24112-8 - กองทัพเรือ

Download Report

Transcript 24112-8 - กองทัพเรือ

การปฏิบัติการทางเรือทั่วไป
ว่ าที่ น.อ.ปริญญา เจริญยิง่
อาจารย์ กวสท.ฝวก.ยศ.ทร.
ภาพแรก ๆ ที่ประทับใจมากในชีวิต
ประวัติการศึกษาในช่ วงชีวติ พลเรือน
โรงเรียนสุ ภาคมศึกษา
โรงเรียนวัดทองศาลางาม
โรงเรียนเผดิมศึกษา
โรงเรียนวัดนวลนรดิศ
มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ประวัติการศึกษาทางทหาร
เตรียมทหาร รุ่น ๒๙
นักเรียนนายเรือ รุ่น ๘๖
นายทหารไฟฟ้ าอาวุธ รุ่น ๙
พรรคนาวิน รุ่น ๔๑
เสนาธิการทหารเรือ รุ่น ๖๓
นายทหารกาลังพล รุ่น ๗
ประวัติการรับราชการ
นายทหารปราบเรือดาน้า ร.ล.คีรีรัฐ
นายทหารไฟฟ้ าอาวุธ ร.ล.คีรีรัฐ
นายทหารการอาวุธ ร.ล.คีรีรัฐ
ผู้บังคับการเรือ ต.๑๔
ผู้บังคับการเรือ ต.๑๘
ผู้บังคับการเรือ ต.๙๗
ประวัติการรับราชการ (ต่ อ)
ประจาแผนกยุทธการ บก.กตอ.กร.
ประจาแผนกการศึกษาในประเทศ กศษ.กพ.ทร.
หน.รักษาความปลอดภัย กรภ.ขว.ทร.
หน.การศึกษาต่ างประเทศ กศษ.กพ.ทร.
หน.การปกครอง กปค.กพ.ทร.
หน.ฝึ กและศึกษา กนผ.ขว.ทร.
หัวข้ อการบรรยาย
การปฏิบัตกิ ารทางเรือโดยทั่วไป
การจัดกาลังและการควบคุมบังคับบัญชา
การปฏิบัติการทางเรือสาขาต่ างๆโดยสั งเขป
การครองทะเลกับการควบคุมทะเล
การใช้ กาลังรบทางเรือของกองทัพเรือ
สรุป
ความมุ่งหมาย
เพือ่ ศึกษาและให้ เข้ าใจถึงหลักการโดยทัว่ ไปของการ
ปฏิบัตกิ ารทางเรือ
การปฏิบัติการทางเรือโดยทัว่ ไป
ความเป็ นมา
วิวฒ
ั นาการทางด้ านกาลังรบ
ในสมัยโบราณ กองทัพไทย มิได้ มีการแบ่ งแยกเป็ นกาลังทางบก
หรือ ทางเรือ
ยาตราทัพไปทางบก เรียกว่ า กองทัพบก
ยาตราทัพไปทางเรือ เรียกว่ า กองทัพเรือ
เรือทีใ่ ช้ ลาเลียงทหารมีแต่ เรือพาย เรือแจว เรือใบ หรื อเรือสาเภา
ขนาดย่ อม ใช้ เป็ นพาหนะลาเลียงขนส่ งกาลังพลและยุทธ
สั มภาระไปตามแม่ นา้ ลาคลอง เพือ่ นากาลังไปรบกับข้ าศึก
ทัพบก
ทัพเรือ
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ใช้ เรือรบสาหรับทาสงครามในแม่ นา้ มากกว่ าเรือรบทางทะเล
ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้ เริ่มใช้ เรือใบสาหรับรบทางทะเล
ในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ.๒๐๙๑ – ๒๑๑๑)
มีการดัดแปลงเรือเสริมกราบ ทาแท่ นทีต่ ้ังปื นใหญ่ ไว้ สาหรับไว้ รบข้ าศึก
เช่ น. เรือครุฑ และเรือกระบี่ จึงนับว่ า เรือรบไทยมีขนึ้ เป็ นครั้งแรก
เรือรบในสมัยนั้นแบ่ งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ เรือรบสาหรับใช้ ในแม่ นา้
ลาคลอง และ เรือรบสาหรับใช้ ในทะเล
พระเจ้ าตากสิ นมหาราช เป็ นแม่ ทัพเรือพระองค์ แรกทีน่ ากาลังทางเรือ
