º·ºÒ·¡ÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒ¼Ùé»èÇ stroke 2 ¾.¤.54

Download Report

Transcript º·ºÒ·¡ÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒ¼Ùé»èÇ stroke 2 ¾.¤.54

Quality Seamless Care Team
for Stroke Patient
ส ุภาพันรัตน์ คาหอม
Stroke unit โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
การด ูแลรักษาผูป้ ่ วย stroke
โดยทีมส ุขภาพ
การด ูแลรักษา
บ ุคลากรหลายฝ่ายทางานร่วมกันและ
สอดคล้องในทิศทางเดียวกัน
ทีมด ูแลรักษาพยาบาลผูป้ ่ วย Stroke
สหสาขาวิชาชีพ
ญาติ/ผูด้ ูแล
อาสากาชาด
พยาบาล
นักโภชนากร
ผูป้ ่ วย
นักสังคมสงเคราะห์
แพทย์เวชศาสตร์ฟ้ ื นฟู/
นักกายภาพ
จิตแพทย์
แพทย์
ประสาทวิทยา
STOKE UNIT รพ. จุฬาลงกรณ์
พยาบาล
 The role of nurses in nursing care
 The role of nurses in promoting quality of
life
 The role of nurses in prevention
 The role of nurses in best practice
 The role of nurses in research
การให้การด ูแล
(The role of nurses in nursing care)
การด ูแลที่จะทาให้เกิดผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่มี
ค ุณภาพ ประกอบไปด้วย
- Early Assessment
- Early Detection
- Early Treatment / Intervention
Early Assessment




การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การประเมินสัญญาณชีพ
การตรวจทางระบบประสาท
(GCS,NIHSS)
ผลที่คาดหวัง เป้าหมาย วัตถ ุประสงค์
 ผูป
้ ่ วยได้รบั การด ูแลรักษาพยาบาลที่สอดคล้อง
กับปัญหา
 ผูป
้ ่ วยปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
 ผูป
้ ่ วยได้รบั การฟ้ ื นฟูสภาพ
 ผูป
้ ่ วยสามารถ Self care ได้
 ผูป
้ ่ วยมีค ุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน
การเป็นผูส้ ง่ เสริมส ุขภาพ
(The role of nurses in promoting quality of life)
 การด ูแลระยะยาว การวางแผนการจาหน่าย
 การให้ด ูแลและการฟ้ ื นฟู
 การให้ Health education
 การด ูแลต่อเนื่องที่บา้ น (Home Health
Care)
 การประสานงานระหว่างโรงพยาบาลกับ
ช ุมชน
 การเป็นที่ปรึกษาเพื่อส่งต่อในเรือ่ งการ
ด ูแลและการฟ้ ื นฟู
การด ูแลผูป้ ่ วยระยะยาว
1. การวางแผนการจาหน่าย
1.1 แจ้งให้ญาติทราบ เพื่อเตรียมผูด้ ูแล และสถานที่บา้ นด ูแล
ผูป้ ่ วย
1.2 การให้ Health Education
1.2.1 การป้องกันและควบค ุมปัจจัยเสี่ยง (
Heart disease, Smoking,
-
Alcohol)
HT, DM, Dyslipidemia,
ได้แก่
การควบค ุมอาหาร
ตรวจเลือดด ูระดับไขมัน น้าตาล และอื่นๆ
งดสูบบ ุหรี/่ หลีกเลี่ยงดื่มเหล้า
การออกกาลังกาย
การผ่อนคลายความเครียด
การด ูแลผูป้ ่ วยระยะยาว
1.2.2 การรับประทานยา ได้แก่ยากลมุ่
antiplatelat (aspirin),
Anticoagulant(caumadin)
และยาลดไขมันกลมุ่ Statin
เพื่อป้องกันการกลับเป็นโรคซ้า
1.3 กายภาพบาบัด เป็นสิ่งสาคัญมาก ควร
ทาตัง้ แต่ระยะแรกที่เกิดอาการ (ถ้าไม่มีขอ้
ห้าม) ได้แก่
- Passive Exercise, Active Exercise
- Occupational Therapy, Speech
Therapy
ตึกธก.3
การป้องกันโรค
(The role of nurses in prevention)
primary prevention
 ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้ อายุ, เพศ, พันธ ุกรรม
 ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได้
* ปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ HT, DM, Dyslipidemia,
Heart disease เช่น AF RHD, Smoking
และประวัติเคยเป็นหลอดเลือดสมอง
* ปัจจัยเสี่ยงรอง ได้แก่ โรคอ้วน
ขาดการออกกาลังกาย
รับประทานไม่เหมาะสม
การดื่มส ุรา และการใช้ยาเสพติด ยาบ้า ยาค ุมกาเนิด
การป้องกันโรค
(The role of nurses in prevention)
secondary prevention
พยาบาลควรใช้โอกาสที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงของผูป้ ่ วย
ขณะที่อยูโ่ รงพยาบาล เพื่อหาทางป้องกันการกลับเป็นซ้า
- มีการให้ขอ้ มูล
- การส่งเสริมเกี่ยวกับภาวะส ุขภาพ
- การเตรียมแหล่งสนับสน ุน
- การเฝ้าติดตามเพื่อการป้องกันอย่างใกล้ชิด
การพัฒนาค ุณภาพการพยาบาลที่เป็นเลิศ
(The role of nurses in best practice)
นาองค์ความรท้ ู ี่ได้จากการวิจยั และนามาเป็น
หลักฐานเชิงประจักษ์
(Evidence-based practice)
การค้นหาความเสี่ยง
 ไม่สามารถประเมินอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
ได้ทนั ท่วงที
 เกิดภาวะ Bleeding ของอวัยวะต่างๆในผูป
้ ่ วย stroke ที่ได้รบั ยา
thrombolytic agent
 เกิดภาวะแทรกซ้อนได้แก่ UTI, VAP, Pressure sore
 เกิด Status Epilepticus ขณะ on VEM 24 ชม.
 Medication Error
 Fall
 Pressure Ulcer
วิเคราะห์จดุ บกพร่องและผลกระทบ(FMEA) : Adverse drug reaction ในยา High
alert drug (warfarin)
แนวปฏิบตั ิการพยาบาลผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมอง
1. แบบประเมินการกลืน Standardized
Swallowing
Assessment (SSA) LIN PERRY. (2001)
2. แบบประเมินภาวะแทรกซ้อน/อาการข้างเคียง rt-PA
3. แนวปฏิบตั ิเพื่อควบค ุมอ ุณหภูมิรา่ งกายผูป้ ่ วยไม่ให้เกิน
37 องศาเซลเซียส
(American stroke Association, 2003)
4. สร้างแนวปฏิบตั ิและจัดทาคู่มือสาหรับผูป้ ่ วย stroke ที่
ได้รบั ยา warfarin ชนิดเม็ด
(Clinical Practice Guideline For Ischemic Stroke,2007)
คมู่ ือปฏิบตั ิงาน
- Care Map การด ูแลผูป้ ่ วย Stroke, Stroke fast track, Epilepsy
- แบบฟอร์ม Risk alert
- คมู่ ือการด ูแลผูป้ ่ วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- แนวทางการจัดท่าผูป้ ่ วยที่มีแขนขาอ่อนแรง
- เกณฑ์การป้องกันการพลัดตกหกล้ม
- แนวทางการให้ยา High Alert Drug
- แบบบันทึกภาวะแทรกซ้อนจากการได้รบั ยา Warfarin
- มาตรฐานการด ูแลผูป้ ่ วย Stroke ที่มีภาวะกลืนลาบาก
- คมู่ ือการให้ความรเ้ ู รือ่ งปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองตีบ
- เกณฑ์การปฏิบตั ิการด ูแลผูป้ ่ วยโรคลมชักขณะ on VEM 24 ชม. ในEMU
- แนวทางปฏิบตั ิการควบค ุมอ ุณหภ ูมิรา่ งกายผูป้ ่ วยทางระบบประสาท
เครื่องชี้วดั
เครือ่ งชี้วดั
1 ผป้ ุ ่ วย Stroke ที่มีคะแนนความพร่องทาง ระบบประสาท
(NIHSS) เท่าเดิมหรือลดลง
2. อัตราผูป้ ่ วย Large Infarction ที่ได้รบั การประเมินอาการเปลี่ยนแปลง
ทางระบบประสาทท ุก 1 ชม. เป็นเวลา 72 ชม.
