแดง)
บทเรียน...
การป้ องกันหน่ วยบริการ
การส่ งต่ อผู้ป่วย
- รถบรรทุก 10 ล้อใหญ่
- เรือท้ องแบน
- รถพยาบาลรับช่ วง
การสนับสนุน หน่ วยบริการ
- อาหาร เวชภัณฑ์
บทเรียน...(ต่ อ)
การอพยพผูป้ ่ วย (หลัก – รอง)
การขนส่งเวชภัณฑ์จากส่วนกลาง
การขาดแคลนน้ าอุปโภค – บริโภค
การขาดแคลนวัสดุเพือ่ การฟื้ นฟู
ระบบสังการ
่
(COMMANDER)
บทเรียน...(ต่ อ)
หน่วยแพทย์เคลือ่ นที่
- การสนับสนุ นจากภายนอก
- การส่งออกปฏิบตั ิการในพื้ นที่
ความสาคัญของงานสาธารณสุข ?
อาสาสมัคร
- มูลนิธิ (ใน – นอก)
- อบต. (FR)
แนวทางแก้ ปัญหา...
- การส่ งต่ อผู้ป่วยทางอากาศ
- ความพร้ อมของทีม
- ความพร้ อมของจุด รับ – ส่ ง
- หน่ วยสนับสนุนอากาศยาน
- จัดโรงพยาบาลรับส่ งต่ อ สารอง
- จัดส่ งแพทย์ เชี่ยวชาญสาขาจาเป็ นไปประจา รพ.node
แนวทางแก้ ปัญหา (ต่ อ)...
ศูนย์ประสานงาน
สาธารณสุข
- สาธารณสุขจังหวัด
- ทหาร
- ตารวจ
- ปกครอง
- อาสาสมัคร
ปัจจัย...สาเร็จ?
o การเตรียมการ
- โครงสร้างงานสาธารณสุข
- ทีมงาน (บก อากาศ ทะเล)
o ผูบ้ ริหาร + เจ้าหน้าที่ มีความรับผิดชอบสูงมาก
o อาสาสมัคร ใจ สาธารณสุข
o หน่วยสนับสนุ น
- กระทรวงสาธารณสุข
- สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