ร่ วมกับกาลังทางบก ในการป้องกันเอกราชของชาติ
กรุงรัตนโกสิ นทร์
รัชกาลที่ ๑ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก)
เรือทีต่ ่ อขึน้ ส่ วนมากใช้ สาหรับไปค้ าขายในทะเล เมื่อยามเกิด
สงครามจะเกณฑ์ เรือทีใ่ ช้ ค้าขายนีม้ าติดอาวุธดัดแปลงเป็ นเรือรบ
ใน พ.ศ.๒๓๓๐ ทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างป้อมขึน้ ทางฝั่งตะวันออก
ของแม่ นา้ เจ้ าพระยา เรียกว่ า ป้อมวิทยาคม เป็ นป้อมแรกในสมัย
กรุ งรัตนฯ
ธงทีใ่ ช้ ในเรือรบ เป็ นธงพืน้ สี แดงล้ วนมีจกั รสี ขาวอยู่ตรงกลาง
ถือได้ ว่าเป็ นการกาเนิด ธงราชนาวี ขึน้ เป็ นครั้งแรก
รัชกาลที่ ๒ (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย )
สร้ างเรือกาปั่นหลวง ๒ ลา ซึ่งสามารถนามาติดอาวุธเป็ นเรือรบ
ได้ คือ เรือมาลาพระนคร และเรือเหราข้ ามสมุทร
สร้ างป้อมขึน้ ทั้ง ๒ ฝั่งแม่ นา้ เจ้ าพระยา เป็ นจานวน ๘ ป้อม
พ.ศ.๒๓๖๒ โปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างเมืองสมุทรปราการขึน้ ใหม่ และ
สร้ างป้อมขึน้ จานวน ๖ ป้อม โดยเป็ นฝั่งตะวันออก จานวน ๔
ป้อม และฝั่งตะวันตก จานวน ๒ ป้อมเพือ่ เป็ นการป้องกันด้ าน
ทะเล
ใน พ.ศ.๒๓๖๐ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ใช้ รูปช้ างสี
ขาวไม่ ทรงเครื่องอยู่ในวงจักรบนธงพืน้ สี แดงล้ วน เป็ นธงราชนาวี
รัชกาลที่ ๓ (พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้ าเจ้ าอยู่หัว)
โปรดเกล้ าฯให้ สร้ างเรือรบ โดยแบ่ งออกเป็ น ๓ ประเภทคือ
๑. เรือสาหรับใช้ ในลานา้ ได้ แก่ เรือกระบวนพยุหยาดตรา แบบ
โบราณราชประเพณี
๒. เรือสาหรับใช้ ในอ่ าวทะเล เรียกว่ า เรือกาปั่นแปลง
๓. เรือกาปั่นแล่ นใบในทะเล คือ เรือแกล้ วกลางสมุทร เป็ นเรือใหญ่
ขนาด ๑๑๐ ตัน มีอาวุธปื น ๖ กระบอก
ทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างป้อมปราการเพิม่ ขึน้ อีกจานวนหลาย
ป้อม
และส่ งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาต่ อเรือ ณ ประเทศอังกฤษ
รัชกาลที่ ๔ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว)
ทหารเรือแบ่ งออกเป็ น ๒ หน่ วยคือ
๑.ทหารเรือวังหน้ า ขึน้ อยู่ในการบังคับบัญชาของ
พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้ าเจ้ าอยู่หัว
๒.ทหารเรือมะรีน สาหรับเรือรบ ขึน้ อยู่ในบังคับบัญชาของ
สมเด็จเจ้ าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ สมุหพระกลาโหม
มีการเปลีย่ นแปลงเรือจากยุคเรือใบมาเป็ นยุคเรือกลไฟ สาหรับ
เรือกลไฟลาแรก คือ เรือสยามอรสุ มพล ต่ อขึน้ เมื่อปี พ.ศ.
