แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
Download
Report
Transcript แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ชุดเครื่องมือการเรียนรู้ เรื่อง
แผนที่ยทุ ธศาสตร์
(Strategy Map)
(ฉบับปรับปรุง)
พ.ศ. 2552
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
หัวข้อการนาเสนอ
1. ความสาคัญของการใช้แผนที่ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Map) เพื่อ
การพัฒนาองค์การ
2. การกาหนดเป้ าหมายองค์การ
3. การวินิจฉัยองค์การ
4. การวางแผนยุทธศาสตร์
5. การประเมินผลการปฏิบตั ิ งานระดับองค์การ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
วัตถุประสงค์ของการฝึ กอบรม เรื่อง
แผนที่ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Map) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552
1) ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมสามารถใช้เครือ่ งมือการวินิจฉัยองค์การ (Organization
Diagnosis Tools) เพือ่ การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategies)
2) ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมอบรมเกิดความเข้าใจ สามารถสร้างแผนทีย่ ทุ ธศาสตร์
(Strategy Map) ทีส่ ะท้อนบริบทขององค์การอย่างแท้จริง และเพือ่ เป้าหมายใน
การสือ่ สารและพัฒนาองค์การ
3) ผูเ้ ข้าอบรมเห็นความเชื่อมโยงระหว่างแผนทีย่ ทุ ธศาสตร์ การนายุทธศาสตร์ไป
ปฏิบตั ริ ะบบการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และระบบงบประมาณ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
เครื่องมือมากมายขนาดนี้ แล้วจะ
นามาเชื่อมโยงกันอย่างไรดี???
PMQ
A
PMS
PDCA
PA
HPO
Strategy
Map
GSM
S
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
KPIs
การจัดทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์เพื่อการพัฒนาองค์การ
การพัฒนาองค์การ
(Organization Development: OD)
การมองอย่างเป็ นระบบ
(Systematic Approach)
การวินิจฉัยองค์ การ
การกาหนดเป้าหมายองค์ การ
การวางแผนยุทธศาสตร์
การบริหารผลการปฏิบตั ิ งาน
(Performance Management: PM)
การประเมินผลการปฏิบัติงานองค์ การและการให้ ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
การจัดทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
+
เครื่องมือการบริหารอื่นๆ
การบริหารผลการปฏิบตั ิ งาน (Performance Management)
การวางแผน
ผลการ
ปฏิบัตงิ าน
การปรับปรุงผลการปฏิบัตงิ าน
การปรับปรุง
อย่างต่อเนื่อง
ผลงานหลักที่
ต ้องจัดการ
การปรับเปลีย
่ นหรือรือ
้ ระบบ
การทบทวนผล
การปฏิบัตงิ าน
การวัดผลการ
ปฏิบต
ั งิ าน
การ
ประเมินผล
การปฏิบต
ั งิ าน
ข ้อกาหนดจากภายนอก
ั ทัศน์
วิสย
ยุทธศาสตร์
ี
ผู ้มีสว่ นได ้เสย
ลูกค ้า
ผลงานทีอ
่ ้างอิง
- การเทียบเคียงผลการ
ปฏิบต
ั งิ าน
-การตรวจสอบจากภายนอก
- ผลการสารวจจากลูกค ้า
- การวิเคราะห์คแ
ู่ ข่ง
การประเมิน
ตนเอง
(SAR)
PM: Planning, improvement, and review (Bredrup, 1995a)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ความแตกต่างระหว่างการวัดและการประเมิน
การวัด (Measurement) หมายถึง การหา
ขนาด ปริมาณ จานวน หรือระดับของสิง่ ต่างๆ
โดยมีมาตรวัดหรือหน่วยในการวัด
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
การประเมิน (Evaluation) หมายถึง การใช้ดุลย
พินิจหรือค่านิยมและข้อจากัดต่างๆ ในการพิจารณา
ตัดสินคุณค่าของสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง โดยการเปรียบเทียบ
กับเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้
การบริหารยุทธศาสตร์ระดับองค์การ
การวินิจฉัยองค์ การ
การกาหนดเป้าหมายองค์ การ
การวางแผนยุทธศาสตร์
การประเมินผลการปฏิบัตงิ านองค์ การและการให้ ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
การกาหนดเป้ าหมายองค์การ
การวินิจฉัยองค์ การ
การกาหนดเป้าหมายองค์ การ
การวางแผนยุทธศาสตร์
การประเมินผลการปฏิบัตงิ านองค์ การและการให้ ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ชวนท่ านคิด: เมื่อกล่ าวถึงเป้าหมายขององค์ การแต่ ละประเภทเหล่ านี ้
ท่ านนึกถึงองค์ การใดบ้ าง???
องค์การแห่งการเรียนรู้?
(Learning Organization)
องค์การแห่งนวัตกรรม?
(Innovative Organization)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
องค์การที่มีขีดสมรรถนะ
สูง?
(High Performance
Organization)
องค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง หมายถึง HPO is…
“องค์การทีส่ ามารถเข้าใจ และเข้าถึงตลาดก่อนองค์การ
อื่น สามารถรักษาพนักงานทีม่ คี วามสามารถสูง และ
สามารถรับมือกับแรงกดดันต่างๆได้จากภายในและ
ภายนอกองค์การได้ด”ี Frank Buytendijk (2006)
“องค์การทีส่ ามารถสร้างผลงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง
ในขณะทีพ่ นักงานมีความพึงพอใจ และมีความมุง่ มันต่
่ อ
ความสาเร็จสูงเช่นกัน” Ken Blanchard (2007)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
คุณลักษณะขององค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง
(HPO Characteristics)
1.
2.
3.
4.
5.
