SWOT Analysis

Download Report

Transcript SWOT Analysis

SWOT
Analysis
SWOT
เป็ นวิธีการหรือเครื่องมือในการ
วิเคราะห์ องค์ กรเพือ่ การวางแผนในการ
กาหนดกลยุทธ์ ขององค์ กร
การวางแผนยุทธศาสตร์ หรือ การวางแผนกลยุทธ์
(Strategic Planning)
เป็ นกระบวนการตัดสิ นใจเพื่อกาหนดทิศทาง
ในอนาคตขององค์กร โดยกาหนดสภาพการณ์ใน
อนาคตที่ ต ้อ งบรรลุ แ ละก าหนดแนวทางในการ
บรรลุสภาพการณ์ที่กาหนดบนพื้นฐานข้อมูลที่รอบ
ด้านอย่างเป็ นระบบ
การวางแผนยุทธศาสตร์ จะต้ องตอบคาถาม
หลัก 3 ประการ
1. องค์กรกาลังจะก้าวไปทางไหน
(Where are you going?)
2. สภาพแวดล้อมเป็ นอย่างไร
(What is the environment?)
3. องค์กรจะไปถึงจุดหมายได้อย่างไร
(How do you get there?)
องค์ ประกอบของ SWOT
SWOT
เป็ นคาย่อมาจากคาว่า
Strengths จุดแข็ง
Weaknesses จุดอ่อน
Opportunities โอกาส
Threats อุปสรรค
Strengths
จุดแข็ง หมายถึง ความสามารถและ
สถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็ นบวก ซึ่ ง
องค์กรนามาใช้เป็ นประโยชน์ในการทางาน
เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ หรื อหมายถึง การ
ดาเนินงานภายในที่องค์กรทาได้ดี
Weaknesses
จุดอ่อน หมายถึง สถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็ น
ลบและด้อยความสามารถ ซึ่ งองค์กรไม่
สามารถนามาใช้เป็ นประโยชน์ในการ
ทางานเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ หรื อ
หมายถึง การดาเนินงานภายในที่องค์กร
ทาได้ไม่ดี
Opportunities
โอกาส หมายถึง ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอก
ที่เอื้ออานวยให้การทางานขององค์กร
บรรลุวตั ถุประสงค์ หรื อหมายถึง
สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็ นประโยชน์
ต่อการดาเนินการขององค์กร
Threats
อุปสรรค หมายถึง ปัจจัยและสถานการณ์
ภายนอกที่ขดั ขวางการทางานของ
องค์กรไม่ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ หรื อ
หมายถึงสภาพแวดล้อมภายนอกที่
เป็ นปั ญหา ต่อองค์กร
ความสาคัญของ SWOT
1. SWOT จาเป็ นต้องทาในทุกหน่วยงาน
2. SWOT นาไปสู่ความสาเร็ จ / ความล้มเหลว
ของแผนงาน โครงการที่จะเกิดขึ้น
3. SWOT เป็ นกระบวนการพลวัตร
ความสาคัญของ SWOT
4. SWOT เป็ นการสร้างภูมิคุม้ กันแก่หน่วยงาน
5. SWOT เป็ นการทาประชาพิจารณ์หน่วยงาน
อย่างเป็ นวิชาการ
6. SWOT หน่วยงาน นาไปสู่ SWOT บุคคล
เครื่องมือและเทคนิค SWOT Analysis
1.เป็ นการวิเคราะห์สภาพการณ์
2. SWOT Analysis จะครอบคลุมขอบเขต
ของปัจจัยที่กว้าง
3. การให้น้ าหนัก (Weight)
4. การให้คะแนน(Rating)
คุณลักษณะ ของกระบวนการวิเคราะห์
ด้ วยเทคนิค SWOT
1.
2.
3.
4.
การมีส่วนร่ วมทุกระดับ
กระบวนการเรียนรู้
การใช้ เหตุผล
การใช้ ข้อมูล
คุณลักษณะ ของกระบวนการวิเคราะห์
ด้ วยเทคนิค SWOT
5. การกระตุ้นให้ คดิ และเปิ ดเผยประเด็นที่
ซ่ อนเร้ น
6. การเป็ นเจ้ าของและพันธสั ญญา
7. การปฏิบัติทันที โดยเฉพาะอย่ างยิง่ การแก้ไข
ปัญหาเร่ งด่ วนที่เป็ น
การวิเคราะห์ SWOT
(SWOT Analysis)
l
การวางแผนยุทธศาสตร์
1. กำหนดวิสยั ทัศน์ (Vision)
SWOT
2. พันธกิจ (Mission)
3. เป้ำประสงค์ (Goal)
4. ประเด็นยุทธศำสตร์ (Strategic Issue)
5. ตัวชี ้วัด (KPI)
6. เป้ำหมำย (Target)
7. กลยุทธ์ (Strategy)
ความสาเร็จของ“ยุทธศาสตร์ ”
เราต้องการไปสู่จุดไหน
(Where do we
want to be?)