๒๓๙๘
รัชกาลที่ ๔
ทหารเรือวังหน้ า
ทหารเรือมะรีน
มีอ่ ูต่อเรือทีส่ ามารถซ่ อม สร้ างเรืออยู่ ๓ แห่ ง
๑. อู่เรือใต้ วดั ระฆัง
๒. อู่เรือวังหน้ า
๓. อู่เรือบ้ านสมเด็จ
มีอู่เรือของบริษทั ต่ างประเทศอยู่ ๒ แห่ ง คือ อู่บริษทั แมคลีน
สร้ างปี พ.ศ.๒๓๙๘ และอู่บริษทั บางกอกด๊ อก สร้ างปี พ.ศ.
๒๔๐๘
เรือยงยศอโยชฌิยา
เรืออรรคราชวรเดช
เรือสยามอรสุ มพล
รัชกาลที่ ๕
รัชกาลที่ ๕(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว)
เกิดกรณีพพิ าทระหว่ างไทย-ฝรั่งเศส ร.ศ.๑๑๒(พ.ศ.๒๔๓๖) โดย
พวกฝรั่งชาวตะวันตก ประเทศไทยต้ องเสี ยดินแดนบางส่ วน
ให้ แก่ ประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ รวม ๕ ครั้ง
พ.ศ.๒๔๑๘-๒๔๒๗ ปรับปรุงอาวุธยุทโธปกรณ์ แบบใหม่ ๆมาใช้
พ.ศ.๒๔๒๘ ทรงโปรดเกล้ าฯให้ เลิกประเพณีวงั หน้ า และได้ จัดตั้ง
กรมแบ่ งออกเป็ น ๒ กรมคือ กรมเรือพระทีน่ ั่งเวสาตรี และกรม
อรสุ มพล
พ.ศ.๒๔๓๕ ทรงโปรดเกล้ าฯให้ กรมทหารเรือ อยู่ในสั งกัด
กระทรวงกลาโหม ตลอดมาจนถึงรัชกาลที่ ๖
พ.ศ.๒๔๓๕ ทรงโปรดเกล้ าฯให้ สร้ างป้อม ขึน้ ที่ปากนา้
เจ้ าพระยา ณ ตาบลแหลมฟ้าผ่ า พระราชทานชื่อว่ า “ป้อมพระ
จุลจอมเกล้ า”
พ.ศ.๒๔๓๖ ทรงส่ งพระองค์ เจ้ าอาภากรเกียรติวงศ์ ไปทรง
ศึกษาวิชาการทหารเรือ ณ ประเทศอังกฤษ และสมเด็จเจ้ าฟ้าฯ
กรมหลวงสงขลานครินทร์ ไปศึกษาวิชาการทหารเรือ ณ
ประเทศเยอรมนี
พ.ศ.๒๔๔๓ เสด็จพระราชดาเนินมาทรงเปิ ด โรงเรียนนายเรือ
ที่พระราชวังเดิม เมื่อ วันที่ ๒๐ พ.ย. ๒๔๔๙ (วันกองทัพเรือ)
เรือจาเริญ
เรือพระทีน่ ั่งมหาจักรี
เรือพาลีร้ังทวีป
เรือมูรธาวสิ ตสวัสดิ์
เรือวรารัตนพิไชย
รัชกาลที่ ๖(พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว)
พ.ศ.๒๔๕๓ ทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ เลือ่ นฐานะจากกรมทหารเรือ
เป็ นกระทรวงทหารเรือ
พ.ศ.๒๔๖๕ พล.ร.อ.กรมหลวงชุมพรฯ ขอพระราชทานพืน้ ที่