เอกชน
ตัง้ เป้าหมายทีท่ า้ ทายและแสวงหาแนวทางในการบรรลุเป้า
(Setting ambitious targets and achieving them)
คนในองค์การมีคา่ นิยมร่วม (Shared Values)
มุง่ เน้นยุทธศาสตร์และการดาเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน
(Strategic Focus and Alignment)
แปลงยุทธศาสตร์ไปสูส่ งิ่ ทีส่ ามารถเข้าใจและปฏิบตั ไิ ด้
(Translating Strategy into Operational Terms)
มีความยืดหยุน่ ทางธุรกิจ (Business Agility)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
“องค์การทีป่ ระสบความสาเร็จอย่างต่อเนื่อง มีผลงานโดดเด่น
เป็ นทีย่ อมรับในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน สร้างผลตอบแทนทางธุรกิจ
และผลตอบแทนต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างยังยื
่ น และมีความสามารถเด่นชัด
ในการสร้างมาตรฐานการทางานทีเ่ ป็ นเลิศเพือ่ สร้างและธารงไว้ใน
ความสามารถทางการแข่งขันทีเ่ หนือกว่า”
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
คุณลักษณะขององค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง
(HPO Characteristics)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ราชการ
มุง่ เน้นทีผ่ รู้ บั บริการ (Client-centered)
มุง่ เน้นผลผลิตและผลลัพธ์ (Outcome Oriented)
มีความรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธิ์ของงาน (Accountable)
มีความคิดสร้างสรรค์และมีความยืดหยุน่ (Innovative & Flexible)
พร้อมทีจ่ ะทางานร่วมกับหน่วยงานอื่น (Open and Collaborative)
มีความมุง่ มัน่ (Passionate)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
การบริหารจัดการเพื่อมุ่งสู่
1. การวางยุทธศาสตร์และนโยบาย (Strategic and Policy Making)
2. การออกแบบองค์การและกระบวนการทางาน
(Organization and Process Design)
3. การบริหารผลการปฏิบตั ิ งาน (Performance Management)
4. การมีพนั ธมิตรและเครือข่าย (Partnering)
5. การดาเนินงานทีด่ ี (Operations)
6. การตลาดและการสร้างความสัมพันธ์ทด่ี กี บั ลูกค้า (Marketing and CRM)
7. การจัดหาและการขนส่ง (Procurement and Logistics)
8. การบริหารทุนมนุษย์ (Human Capital Management)
9. การบริหารข้อมูลสารสนเทศ (Information Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
Jane C. Linder &
Jeffrey D. Brooks (2004)
กรณี ศึกษาที่ 1: การดาเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน
ทีด่ ขี น้ึ ของสานักงาน ก.พ.ร. ช่วงปีพ.ศ. 2546-2548 พิจารณาตามแนวคิด
การบริหารผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ การพัฒนาองค์การ
การพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนทีด่ ขี น้ึ ก.พ.ร. ได้กาหนดเป้าหมายไว้ในแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2550) ดังนี้
1.ประชาชนร้อยละ 80 โดยเฉลีย่ มีความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของหน่วยงาน
ราชการ
2.ขันตอนและระยะเวลาการปฏิ
้
บตั ริ าชการเพือ่ ให้บริการประชาชนลดลงได้มากกว่าร้อยละ
50 โดยเฉลีย่ ภายในปี พ.ศ. 2550
ลดระยะเวลา
การปฏิบตั ิ ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ความพึงพอใจ
ของผูร้ บั บริการ
กรณี ศึกษาที่ 1: การดาเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน
ทีด่ ขี น้ึ ของสานักงาน ก.พ.ร. ช่วงปีพ.ศ. 2546-2548 พิจารณาตามแนวคิด
การบริหารผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ การพัฒนาองค์การ
ลดระยะเวลา
การปฏิบต
ั ริ าชการ
ความพึงพอใจ
ของผู ้รับบริการ
KPI: ร ้อยละของระยะเวลา
ในการปฏิบต
ั ริ าชการทีล
่ ดลง
KPI: ร ้อยละของความพึงพอใจ
ในคุณภาพการให ้บริการ
ประชาชน
Target: มากกว่าร ้อยละ 50
Target: ร ้อยละ 80
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กรณี ศึกษาที่ 1: การดาเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน
ทีด่ ขี น้ึ ของสานักงาน ก.พ.ร. ช่วงปีพ.ศ. 2546-2548 พิจารณาตามแนวคิด
การบริหารผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ การพัฒนาองค์การ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กรณี ศึกษาที่ 1: การดาเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน
ทีด่ ขี น้ึ ของสานักงาน ก.พ.ร. ช่วงปีพ.ศ. 2546-2548 พิจารณาตามแนวคิด
การบริหารผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ การพัฒนาองค์การ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
จากข้อมูลในกรณี ศึกษาที่ 1
ท่านจะวิเคราะห์เหตุการณ์และให้ข้อเสนอแนะกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ตามแนวคิดการบริหารผลการปฏิบตั ิ งานเพื่อการพัฒนาองค์การ
ได้อย่างไรบ้าง?
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
การวินิจฉัยองค์การ
การวินิจฉัยองค์ การ
การกาหนดเป้าหมายองค์ การ
การวางแผนยุทธศาสตร์
การประเมินผลการปฏิบัตงิ านองค์ การและการให้ ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
การวินิจฉัยองค์การ (Organization Diagnosis) คือ กระบวนการ
ทาความเข้าใจการทางานของระบบงานต่างๆภายในองค์การ โดยการ
เก็บ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มูล เพือ่ หาแนวทางในการปรับปรุง
เปลีย่ นแปลงองค์การ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
เครื่องมือการวินิจฉัยองค์การ:
การวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็งขององค์การ (SWOT Analysis)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
เครื่องมือการวินิจฉัยองค์การ:
ปัจจัยการวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็งขององค์การ (SWOT Analysis)
C-PEST
C – Customers,
Competitors
P – Politics
E – Environment,
Economics
S – Society
T – Technology
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
S
S
S
S
S
S
S
7Ss.
– Shared Value
– Structure
– Strategy
– System
– Style
– Staff
- Skill
เครื่องมือการวินิจฉัยองค์การ:
ปัจจัยการวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็งขององค์การ (SWOT Analysis)
The 7Ss.