ปั จจุบนั เราอยู่ ณ จุดไหน
(Where are we
now?)
การกาหนดวิสยั ทัศน์และ
ทิศทางขององค์การ
การวินิจฉัยองค์การ เช่น
วิเคราะห์ SWOT
(จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส
อุปสรรค)
ความสาเร็จของ“ยุทธศาสตร์ ”
เราจะไปสู่จุดนั้นได้
อย่างไร
(How do we
get there?)
การกาหนดยุทธศาสตร์
(Strategy
Formulation)
ความสาเร็จของ“ยุทธศาสตร์ ”
เราจะต้องทาหรื อ
ปรับเปลี่ยนอะไรเพื่อไป
ให้ถึงจุดนั้น
(What do we
have to do or
change in
order to get)
การแปลงยุทธศาสตร์สู่
การปฏิบตั ิ
(Strategy
Execution)
การวิเคราะห์ ปัจจัยภายใน
Strengths
Weaknesses
McKinsey 7-S Framework
S – Strategy
S – Structure
S – Systems
S – Skills
S – Shared values
S – Staff
S – Style
กล่ ุมทีเ่ ป็ นรูปธรรม
• Strategy
• Structure
• Systems
พิจารณาได้จาก วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์
ระบบงานต่างๆ โครงสร้างองค์กร
กล่ ุมทีเ่ ป็ นรูปธรรมน้ อยกว่ า
• Skills
• Shared Value
• Staffs
• Style
การวิเคราะห์ ปัจจัยภายนอก
Opportunity
Threat
C - PEST
• C – Customer, Competitors
• P – Politics
• E – Environment, Economics
• S – Society
• T – Technology
ตัวอย่ าง
การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน
(SWOT Analysis)
ของโรงเรี ยนเป็ นเลิศวิทยา ซึ่งมีเป้ าหมายที่จะ
พัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นโรงเรี ยนมาตรฐานสากล
(World Class Standard School)
ตัวอย่ างการวิเคราะห์ ปัจจัยภายในด้ วยหลัก 7Ss.
ปัจจัยภายใน
ยุทธศาสตร์
(Strategy)
จุดแข็ง
จุดอ่อน
1. ขาดการสื่ อสาร
1. สถานศึกษามีการ
กาหนดวิสยั ทัศน์
วิสยั ทัศน์ และ
ยุทธศาสตร์และเป้ าหมาย
ทิศทางยุทธศาสตร์
ที่ชดั เจน และสอดคล้อง
อย่างทัว่ ถึง
กับแนวทางของ
2. การทายุทธศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
ไม่มีการทบทวน
SWOT ให้
สอดคล้องกับ
สถานการณ์ที่
เปลี่ยนแปลง
ปัจจัยภายใน
โครงสร้างองค์การ
บริ หารงานของ
สถานศึกษา
(Structure)
จุดแข็ง
จุดอ่ อน
1. สถานศึกษามี
1. สถานศึกษามี
โครงสร้างและสาย
โครงการใหม่ๆที่มี
การบังคับบัญชาที่
การแบ่งงานและ
ชัดเจน
อานาจไม่ชดั เจน
2. สถานศึกษามี
2. บางงานของ
ระเบียบการทางาน
โรงเรี ยนยังไม่มี
และมีการกาหนด
การแบ่งสายการ
ภาระหน้าที่ของแต่
บังคับบัญชาที่
ละงานอย่างชัดเจน
ชัดเจน ต้องใช้
บุคลากร ร่ วมกับ
งานอื่น
ปัจจัยภายใน
ระบบองค์การ
(System)
จุดแข็ง
จุดอ่ อน
1. สถานศึกษามี
1. ระเบียบบางอย่าง
กฎระเบียบและ
ที่ใช้ในการ
หลักเกณฑ์ในการ
ปฏิบตั ิงานไม่
ปฏิบตั ิงานที่
สอดคล้องกับ
ชัดเจน
สถานการณ์
ปัจจุบนั
2. สถานศึกษามีการ
ใช้ระบบ IT เข้า 2. การประสานงาน
มาใช้ในการ
ระหว่างหน่วยงาน
ปฏิบตั ิงานและ
ในโรงเรี ยนมีขอ้
ติดต่อสื่ อสาร
ติดขัด
ปัจจัยภายใน
ทักษะของบุคลากร
(Skill)