เขตสงวน ต.สั ตหีบ จว.ชลบุรี ให้ เป็ นกรรมสิ ทธิ์กองทัพเรือ เพือ่
สร้ างเป็ นฐานทัพเรือ
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ ข้ าราชการและประชาชนได้ จัดตั้ง
สมาคมขึน้ ซึ่งทรงโปรดเกล้ าฯ พระราชทานนามว่ า “ราชนาวี
สมาคมแห่ งกรุ งสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ”และได้ ร่วมบริจาค
เงินสร้ างเรือรบ (เรือหลวงพระร่ วง) โดยมี พล.ร.อ.กรม
หลวงชุมพรฯ เป็ น ผบ.เรือ
ใน พ.ศ.๒๔๖๐ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ตรา
พระราชบัญญัติธงขึน้ โดยเปลีย่ นจากธงชาติซึ่งแต่ เดิมเป็ นธง
พืน้ แดงตรงกลางธงมีรูปช้ างเผือกได้ ยกเลิกไป เปลีย่ นเป็ นธงสาม
สี เรียกว่ า “ธงไตรรงค์ ” ทาให้ ธงราชนาวี ได้ เปลีย่ นตามไป
ด้ วยคือ มีลกั ษณะเหมือนธงไตรรงค์ แต่ ตรงกลางมีวงกลมสี แดง
ภายในวงกลมมีรูปช้ างเผือกสี ขาวทรงเครื่องยืนแท่ น หันหน้ าเข้ า
หาเสา
ร.ล. เสื อคารณสิ นธุ์
ร.ล. เจนทะเล หรือ ร.ล. คราม
ร.ล. พระทีน่ ั่งมหาจักรี (ลาที่สอง)
ร.ล. ตอร์ ปิโด
รัชกาลที่ ๗(พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หัว)
พ.ศ.๒๔๗๔ ได้ ยบุ เลิกหน่ วยต่ างๆ ในกระทรวงทหารเรือ และ
รวมกระทรวงทหารเรือเข้ าในกระทรวงกลาโหม โดยลดฐานะ
กระทรวงทหารเรือเป็ น “กรมทหารเรือ”
พ.ศ.๒๔๗๕ น.ต. หลวงสิ นธุ สงครามชัย (สิ นธุ์ กมลนาวิน) เป็ น
ผู้นาในการปฏิวตั วิ างแผนเปลีย่ นแปลงการปกครอง
พ.ศ.๒๔๗๖ กองทัพเรือส่ ง ร.ล.สุ โขทัย และร.ล.เจ้ าพระยา ไป
ถวายอารักขาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าฯ กรณีเกิดกบฏล้มล้ าง
รัฐบาล
ร.ล. พระยม หรือ ร.ล. จวง(ลาที่หนึ่ง)
ร.ล. รัตนโกสิ นทร์ (ลาที่หนึ่ง)
ร.ล. สุ โขทัย (ลาที่หนึ่ง)
รัชกาลที่ ๘(พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวอนันทมหิดล)
ระหว่ างพ.ศ.๒๔๘๓ – ๒๔๘๔ เกิดกรณีพพิ าทอินโดจีน ระหว่ าง
ไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส
ใน ๑๗ ม.ค. ๒๔๘๔ เกิดการรบทีบ่ ริเวณด้ านใต้ ของเกาะช้ าง
(ยุทธนาวีทเี่ กาะช้ าง) และกองทัพเรือต้ องสู ญเสี ยเรือรบ จานวน
๓ ลา คือร.ล.ธนบุรี ร.ล.ชลบุรี ร.ล.สงขลา พร้ อมนายทหารและ
ทหารประจาเรือ ๓๖ นาย
ใน ๙ พ.ค. ๒๔๘๔ ประเทศไทยและฝรั่งเศสลงนามใน
สนธิสัญญาสั นติภาพ ณ กรุงโตเกียว โดยที่ประเทศไทยได้
ดินแดนบางส่ วนจากฝรั่งเศสกลับคืนมา
ใน ๗ ธ.ค. ๒๔๘๔ ประเทศไทยถูกบีบให้ ประกาศสงครามกับ
ฝ่ ายสั มพันธมิตร
ใน ๑๖ ส.ค. ๒๔๘๘ รัฐบาลไทยได้ ประกาศสั นติภาพ
ใน ๑๙ ส.ค. ๒๔๘๘ รัฐบาลสหรัฐฯ และอังกฤษ ประกาศรับรอง
ประกาศสั นติภาพรัฐบาลไทย
ร.ล.ท่ าจีน(ลาที่ ๑)
ร.ล. ธนบุรี
ร.ล. พงัน (ลาที่ ๑)
ร.ล. ปัตตานี
ร.ล. แม่ กลอง
ร.ล. ภูเก็ต
เรือดานา้ มัจฉานุ ,วิรุณ, พลายชุมพล
รัชกาลที่ ๙
(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช)
ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๔๙๓ รัฐบาลไทยได้ รับ
ความช่ วยเหลือทางทหารจากประเทศสหรัฐฯ
พ.ศ.๒๕๑๖ ประเทศสหรัฐฯ เริ่มลดความช่ วยเหลือทางทหาร
พ.ศ.๒๕๑๙ กองทัพเรือไทยจัดหากาลังรบเพิม่ เติมด้ วย
งบประมาณของประเทศทีจ่ ดั สรรให้ กองทัพเรือ มาจนถึง
ปัจจุบัน
กองเรือภาคที่ ๓
กองเรือภาคที่ ๑
กองเรือภาคที่ ๒
ระบบ C3I ของกองทัพเรือ
ระบบควบคุมบังคับบัญชา การสื่ อสารและข่ าวกรอง
(Command Control Communication and
Intelligence, C3I)
ระบบควบคุมการบังคับบัญชา การสือ่ สารและข่าวกรอง
ของกองทัพเรือ
Command Control Communication and
Intelligence, C3I
ดอนเมือง
พระราชวังเดิม
JADDI
N
RTN C3I System
การป้องกันทางลึก
การปฏิบัติการทางเรือสาขาต่ างๆโดยสั งเขป
ชนิดของภัยคุกคาม
• ภัยผิวนา้
• ภัยใต้ นา้
• ภัยทางอากาศ
สาขาการปฏิบัตกิ ารทางเรือ
แบ่งตาม ลักษณะของกาลังที่ใช้ และ ลักษณะของเป้ าหมาย
การปฏิบัติการของกองเรือโจมตี (Striking Force Ops.)