Framework for Analyzing and Improving Organizations
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวอย่างการวินิจฉัยองค์การ: กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ด้วยการวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็งขององค์การ (SWOT Analysis)
ปัจจัยภายนอก
ปัจจัยภายนอก
ลูกค้า หรือผูร้ บั บริการ
(Customer)
โอกาส
อุปสรรค
1.ประชาชนมีความต้องการในการใช้
บริการของกรมมากยิง่ ขึน้
1.ผูม้ สี ว่ นได้เสียบางส่วนไม่ให้ความ
ร่วมมือในการปฏิบตั งิ านของกรม เมือ่
การปฏิบตั งิ านนัน้ ขัดกับผลประโยชน์ท่ี
ได้รบั
สถานการณ์ทางการเมือง
(Political)
1.กฎหมาย นโยบาย และยุทธศาสตร์
ของกรมและประเทศในการให้
ความสาคัญกับทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
สภาพเศรษฐกิจ/สภาพแวดล้อม
(Economic/Environment)
1.กรมได้รบั งบประมาณสนับสนุนด้าน 1.งบประมาณประเทศให้ความสาคัญ
การพัฒนาบุคลากรจากองค์การระหว่าง ด้านสังคมมากกว่าเศรษฐกิจและ R&D
ประเทศ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
1.มีการเปลีย่ นแปลงนโยบายของรัฐ/
ผูบ้ ริหารเปลีย่ นแปลงบ่อย
2.นโยบายจากัดอัตรากาลังของภาครัฐ
ตัวอย่างการวินิจฉัยองค์การ: กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ด้วยการวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็งขององค์การ (SWOT Analysis)
ปัจจัยภายนอก
ปัจจัยภายนอก
โอกาส
อุปสรรค
สภาพสังคม (Social)
1.องค์การทีเ่ กีย่ วข้องกับ เริม่ เห็น
ความสาคัญของ ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
เช่น การบรรจุเนื้อหาทีเ่ กีย่ วกับ
ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาเข้าในหลักสูตร
การสอน
1.สังคมไทยยังขาดความรูแ้ ละ
ตระหนักด้านทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
2.เทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงรวดเร็ว มี
การละเมิดรูปแบบใหม่ๆ
เทคโนโลยี (Technology)
1.มีระบบ IT ทีท่ นั สมัยรองรับและ
พัฒนางานด้านทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
ได้
1.ขาดการเชือ่ มโยงฐานข้อมูล
เครือ่ งหมายการค้ากับหน่วยงาน
ภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวอย่างการวินิจฉัยองค์การ: กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ด้วยการวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็งขององค์การ (SWOT Analysis)
ปัจจัยภายใน
จุดแข็ง
จุดอ่อน
ยุทธศาสตร์
(Strategy)
1.กรมมีการกาหนดวิสยั ทัศน์
ยุทธศาสตร์และเป้าหมายที่
ชัดเจน
1.ขาดการสือ่ สารวิสยั ทัศน์ ทิศทาง กลยุทธ์อย่าง
ทัวถึ
่ ง
2.การทายุทธศาสตร์ไม่มกี ารทบทวน SWOT ให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลง
โครงสร้างองค์การ
(Structure)
1.กรมมีโครงสร้างและสายการ
บังคับบัญชาทีช่ ดั เจน (งานทีเ่ ป็ น
Function Base)
2.กรมมีกฎหมาย ระเบียบ
กาหนดภาระหน้าทีท่ ช่ี ดั เจน
1.กรมมีภารกิจใหม่ๆ บางเรือ่ งทีม่ กี ารแบ่งงานและ
อานาจไม่ชดั เจน (งานทีเ่ ป็ น Agenda Base)
2.บางหน่วยงานของกรม ยังไม่มกี ารแบ่งสายการ
บังคับบัญชาทีช่ ดั เจน ต้องใช้บุคลากร ร่วมกับ
หน่วยงานอื่น
ระบบองค์การ
(System)
1.กรมมีกฎระเบียบและ
1.กฎหมายบางฉบับทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ านไม่
หลักเกณฑ์ในการปฏิบตั งิ านที่
สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั
ชัดเจน
2.การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีขอ้ ติดขัด
2.กรมมีการใช้ระบบ IT เข้ามาใช้
ในการปฏิบตั งิ านแลติดต่อสือ่ สาร
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวอย่างการวินิจฉัยองค์การ: กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ด้วยการวิเคราะห์จดุ อ่อนจุดแข็งขององค์การ (SWOT Analysis)
ปัจจัยภายใน
ทักษะของ
บุคลากร (Skill)
จุดแข็ง
จุดอ่อน
1.บุคลากรมีความรูแ้ ละ
ประสบการณ์และความชานาญ
เฉพาะด้านสูง
1.ขาดโอกาสในการฝึกอบรมและพัฒนา (เนื่องจาก
เน้นการทางานประจาให้บรรลุ KPI ทาให้โอกาสใน
การพัฒนาตนเอง)
คุณค่าร่วมใน
1.บุคลากรมีความรักและผูกพัน
องค์การ (Shared ในหน่วยงาน
Values)
1.กรมและบุคลากรของกรมยังไม่ให้ความสาคัญกับ
การละเมิดทรัพย์สนิ ทางปญั ญาเท่าทีค่ วร
บุคลากร (Staff)
1.จานวนบุคลากรน้อยไม่สามารถรองรับปริมาณ
งานทีเ่ พิม่ ขึน้
2.ขาดแผนรองรับกรณีบุคลากรเกษียณอายุหรือ
ลาออก
รูปแบบการนา
องค์การ(Style)
1.บุคลากรมีความรับผิดชอบและ
ทุม่ เท
1.มีการกระจายอานาจจาก
ผูบ้ ริหารระดับสูง
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
1.การจัดสรรทรัพยากร (คน,อุปกรณ์,งบประมาณ)
ไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ
2.การมอบหมายงานบางครัง้ ไม่ตรงกับภาระหน้าที่
รับผิดชอบ
กิจกรรมที่ 1: การวินิจฉัยองค์การ
นาข้อมูลที่ท่านได้จากองค์การหรือค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อทาการวิเคราะห์