เป้าหมาย
80 %
100%
3. อัตราการเกิดภาวะ Bleeding ของอวัยวะต่างๆ ในผูป้ ่ วย Strokeที่
ได้รบั ยา Thrombolytic agent ระดับ E ( มีผลทาให้ผป้ ู ่ วยต้องได้รบั การ
รักษาเพิ่มขึ้น
0%
4. อัตราการเกิดการพลัดตกหกล้ม
0%
5.อัตราการติดเชื้อ เป้าหมาย 5 ครัง้ /1000 วันนอน
5 ครัง้ /1000 วัน
นอน
เครื่องชี้วดั
เครือ่ งชี้วดั
6.อัตราการเกิด Pressure sore
7.อัตราตายในผูป้ ่ วย Stroke
เป้าหมาย
0
8. LOS ผูป้ ่ วย Stroke
13 วัน
≤5%
การเป็นผูว้ ิจยั
(The role of nurses in research)
การทาวิจยั พยาบาลสามารถทาได้จากการพัฒนา
งานประจาให้เป็นงานวิจยั
(Routine to Research)
การเป็นผูว้ ิจยั
(The role of nurses in research)
วิจยั ค ุณภาพชีวิตผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมอง
1. ศึกษาค ุณภาพชีวิตภายหลังการจาหน่าย
จาก ร.พ.ของกลมุ่ ที่เข้าโครงการ HHC
และไม่เข้า HHC
2. ศึกษาความรแ้ ู ละพฤติกรรมการด ูแล
ตนเองภายหลังการจาหน่ายจาก ร.พ.ของ
กลมุ่ ที่เข้าโครงการ HHC และไม่เข้า
HHC
วิจยั การศึกษาเปรียบเทียบอ ุณหภูมิรา่ งกาย
ผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมองกลมุ่ ที่ได้รบั การ
ควบค ุมอ ุณหภูมิรา่ งกายกับกลมุ่ ผูป้ ่ วยที่ไม่ได้
รับการควบค ุมอ ุณหภูมิรา่ งกาย
โครงการ/กิจกรรมการพัฒนา
 โครงการพัฒนาค ุณภาพ เรือ
่ งการพัฒนาระบบการด ูแล
ผูป้ ่ วย stroke fast track ด้วย care map
 โครงการพัฒนาค ุณภาพ เรือ
่ ง สร้างแบบประเมินการ
กลืน และศึกษาผลการใช้แบบประเมินการกลืน ในผูป้ ่ วยโรค
หลอดเลือดสมองตีบที่มีภาวะกลืนลาบาก
 โครงการพัฒนาค ุณภาพ เรือ
่ งการให้ความรเ้ ู รือ่ งปัจจัย
เสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ
โครงการ/กิจกรรมการพัฒนา
 โครงการวิจยั เปรียบเทียบค ุณภาพชีวิตผูป
้ ่ วย stroke ที่
ได้รบั การเยีย่ มบ้าน และไม่ได้รบั การเยีย่ มบ้าน
โครงการเพิ่มความรค
้ ู วามสามารถในการ Early
assessment ผูป
้ ่ วย stroke
โครงการ/กิจกรรมการพัฒนา
 โครงการ การสร้างแนวทางปฏิบต
ั ิเพื่อควบค ุมอ ุณหภมู ิ
ร่างกายผูป้ ่ วย Acute Stroke ให้ไม่เกิน 37 oC
โครงการวิจยั การศึกษาเปรียบเทียบอ ุณหภ ูมิรา่ งกายผูป
้ ่ วย
โรคหลอดเลือด สมองกลมุ่ ที่ได้รบั การควบค ุมอ ุณหภ ูมิรา่ งกาย
โดยการใช้Acetaminophens ร่วมกับการเช็ดตัวกับกลมุ่
ผูป้ ่ วยที่ไม่ได้รบั การควบค ุมอ ุณหภูมิรา่ งกาย
 โครงการสร้างคู่มือการด ูแลตนเองของผูป
้ ่ วยโรคหลอด
เลือดสมองที่ได้รบั ประทานยา Warfarin ชนิดเม็ด และ
สร้างแบบบันทึกภาวะแทรกซ้อนจากการได้รบั ยา Warfarin
บทสร ุป
• ปัจจุบนั การด ูแลผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมอง ทีมสหสาขา
วิชาชีพเป็นหัวใจส่วนหนึ่งที่เป็นมาตรฐานการด ูแล ผูป้ ่ วยโรค
หลอดเลือดสมองจาเป็นต้องอาศัยบ ุคลากรทางการแพทย์ที่
มีทกั ษะเฉพาะ หลายๆฝ่ายมาร่วมกันทางานอย่างต่อเนื่อง
เพราะการด ูแลรักษาตามปกติไม่สามารถครอบคล ุมปัญหา
ท ุกด้านของผูป้ ่ วยได้
• ร ูปแบบการด ูแลรักษาผูป้ ่ วยควรมีลกั ษณะบูรณาการ เริ่ม
จากบ ุคลากรทางการแพทย์เป็นแกนหลักในการประสาน
ความร่วมมือ การเรียนรร้ ู ว่ มกัน การลดอคติและฐิติทงั้ หลาย
ก้าวข้ามความแตกต่างของวิชาชีพ
ทีมการด ูแล