การปฏิบัติการอากาศนาวี (Naval Air Operations)
การปฏิบัติการสะเทินนา้ สะเทินบก (Amphibious Operations)
การปฏิบัติการเรือดานา้ (Submarine Operations)
การปฏิบัติการปราบเรือดานา้ (Anti-Submarine Operations)
การปฏิบัติการป้ องกันภัยทางอากาศ (Anti-Air Operations)
การปฏิบัติการวางทุ่นระเบิด (Mining Operations)*
การปฏิบัติการต่ อต้ านทุ่นระเบิด (Mine Countermeasure Operations)
การปฏิบัติการควบคุมและป้องกันเรือพาณิชย์ (Control & Protection of
Shipping Operations)
การปฏิบัติการลาดตระเวน (Scouting Operations)
การปฏิบัติการสนับสนุน (Support Operations)
การปฏิบัติการป้ องกันฐานทัพ (Base Defence Operations)
การปฏิบัติการส่ งกาลังบารุง (Logistic Operations)
การปฏิบัติการปิ ดอ่าว (Blockade Operations)
การปฏิบัติการค้ นหาและช่ วยเหลือ (Search & Rescue Ops.)*
เรื อดาน้ าประเทศสิ งคโปร์
เรื อดาน้ าประเทศอินโดนีเซีย
เรื อดาน้ าประเทศอินเดีย
การครองทะเลกับการควบคุมทะเล
กาลังทางเรือ
กาลังทางเรือ (Maritime Forces)
– กาลังประเภทต่ างๆทีใ่ ช้ ในการปฏิบัติการทางทหารใน
ทะเลและจากทะเล รวมกาลังทุกประเภททั้งทางเรือ บก
และ อากาศทีใ่ ช้ ในภารกิจทางทะเลทั้งหมด
กาลังรบทางเรือ (Naval Forces)
– เป็ นกาลังทางทะเล คือ เรือรบ เรือดานา้ กาลังสะเทิน
นา้ สะเทินบก กาลังอากาศนาวี และเรือช่ วยรบต่ างๆ
คุณลักษณะทีส่ าคัญของกาลังทางเรือ
ความคล่ องตัว
ความสามารถในการปฏิบัติงานได้ หลายประเภท
ความสามารถปฏิบัตกิ ารในระยะไกลและอยู่ในพืน้ ทีไ่ ด้
นาน
ความสามารถในการลาเลียง
ความสามารถในการวางกาลังพร้ อมอยู่ในพืน้ ทีป่ ฏิบัติการ
คุณลักษณะทีส่ าคัญของกาลังทางเรือ
การใช้ กาลังขนาดเล็กคานกาลังอานาจทางบก
การปฏิบัตกิ ารร่ วมระหว่ างเหล่ าทัพ
การปฏิบัติการผสมระหว่ างชาติ
การสนับสนุนด้ านการข่ าวกรอง
ประสิ ทธิภาพด้ านค่ าใช้ จ่าย
อายุการใช้ งาน
การครองทะเล
การมีเสรีภาพในการใช้ ทะเลเพือ่ ประโยชน์ ของตนเอง
และขัดขวางหรือปฏิเสธมิให้ ข้าศึกใช้
เป็ นลักษณะทีก่ าลังทางเรือสามารถใช้ ทะเลได้ อย่ างไม่
มีการขัดขวางหรือท้ าทายจากข้ าศึก
เป็ นวัตถุประสงค์ หลักของการสู้ รบทางเรือ
ได้ มาจากการทาลายกาลังทางเรือของข้ าศึกหรือกาจัด
ให้ หมดสิ้นไปด้ วยวิธีการอืน่ ๆ เช่ น การปิ ดล้ อม
การควบคุมทะเล
เป็ นเงื่อนไขซึ่งประเทศใดประเทศหนึ่งมีเสรีภาพใน
การใช้ ทะเลเพือ่ ประโยชน์ ของตนเองในพืน้ ที่เฉพาะ
แห่ งและในห้ วงเวลาทีก่ าหนด
การครองทะเลในห้ วงเวลาและพืน้ ที่จากัด