SWOT Analysis แบบมีประเด็น
ปัจจัยภายนอก
ปัจจัยภายนอก
ลูกค้า หรือผูร้ บั บริการ
(Customer)
สถานการณ์ทางการเมือง
(Political)
สภาพเศรษฐกิจ/สภาพแวดล้อม
(Economic/Environment)
สภาพสังคม (Social)
เทคโนโลยี (Technology)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
โอกาส
อุปสรรค
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายใน
ยุทธศาสตร์
(Strategy)
โครงสร้างองค์การ
(Structure)
ระบบองค์การ
(System)
ทักษะของบุคลากร
(Skill)
คุณค่าร่วมในองค์การ
(Shared Values)
บุคลากร
(Staff)
รูปแบบการนาองค์การ
(Style)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
จุดแข็ง
จุดอ่อน
เครื่องมือการวินิจฉัยองค์การ: TQA/PMQA
เชงิ ยุทธศาสตร์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
เกณฑ์คณ
ุ ภาพการบริหารจ ัดการภาคร ัฐ (PMQA)
P. ลักษณะสาคัญขององค์กร
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน
เชิงยุทธศาสตร์
5. การมุ่งเน้น
ทรัพยากรบุคคล
1. การนา
องค์กร
7. ผลลัพธ์
การดาเนินการ
3. การให้ความสาคัญ
กับผูร้ บั บริการและ
ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
6. การจัดการ
กระบวนการ
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู ้
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวอย่างองค์การที่ใช้ TQA/PMQAเป็ นเครื่องมือการวินิจฉัย
องค์การ: บจก. ชัยบูรณ์ บราเตอร์ส
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวอย่างองค์การที่ใช้ TQA/PMQAเป็ นเครื่องมือการวินิจฉัย
องค์การ: บจก. ชัยบูรณ์ บราเตอร์ส
ประโยชน์ จากการตรวจประเมินองค์การด้วยตนเอง (Self-Assessment)
•ทาให้ผบู้ ริหารองค์การได้ทราบว่าองค์การของตนมีโอกาสในการปรับปรุง
(Opportunity For Improvement: OFI) ในเรือ่ งใดบ้าง
•สามารถกาหนดวิธกี ารและเป้าหมายในการปรับปรุงได้สมบูรณ์มากยิง่ ขึน้
ประโยชน์ จากการนา TQA/PMQA ไปใช้
•เห็นโอกาสทีจ่ ะปรับปรุงมากยิง่ ขึน้
•มุง่ เน้นในเรือ่ งทีส่ าคัญ
•ปรับปรุงงานไปในทิศทางเดียวกัน
•กระตุน้ ให้บุคลากรตื่นตัวและสนใจมากขึน้
•การเรียนรูข้ องแต่ละบุคคลในองค์การดีขน้ึ
•การทางาน/การให้บริการดีขน้ึ
•ประสิทธิภาพและความสามารถขององค์การดีขน้ึ
•ผลการดาเนินงานขององค์การดีขน้ึ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ประโยชน์ ของเกณฑ์คณ
ุ ภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ (PMQA) ที่มีต่อส่วนราชการ
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง
(Self-Assessment)
1
4
ดาเนินการปรับปรุง
บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ
ในการพั
ฒนาระบบราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์
(Strategy
(Management Tools andMap)
Projects)
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและ
2 โอกาสในการปรับปรุง
3
สร้างแผนปรับปรุง
การพัฒนาคุณภาพการ
บริหารจัดการภาครัฐ
Yes
สมัครเข้ารับรางวัล
PMQA
ได้รบั รางวัล และ/หรือได้รบั
การประกาศเกียรติคุณ
No
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง
(Self-Assessment)
1
4
การแบ่งปั นวิธีการปฏิบตั ทิ ี่เป็ น
เลิศ (Best Practice Sharing)
ดาเนินการปรับปรุง
บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ
ในการพั
ฒนาระบบราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์
(Strategy
(Management Tools andMap)
Projects)
ได้รบั รายงานป้อนกลับ
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและ
2 โอกาสในการปรับปรุง
3
สร้างแผนปรับปรุง
การวางแผนยุทธศาสตร์
การวินิจฉัยองค์ การ
การกาหนดเป้าหมายองค์ การ
การวางแผนยุทธศาสตร์
การประเมินผลการปฏิบัตงิ านองค์ การและการให้ ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ปัจจัยที่ขบั เคลื่อนให้องค์การไปสู่ HPO
“ปจั จัยในการขับเคลื่อนให้องค์การไปสูก่ ารเป็ นองค์การที่เป็ นเลิ ศ หรือ HPO ปจั จัยหนึ่งคือ
การมียทุ ธศาสตร์ (Strategy) ที่ดี ในการบริหารยุทธศาสตร์จะต้องพิจารณาว่ายุทธศาสตร์นนั ้
ดี เหมาะสม สามารถสื่อสารได้หรือไม่ โดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ เช่น SWOT Analysis
จากนัน้ ก็กาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ แล้วนามาเขียนเป็ น แผนที่ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Map)
ซึ่งสิ่ งเหล่านี้ กค็ ือ เครื่องมือที่ช่วยให้องค์การมียทุ ธศาสตร์ที่ดีเหมาะสมและสามารถ
สื่อสารได้อย่างชัดเจนยิ่ งขึน้ ”
พสุ เดชะรินทร์ (2550)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
การบริหารยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ คือ สิ่งที่องค์การทาเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ
เราต้องการไปสู่จดุ ไหน (Where
do we want to be?)
ปัจจุบนั เราอยู่ ณ จุดไหน
(Where are we now?)
เราจะไปสู่จดุ นัน้ ได้อย่างไร (How
do we get there?)
เราจะต้องทาหรือปรับเปลี่ยน
อะไรเพื่อไปถึงจุดนัน้ (What do we
have to do or change in order to
get there?)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
การกาหนดวิสยั ทัศน์ และ
ทิศทางขององค์การ
การวินิจฉัยองค์การ
เช่น วิเคราะห์ SWOT
(จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค)
การกาหนดยุทธศาสตร์ (Strategy
Formulation)
การแปลงยุทธศาสตร์ส่กู ารปฏิบตั ิ
(Strategy Execution)
ลักษณะงานในองค์กรที่เป็ นงานเชิงยุทธศาสตร์
งานใหม่ ๆ
ที่จะ
มุ่งเน้ น
งานที่เป็ นการ
พัฒนางาน
ประจา
งานที่ต้องดาเนินการเป็ นปกติ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์
Learning & Growth
Internal Process
Customer
Financial
แผนที่ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Map)
Maximize Shareholder
Value
Meet or Exceed
Commitments
Manage
Investment Base
Customer
Satisfaction and
Loyalty
Service Quality
Competitive Price
Reputation Brand
and Trust
Reliability and
Cost
Excellence
Develop, Acquire
and Retain
Profitable Supply
Position
Priority on Safety
and Environmental
Excellence
Develop, Acquire
and Retain Needed
Skills
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
Profitably Acquire
and Manage
Customer
Effectively
Manage
Risks
Promote
Innovation and
Best Practices
Sharing
Promote
Diversity
ตัวอย่างแผนที่ยทุ ธศาสตร์บริษทั ผลิตสินค้า
กำไรสู งสุ ด
รูปที่ 6.1
ตัวอย่ ำงแผนที่กลยุทธ์
รำยได้ เพิ่ม
รำยได้ เพิ่มจำกลูกค้ ำใหม่
กำรหำลูกค้ ำใหม่เพิ่ม
ต้ นทุนลด
รำยได้ ต่อลูกค้ ำเก่ำเพิ่ม
กำรรักษำลุกค้ ำเก่ำ
ภำพพจน์ ที่ดี
กำรบริกำรที่รวดเร็ว
กำรโฆษณำและประชำสัมพันธ์
กำรสร้ ำงควำมพอใจให้ กบั ลูกค้ ำ
สินค้ ำที่มคี ุณภำพ
กระบวนกำรในกำรให้ บริกำรลูกค้ ำที่
รวดเร็วและถูกต้ อง
บุคลำกรที่มที ักษะ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กระบวนกำรจัดส่ งที่ตรงเวลำ
บุคลำกรมีขวัญและกำลังใจในกำรทำงำน
กระบวนกำรในกำรผลิตที่มปี ระสิทธิภำพ
ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศที่ทันสมัย
กรอบการประเมินผลการปฏิบตั ิ ราชการตามคารับรองการ
ปฏิบตั ิ ราชการของส่วนราชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2552
มิ ติที่ 1 : มิ ติด้านประสิ ทธิ ผล
มิ ติที่ 2 : มิ ติด้านคุณภาพการให้บริ การ
-ผลสาเร็จตามแผนฯ กระทรวง
-ผลสาเร็จตามแผนฯ กลุ่มภารกิจ
-ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ
-การมีส่วนร่วมของประชาชน
-ความเปิดเผย โปร่งใส
-ผลสาเร็จตามแผนฯ/ภารกิจหลัก/เอกสาร
งบประมาณของส่วนราชการระดับกรมหรือ
เทียบเท่า
มิ ติที่ 3 : มิ ติด้านประสิ ทธิ ภาพของการ
ปฏิ บตั ิ ราชการ
มิ ติที่ 4 : มิ ติด้านการพัฒนาองค์การ
- การบริหารจัดการองค์การ
- ประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ
- ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน
- การรักษามาตรฐานระยะเวลาการ
ให้บริการ
- การพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ทีม่ า: สานักงาน
ก.พ.ร.
กระบวนการจัดทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์
1.ยืนยัน
วิสยั ทัศน์
ของ
หน่วยงาน
3. กาหนด
2. ยืนยัน
เป้าประสงค์
ประเด็น
ภายใต้
ยุทธศาสต
ประเด็น
ร์
ยุทธศาสตร์
ของ
วยงาน่ยท
กระบวนการจัดทหน่
าแผนที
ุ ธศาสตร์
ตัวอย่าง
วิสยั ทัศน์ ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
“เป็ นแหล่งสร้างสรรค์และนาองค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีและวัฒนธรรม
เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจ ควบคูก่ บั การเป็ นศูนย์เชือ่ มโยงการคมนาคม
เพือ่ กระจายสินค้าและบริการสูท่ ุกภูมภิ าค”
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กระบวนการจัดทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์
1.ยืนยัน
วิสยั ทัศน์
ของ
หน่วยงาน
3. กาหนด
2. ยืนยัน
เป้าประสงค์
ประเด็น
ภายใต้
ยุทธศาสต
ประเด็น
ร์
ยุทธศาสตร์
ของ
ตัวอย่างกลุ่มหน่จังวยงาน
หวัดภาคกลางตอนบน
วิสยั ทัศน์ “เป็ นแหล่งสร้างสรรค์และนาองค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีและวัฒนธรรม เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจ
ควบคูก่ บั การเป็ นศูนย์เชือ่ มโยงการคมนาคม เพือ่ กระจายสินค้าและบริการสูท่ ุกภูมภิ าค”
ประเด็นยุทธศาสตร์
1. พัฒนาความรูแ้ ละการจัดการทางด้านเทคโนโลยี เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ในการพัฒนาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม
2. การผสมผสานทักษะกับความรูใ้ นการพัฒนาสินค้าเชิงวัฒนธรรมและส่งเสริมการท่องเทีย่ วมรดกโลก
3. สร้างแรงจูงใจและดึงดูดผูเ้ ชีย่ วชาญทัง้ ในและต่างประเทศมาอยูใ่ นพืน้ ที่ เพือ่ ให้เป็ นศูนย์กลางการวิจยั และพัฒนา