ใช้ ได้ ในทุกระดับความขัดแย้ ง เมือ่ มีความเสี่ ยงต่ อการ
มีเสรีภาพในการใช้ ทะเล
เป็ นการควบคุมสภาวะแวดล้ อมทางทะเลทั้งบนผิวนา้
ใต้ นา้ และในอากาศของพืน้ ที่ทตี่ ้ องการควบคุม
การควบคุมทะเล
การควบคุมจุดตาบลทีท่ สี่ าคัญ (Choke point control)
การควบคุมในทะเลเปิ ด
การควบคุมทะเลในพืน้ ที่
การกาหนดและรักษาเขตหวงห้ ามเฉพาะทางทะเล
(Maritime Exclusion Zone)
การปฏิเสธการใช้ ทะเล
ใช้ เมือ่ ฝ่ ายหนึ่งต้ องการปฏิเสธมิให้ อกี ฝ่ ายหนึ่งสามารถ
ควบคุมพืน้ ทีใ่ นทะเลได้
ฝ่ ายทีใ่ ช้ ไม่ ได้ ต้องการควบคุมพืน้ ทีน่ ้ันๆ
ใช้ เมือ่ ไม่ สามารถควบคุมทะเลอย่ างเต็มที่
การครองทะเล
การควบคุมทะเล
การปฏิเสธการใช้ ทะเล
เปรียบเทียบกาลังทางเรือที่ต้องใช้ ปฏิบัติการ
การใช้ กาลังรบทางเรือของกองทัพเรือ
การใช้กาลังทางเรือ
๑. การปฏิบต
ั ิการทางทหาร
๑.๑ ในทะเล
๑.๒ จากทะเล
๒. การรักษากฎหมายในทะเล
๓. การปฏิบตั ิการเพือ่ ช่วยเหลือ
การปฏิบัติการทางทหาร
การปฏิ
บ
ต
ั
ก
ิ
ารเพื
อ
่
ช่
ว
ยเหลื
อ
การรักษากฎหมายในทะเล
การใช้ กาลังทางเรือ
๑. การปฏิบตั ิการทางทหาร
๑.๑ ในทะเล (At Sea)
๑.๑.๑ การปฏิบัตกิ ารต่ อกาลังข้ าศึก
การขัดขวางการใช้ กาลังทางเรือ การลาเลียงทางเรือและ
การเดินเรือสินค้ าของข้ าศึก
การปิ ดอ่ าว
การควบคุมทะเลเป็ นพืน้ ที่
การกาหนดพืน้ ที่หวงห้ าม
การวางแนวป้องกัน
Layered Defence/ Close and Distant Screening
๑. การปฏิบตั ิการทางทหาร
๑.๑.๒ การป้องกันการค้าทางทะเล
การควบคุมเรือพาณิชย์
วิธีการป้องกัน
–การควบคุมทะเล
–การคอนวอย
–Distant and Close Escort
๑. การปฏิบตั ิการทางทหาร (ต่อ)
๑.๒ จากทะเล(From the Sea)
๑.๒.๑ การป้องปราม -- มี ๓ ระดับ
ใช้การป้องกันทีม่ ีประสิทธิภาพ
การข่มขู่ว่าจะขยายระดับความขัดแย้ง
การข่มขู่ว่าจะตอบโต้การรุกราน
๑. การปฏิบตั ิการทางทหาร (ต่อ)
๑.๒.๒ การปฏิบตั ิการต่อเป้าหมายบนบก --
โดยใช้
อาวุธนาวิถยี งิ จากเรือดาน้ าและเรือผิวน้ า
เครือ่ งบินโจมตีจากเรือบรรทุกเครือ่ งบิน
ปื นเรือ
กองกาลังสะเทินน้ าสะเทินบก
หน่วยรบพิเศษทางเรือ/นักทาลายใต้น้ าจู่ โจม
D
D21
D
D21
D
D21
การปฏิบัติการร่ วม
๑. การปฏิบตั ิการทางทหาร (ต่อ)
๑.๒.๓ การปฏิบตั ิการป้องกันกาลังรบทางบก
ป้องกันปี กทางด้านทะเล
สนับสนุ น/ให้การป้องกันภัยทางอากาศ
ส่งกาลังนาวิกโยธินขึ้ นไปเสริมกาลังรบทาง
บก
๑. การปฏิบตั ิการทางทหาร (ต่อ)
๑.๒.๔ การปฏิบัติการ Evacuation
การอพยพพลเรือน(Non-Combatant Evacuation
Operation:NEO)
ช่ วยอพยพทหาร (Service Assisted Evacuation)
ช่ วยป้ องกันการอพยพทหาร (Service