4. ศูนย์กลางเชือ่ มโยงรับและกระจายสินค้าระหว่างภาคต่างๆ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กระบวนการจัดทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์
1.ยืนยัน
วิสยั ทัศน์
ของ
หน่วยงาน
กรอบการประเมิ นผลการ
พัฒนาการปฏิ บตั ิ ราชการ
มิตดิ า้ นประสิทธิผล
3. กาหนด
2. ยืนยัน
เป้าประสงค์
ประเด็น
ภายใต้
ยุทธศาสต
ประเด็น
ร์
ยุทธศาสตร์
ของ
หน่วยงาน
ประเด็นคาถามเพื่อช่วยในการกาหนดเป้ าประสงค์
ประสิทธิผล หรือผลลัพธ์ทส่ี าคัญจากประเด็นยุทธศาสตร์นนั ้ คืออะไร อะไรเป็ นเครื่องบ่งชีท้ ่ี
สาคัญว่าประเด็นยุทธศาสตร์นนั ้ ประสบความสาเร็จ
มิตดิ า้ นคุณภาพการให้บริการ อะไรคือสิง่ ทีผ่ รู้ บั บริการของยุทธศาสตร์นนั ้ ต้องการ และจะทราบได้อย่างไรว่าสามารถนาเสนอ
ในสิง่ ทีผ่ รู้ บั บริการต้องการ
มิตดิ า้ นประสิทธิภาพการของ
การปฏิบตั ริ าชการ
ในการทีจ่ ะนาเสนอในสิง่ ทีผ่ รู้ บั บริการต้องการ และ / หรือ การก่อให้เกิดประสิทธิผล องค์การ
ต้องการทรัพยากรอะไรบ้าง (นอกเหนือจากบุคลากร) รวมถึงต้องมีกระบวนการ หรือกิจกรรม
ใดบ้าง เพือ่ นาไปสูส่ งิ่ ทีผ่ รู้ บั บริการต้องการ หรือเพือ่ ก่อให้เกิดประสิทธิผล
มิตดิ า้ นการพัฒนาองค์การ
จะต้องมีการพัฒนาองค์การในด้านใดบ้าง เพือ่ เป็ นการเตรียมความพร้อมขององค์การในการ
ดาเนินงานตามยุทธศาสตร์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
Strategy Map กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน (นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่ างทอง)
วิสัยทัศน์ กลุ่มจังหวัด “เป็ นแหล่ งสร้ างสรรค์ และนาองค์ ความรู้ ด้านเทคโนโลยีและวัฒนธรรม เพือ่ สร้ างมูลค่ าเพิม่ ทางเศรษฐกิจ
ควบคู่กบั การเป็ นศูนย์ เชื่ อมโยงการคมนาคม เพือ่ กระจายสิ นค้ าและบริการสู่ ทุกภูมิภาค”
ประเด็นยุทธศาสตร์ การผลิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ การท่ องเทีย่ ว
ประเด็นยุทธศาสตร์ การวิจยั และพัฒนา
ประเด็นยุทธศาสตร์ การค้ า/การลงทุน
พัฒนาความรู้ และการจัดการทางด้ าน
เทคโนโลยี เพื่อสร้ างมูลค่ าเพิ่มในการพัฒนา
สิ นค้ าเกษตรและอุตสาหกรรม
การผสมผสานทักษะกับความรู้ ใน
การพัฒนาสิ นค้ าเชิ งวัฒนธรรม และ
ส่ งเสริ มการท่ องเที่ยวมรดกโลก
สร้ างแรงจูงใจและดึงดูดผู้เชี่ ยวชาญทั้งใน
และต่ างประเทศมาอยู่ในพืน้ ที่ เพื่อให้ เป็ น
ศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนา
ศูนย์กลางเชื่ อมโยงรั บและกระจายสิ นค้ า
ระหว่ างภาคต่ างๆ
ประสิทธิผล
ตามพันธกิจ
1. มีรายได้เพิ่มขึ้น
3. จานวนนัก
ท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
คุณภาพ
การให้ บริการ
ประสิทธิภาพของ
การปฏิบัตริ าชการ
2. สิ นค้ามีมูลค่าเพิ่ม
8. การถ่ายทอด
ความรู้ที่ตรง
กลุ่มเป้ าหมาย
17. การ
พัฒนา
ความรู้
พัฒนา
องค์ กร
9. การให้บริ การ
ในด้านเครื่ องมือ
ด้านอุตสาหกรรม
สาหรับ
ผูป้ ระกอบการ
18.การส่ งเสริ มความ
ร่ วมมือในด้าน
การเกษตร ระหว่าง
ภาครัฐ องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่น/สถาบัน
เกษตรกร
10. การให้
ข้อมูล
ข่าวสาร
19. สร้าง
กลไก
ในการแลก
เปลี่ยนความรู้
4. ค่าใช้จ่ายจากการ
ท่องเที่ยวต่อหัวเพิ่มขึ้น
5. มีผลงานวิจยั
และพัฒนา
เพิ่มขึ้น
6. ศูนย์กลางทางด้าน
การพัฒนาเทคโนโลยี
ของประเทศไทย
11. นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจ
12. มีแหล่ง
ท่องเที่ยว/
เส้นทาง
ท่องเที่ยว
ใหม่
13. สิ นค้าจากภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นที่มี
คุณภาพและได้
มาตรฐานมากขึ้น
20. การประชาสัมพันธ์
ฒนาระบบบริ หารความรู้
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy27. การพั
Map)
15. อานวย
ความสะดวก
ในการขน
ถ่ายสิ นค้า
14. ผูเ้ ชี่ยวชาญ
มาอยูเ่ พิ่มขึ้น
21.มีโครง
สร้าง
พื้นฐาน
ที่ดี
22.
บ้าน
เมือง
น่าอยู่
23. มี
ความ
ปลอดภั
ย
7. เพิม่ จานวนผูท้ ี่มาลงทุนทางด้าน
การรับและกระจายสิ นค้า
24. มี
มาตร
การ
จูงใจ
28. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
16. ลด
ต้นทุนค่า
ขนส่ ง
25. จัดทาผัง
26. จัดทา DC
ชี้นาการพัฒนา
ที่มีตน้ ทุนต่า
ของกลุ่ม
และอานวย
จังหวัด
ความสะดวก
ประสิทธิผล
ตามพันธกิจ
คุณภาพการ
ให้ บริการ
ประสิทธิภาพการ
ปฏิบัตริ าชการ
การพัฒนา
องค์ การ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กิจกรรมที่ 2: การจัดทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์
ความเชื่อมโยงของแผนที่ยทุ ธศาสตร์ ตัวชี้วดั และแผนงานโครงการ
Strategy Map
Objectives
Financial
Perspective
Customer
Perspective
Internal
Perspective
Learning &
Growth
Perspective
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
Balanced Scorecard
Action Plan
Measure
Target
Initiatives
Budget
ลักษณะของตัวชี้วดั ที่ดี
(Characteristics of a Good Key Performance Indicators)
1.
2.
มีความสอดคล้องกับ วิสยั ทัศน์ ภารกิจ และยุทธศาสตร์ขององค์การ
ควรแสดงถึงสิง่ ทีม่ คี วามสาคัญเท่านัน้ ซึง่ ตัวชีว้ ดั ทีม่ คี วามสาคัญนัน้ จะมี 2 ลักษณะ
ตัวชีว้ ดั ทีแ่ สดงถึงผลการดาเนินงานทีส่ าคัญขององค์การ
ตัวชีว้ ดั ทีใ่ ช้วดั กิจกรรมหรืองานทีม่ คี วามสาคัญแต่อาจจะไม่คอ่ ยผิดพลาด แต่ถา้ กิจกรรม
เหล่านี้มคี วามผิดพลาดเมือ่ ไรจะก่อให้เกิดปญั หาอย่างใหญ่หลวงแก่องค์การ
3. ประกอบด้วยตัวชีว้ ดั ทีเ่ ป็ นเหตุ (Lead Indicators) และ ผล (Lag Indicators)
เช่นการกาหนดตัวชีว้ ดั “ระดับความพึงพอใจของประชาชน” อันเป็ นตัวชีว้ ดั ผล (Lag Indicator)
และ “ร้อยละของขันตอนการท
้
างานทีล่ ดลง” อันเป็ นตัวชีว้ ดั เหตุ (Lead Indicator)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ลักษณะของตัวชี้วดั ที่ดี
(Characteristics of a Good Key Performance Indicators)
4. ประกอบด้วยมิตหิ รือมุมมองทีห่ ลากหลาย เช่น ในการให้บริการมิได้วดั ผลจากการสารวจ
ผูร้ บั บริการเท่านัน้ แต่ควรรวมถึงกระบวนการภายในและการพัฒนาบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องด้วย
5. ตัวชีว้ ดั ทีส่ ร้างขึน้ จะต้องมีบุคคลหรือหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบทุกตัว
6. ตัวชีว้ ดั ทีส่ ร้างขึน้ มา ควรเป็ นตัวชีว้ ดั ทีอ่ งค์การสามารถควบคุมได้อย่างน้อยร้อยละ 80
7. เป็ นตัวชีว้ ดั ทีส่ ามารถวัดได้และเป็ นทีเ่ ข้าใจของบุคคลทัวไป
่
8. การแสดงผลของตัวชีว้ ดั ควรช่วยให้ผบู้ ริหารและบุคลากรสามารถติดตามการเปลีย่ นแปลง
ต่างๆ ได้ดี
5. ตัวชีว้ ดั ทีด่ จี ะต้องไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งภายในองค์การ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวอย่างการกาหนดตัวชี้วดั ระดับองค์การกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
เป้ าประสงค์
ตัวชี้วดั
1. มีรายได้เพิม่ ขึน้
กจว1. ร้อยละของมูลค่าเพิม่ ภาคเกษตร
กจว2. ร้อยละของเงินลงทุนในอุตสาหกรรมทีเ่ พิม่ ขึน้
2. สินค้ามีมลู ค่าเพิม่
กจว4. จานวนสินค้าเกษตรทีผ่ า่ นการแปรรูปทีเ่ พิม่ ขึน้
กจว5. จานวนสินค้าภาคเกษตรทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐาน
3. จานวนนักท่องเทีย่ วเพิม่ ขึน้
กจว6. ร้อยละของนักท่องเทีย่ วทีเ่ พิม่ ขึน้
4. ค่าใช้จา่ ยจากการท่องเทีย่ วต่อหัวเพิม่ ขึน้ กจว7. ค่าใช้จา่ ยต่อหัวทีเ่ พิม่ ขึน้ ของนักท่องเทีย่ ว
5. มีผลงานวิชาการเพิม่ ขึน้
กจว8. ร้อยละของผลงานวิชาการทีเ่ พิม่ ขึน้
6. ศูนย์กลางทางด้านการพัฒนาเทคโนโลยี
ของประเทศไทย
กจว9. จานวนครัง้ ทีม่ กี ารจัดประชุมทางวิชาการในพืน้ ที่
7. เพิม่ จานวนผูท้ ม่ี าลงทุนทางด้านการรับ
และกระจายสินค้า
8. การถ่ายทอดความรูท้ ต่ี รงกลุม่ เป้าหมาย
กจว10. จานวนนักลงทุนรายใหม่ทม่ี าลงทุนทางด้านการรับและกระจาย
สินค้า
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กจว11. จานวนเกษตรกร/ผูป้ ระกอบการด้านการเกษตรทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอด
ความรู้
กจว12. จานวนผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดความรู้
ตัวอย่างการกาหนดตัวชี้วดั ระดับองค์การกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
เป้ าประสงค์
ตัวชี้วดั
9. การให้ขอ้ มูลข่าวสาร
กจว13. ร้อยละของจานวนเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการของจังหวัดทีไ่ ด้รบั
ข้อมูลข่าวสาร
10. นักท่องเทีย่ วมีความพึงพอใจ
กจว14. ร้อยละความพึงพอใจในการท่องเทีย่ ว
11. มีแหล่งท่องเทีย่ ว/เส้นทางท่องเทีย่ วใหม่
12. สินค้าจากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ทีม่ คี ุณภาพ
และได้มาตรฐานมากขึน้
กจว15. จานวนแหล่งท่องเทีย่ วใหม่/เส้นทางท่องเทีย่ วใหม่ทเ่ี กิดขึน้
13. ผูเ้ ชีย่ วชาญมาอยูเ่ พิม่ ขึน้
กจว17. ร้อยละของผูเ้ ชีย่ วชาญทีเ่ ข้ามาอยูใ่ นพืน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้
14. อานวยความสะดวกในการขนถ่ายสินค้า
กจว18. ร้อยละของระยะเวลาทีใ่ ช้ในการขนถ่ายสินค้าทีล่ ดลง
15. ลดต้นทุนค่าขนส่ง
กจว19. ร้อยละของการขนส่งสินค้าทางเรือทีเ่ พิม่ ขึน้
16. การพัฒนาความรู้
กจว20. จานวนสินค้าเกษตรทีไ่ ด้รบั การพัฒนาจากการถ่ายทอดความรู้
17. การส่งเสริมความร่วมมือในด้าน
การเกษตรระหว่างภาครัฐ องค์การปกครอง
ส่วนท้อ่ ยงถิุทน่ ธศาสตร์
/สถาบันการเกษตร
แผนที
(Strategy Map)
กจว21. จานวนความร่วมมือทีเ่ กิดขึน้ ในการพัฒนาการเกษตรระหว่าง
ภาครัฐ องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ /สถาบันการเกษตร
กจว16. จานวนทีเ่ พิม่ ขึน้ ของผลิตภัณฑ์ OTOP ทีไ่ ด้รบั มาตรฐาน 4-5 ดาว
ตัวอย่างการกาหนดตัวชี้วดั ระดับองค์การกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
เป้ าประสงค์
ตัวชี้วดั
17. การส่งเสริมความร่วมมือในด้านการเกษตร
ระหว่างภาครัฐ องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ /
สถาบันการเกษตร
กจว21. จานวนความร่วมมือทีเ่ กิดขึน้ ในการพัฒนาการเกษตรระหว่างภาครัฐ องค์การ