Protected Evacuation)
๑. การปฏิบัติการทางทหาร (ต่อ)
๑.๒.๕ การสนับสนุนการดาเนินการทางทูต
การแสดงกาลัง (Presence)
การใช้ สัญญาลักษณ์ ทางทหาร (Symbolic Use)
การบีบบังคับ (Coercion)
การทูตเชิงป้องกัน (Preventive, Precautionary and
Preemptive Naval Diplomacy)
๒. การรักษากฎหมายในทะเล
การควา่ บาตร การปิ ดอ่ าว การกักกัน
(Embargo, Sanctions and Quarantine Enforcement)
การปราบปรามโจรสลัด (Anti-Piracy Operations)
การคุ้มครองการประมง (Fishery Protection)
การขัดขวาง/ปราบปรามการค้ ายาเสพติด
(Drug Interdiction)
การป้องกันฐานขุดเจาะนา้ มันและก๊ าซธรรมชาติ
(Oil and Gas Field Patrols)
การรักษากฎหมายในทะเล
การคุ้มครองการประมง (Fishery
Protection)
การต่ อต้ านการก่ อการร้ ายสากล
๒. การรักษากฎหมายในทะเล
การปราบปรามสิ นค้ าหลบเลีย่ งภาษี
(Contraband Operations)
การต่ อต้ านการก่ อการร้ ายทางทะเล
(Maritime Counter-Terrorism)
สนับสนุนการต่ อต้ านการก่ อความไม่ สงบ
(Support to Counter-Insurgency Operations)
การบังคับใช้ ข้อตกลงทางทะเล(Enforcement of
Maritime Agreements)
การรักษากฎหมายในทะเล
การปราบปรามสิ นค้ าหลบเลีย่ งภาษี
(Contraband Operations)
๓. การปฏิบตั ิการเพือ่ ช่วยเหลือ
การสนับสนุนด้ านสั นติภาพ (Peace Support
Operations)
– การรักษาสั นติภาพทางทะเล (Maritime
Peacekeeping Operations)
– การบีบบังคับให้ เกิดสั นติภาพ (Peace
Enforcement)
– การสร้ างสั นติภาพ (Peace Building)
– การฟื้ นฟูสันติภาพ(Peace Making)
๓. การปฏิบตั ิการเพือ่ ช่วยเหลือ
การช่วยเหลือด้านมนุ ษยธรรม และการบรรเทา
สาธารณภัย(Humanitarian Assistance &
Disaster Relief)
การช่วยเหลือผูอ้ พยพ
(Assistance to Refugees)
๓. การปฏิบัติการเพื่อช่วยเหลือ
การสร้างสันติภาพ (Peace Building
Operations)
การค้ นหาและช่ วยเหลือ
(Search and Rescue)
๓. การปฏิบัติการเพื่อช่วยเหลือ
การกูภ้ ยั
(Salvage)
การช่ วยเหลือทางทหารให้ กบั รัฐบาลอืน่
(Military Assistance to
Foreign Government)
การปฏิบตั ิการเพือ่ ช่วยเหลือ
การก้ ภู ยั (Salvage)
การปฏิบตั ิการเพือ่ ช่วยเหลือ
การช่ วยเหลือทางทหารให้ กบั รัฐบาลอืน่
(Military Assistance to Foreign
Government)
สรุปการบรรยาย
การปฏิบัตกิ ารทางเรือโดยทั่วไป
การจัดกาลังและการควบคุมบังคับบัญชา
การปฏิบัติการทางเรือสาขาต่ างๆโดยสั งเขป
การครองทะเลกับการควบคุมทะเล
การใช้ กาลังรบทางเรือของกองทัพเรือ
เชิญซักถาม
จบการบรรยาย
ขอให้ ทุกท่ านโชคดีในการศึกษาครับ