ปกครองส่วนท้องถิน่ /สถาบันการเกษตร
18. การประชาสัมพันธ์
กจว22. ร้อยละของผลสารวจความพึงพอใจในการให้ขอ้ มูลการท่องเทีย่ ว
19. มีโครงสร้างพืน้ ฐานทีด่ ี
กจว23. ร้อยละของผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ คี วามพึงพอใจ
20. บ้านเมืองน่าอยู่
กจว24. จานวนพืน้ ทีส่ เี ขียวทีเ่ พิม่ ขึน้
กจว25. ร้อยละของจานวนครัง้ ในการตรวจสอบคุณภาพทีเ่ ป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนด
กจว26. ร้อยละของสถานบริการด้านการดูแลสุขภาพมีคุณภาพได้มาตรฐาน
21. มีความปลอดภัย
กจว27. จานวนอัตราการเกิดคดีต่อจานวนประชากร
กจว28. อัตราการจับกุมต่อคดีทเ่ี กิดขึน้
22. จัดทาผังชีน้ าการพัฒนาของกลุม่ จังหวัด
กจว29. ระดับความสาเร็จของการดาเนินการจัดทาผังชีน้ าการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด
23. จัดทาศูนย์รบั กระจายและส่งออกสินค้าทีม่ ี
ต้นทุนต่าและอานวยความสะดวก
กจว30. ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนการจัดตัง้ ศูนย์รบั กระจายและ
ส่งออกสินค้าแบบเบ็ดเสร็จ
24. การพัฒนาระบบบริหารความรู้
กจว31. ระดับความสาเร็จของการพัฒนาระบบบริหารความรูใ้ นองค์การ
25. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
กจว32. ระดับความสาเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวอย่างการเขียนแผนงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ของ
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
เป้ าประสงค์
ตัวชี้วดั
เป้ าหมาย
ตัวชี้วดั
หน่ วยงาน
รับผิดชอบหลัก
แผนงาน/โครงการ
12. มีสนิ ค้าจากภูมิ
ปญั ญาท้องถิน่ ทีม่ ี
คุณภาพและได้
มาตรฐานมากขึน้
12.1 จานวนทีเ่ พิม่ ขึน้ ของ
ผลิตภัณฑ์ OTOP ทีไ่ ด้รบั
มาตรฐาน 4-5 ดาว
สานักงานพัฒนา
ชุมชน
- โครงการพัฒนารูปแบบคุณภาพและ
มาตรฐานสินค้า OTOP
15. ลดต้นทุนค่าขนส่ง
15.1 ร้อยละของการขนส่ง
สินค้าทางเรือทีเ่ พิม่ ขึน้
สานักงาน
พาณิชย์
จังหวัด
- โครงการส่งเสริมการสร้างท่าเทียบ
เรือบริเวณลุม่ แม่น้ าเจ้าพระยาเพือ่
เชื่อมโยงการขนส่งทางน้ ากับการ
ขนส่งทางบก
23. จัดทาศูนย์รบั
กระจายและส่งออก
สินค้าทีม่ ตี น้ ทุนต่าและ
อานวยความสะดวก
23.1 ระดับความสาเร็จ
ของการดาเนินงานตาม
แผนการจัดตัง้ ศูนย์รบั
กระจายและส่งออกสินค้า
แบบเบ็ดเสร็จ
สานักงาน
พาณิชย์
จังหวัด
- โครงการศึกษาและออกแบบการ
จัดตัง้ ศูนย์กระจายสินค้าและส่งออก
แบบเบ็ดเสร็จ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ระดับ 3
กิจกรรมที่ 3: การกาหนดตัวชี้วดั องค์การ
เป้ าประสงค์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
ตัวชี้วดั
การประเมินผลการปฏิบตั ิ งานระดับองค์การ
การวินิจฉัยองค์ การ
การกาหนดเป้าหมายองค์ การ
การวางแผนยุทธศาสตร์
การประเมินผลการปฏิบัตงิ านองค์ การและการให้ ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
Reporting and Feedback: Monthly Scorecard Summary
Financial
Maximize Shareholder
Value
Meet or Exceed
Commitments
J
Manage
Investment Base
J
K
Learning & Growth Internal Process
Customer
Customer
Satisfaction and
Loyalty
Service Quality
J
L
Position
Priority on Safety
and Environmental
J
Develop, Acquire
and Retain Needed
Skills
J
K
L
Develop, Acquire
and Retain
Profitable Supply
Reliability and
Cost
Excellence
Excellence
Competitive Price
Reputation Brand
and Trust
J
Illustrative
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
Profitably Acquire
and Manage
J
Customer
Effectively
Manage
Risks
L
Promote
Innovation and
Best Practices
Sharing
J
K
Legend
JAbove Target [Green]
KOn Track (within limits) [Yellow]
LSignificantly below target [Red]
Promote
Diversity
K
KPIs Cockpit
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กิจกรรมที่ 4: แลกเปลี่ยนประสบการณ์
การทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์ในองค์การของท่าน
ขอให้ผเู้ ข้าร่วมฝึ กอบรมแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน
แต่ละกลุ่มย่อย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหา
อุปสรรค และวิธีการแก้ไขปัญหาในการทาแผนที่
ยุทธศาสตร์ในองค์การของท่าน
ตัวแทนกลุ่มย่อย นาเสนอ 3 ปัญหาที่สาคัญและแนว
ทางการแก้ไขปัญหาที่ประสบความสาเร็จหน้ าห้อง
ฝึ กอบรม
วิทยากร สรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาใน
การทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์ของผูเ้ ข้าร่วมฝึ กอบรม
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
กิจกรรมที่ 4: แลกเปลี่ยนประสบการณ์
การทาแผนที่ยทุ ธศาสตร์ในองค์การของท่าน
แผนที่ยทุ ธศาสตร์: กลุ่มที่ …….
ปัญหา/อุปสรรค
1.
2.
3.
4
5.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)
แนวทางการแก้ไขปัญหา
1.
2.
3.
4
5.
ถาม-ตอบ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)