จุดแข็ง
จุดอ่ อน
1. บุคลากรส่ วนมาก 1. ขาดการฝึ กอบรม
มีความรู ้และ
และพัฒนา
ประสบการณ์ใน
บุคลากร
วิชาชีพครู มานาน 2. บุคลากรส่ วนมาก
ใช้วิธีการสอน
แบบเก่า ทาให้
นักเรี ยนเกิดความ
เบื่อหน่ายในการ
เรี ยน
จุดแข็ง
จุดอ่ อน
ปัจจัยภายใน
คุณค่าร่ วมในองค์การ 1. ครู มีความรักและ 1. ครู ไม่มีการ
ผูกพันในวิชาชีพ
แบ่งปันและ
(Shared
และโรงเรี ยน
ถ่ายทอด
Values)
เนื่องจาก
ประสบการณ์การ
ปฏิบตั ิงานมานาน
สอนให้กบั ครู รุ่น
และครู ส่วนมาก
ใหม่ๆ ทาให้การ
เป็ นคนในชุมชน
สอนของครู รุ่น
ใหม่มีคุณภาพ
น้อยลง
ปัจจัยภายใน
บุคลากร
(Staff)
จุดแข็ง
จุดอ่ อน
1. ครู มีความ
1. จานวนบุคลากร
รับผิดชอบและ
น้อยไม่สามารถ
ทุ่มเทในการ
รองรับโครงการ
ปฏิบตั ิงานอย่าง
ต่างๆที่เพิม่ ขึ้น
เต็มความสามารถ 2. ขาดแผนบุคลากร
รองรับกรณี
บุคลากร
เกษียณอายุหรื อ
ลาออก
ปัจจัยภายใน
จุดแข็ง
รู ปแบบการนาองค์การ 1. มีการกระจาย
อานาจจาก
(Style)
ผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษา
จุดอ่ อน
1. การจัดสรร
ทรัพยากร (คน
อุปกรณ์
งบประมาณ) ไม่
เหมาะสมและไม่
เพียงพอ
2. การมอบหมายงาน
บางครั้งไม่ตรงกับ
ภาระหน้าที่
รับผิดชอบ
การวิเคราะห์ ปัจจัยภายนอกด้ วยหลัก C - PEST
ปัจจัยภายนอก
โอกาส
อุปสรรค
ลูกค้าหรื อ
1. ผูป้ กครองและ
1. ผูน้ าชุมชน และผูม้ ีส่วน
ผูร้ ับบริ การ
นักเรี ยนมีความ
ได้เสี ยบางส่ วนไม่ให้
ต้องการที่จะศึกษา
ความร่ วมมือในการ
(Customer)
ในโรงเรี ยนเป็ น
ปฏิบตั ิงานของ
เลิศวิทยามากขึ้น
สถานศึกษา โดยเฉพาะ
เมื่อเรื่ องนั้นขัดกับ
ผลประโยชน์ของตน
2. ผูป้ กครองไม่มีเวลาเข้า
ร่ วมกิจกรรมของ
โรงเรี ยน
ปัจจัยภายนอก
สถานการณ์ทางการเมือง
(Political)
โอกาส
อุปสรรค
1. กระทรวงศึกษาธิการ 1. นายกองค์การบริ หาร
มีนโยบายด้านการ
ส่ วนจังหวัดมักจะ
พัฒนาโรงเรี ยนให้
สนับสนุนเฉพาะ
เป็ นโรงเรี ยน
โรงเรี ยนที่มีส่วนได้
มาตรฐานสากล
เสี ยกับการดารง
ตาแหน่งทางการเมือง
2. นายกองค์การบริ หาร
ส่ วนจังหวัดมี
2. นโยบายจากัด
นโยบายสนับสนุน
อัตรากาลังของ
โรงเรี ยนในจังหวัดที่
ภาครัฐ ทาให้ขาด
สามารถทาชื่อเสี ยง
บุคลากรสถานศึกษา
ให้กบั จังหวัดได้
ที่มีความเชี่ยวชาญ
เฉพาะด้าน
ปัจจัยภายนอก
โอกาส
อุปสรรค
สภาพเศรษฐกิจ
1. สถานศึกษาสามารถ 1. สภาพการเจริ ญเติบโตทาง
ระดมทุนจาก
เศรษฐกิจที่ถูกชะลอตัวจาก
(Economic)
หน่วยงานภายนอก
ภาวะทางเศรษฐกิจและ
ได้มาก
การเมืองในปัจจุบนั ทาให้
ผูป้ ระกอบการมีรายได้นอ้ ยลง
2. มีงบประมาณของ
องค์การบริ หาร
2. คนในชุมชนมีค่าครองชีพ
ส่ วนจังหวัดด้าน
เพิ่มขึ้นเนื่องจากผลกระทบ
การศึกษา
ทางเศรษฐกิจทาให้โรงเรี ยน
ไม่สามารถเก็บเงิน
ค่าธรรมเนียมพิเศษอื่นๆจาก
ผูป้ กครองได้อย่างเต็มที่
ปัจจัยภายนอก
สภาพแวดล้อม
(Environment)
โอกาส
อุปสรรค
1. ชุมชนโดยรอบ
1. มีจานวนเด็กวัยเรี ยน
โรงเรี ยนเป็ นชุมชน
อาศัยอยูใ่ นชุมชน
ขนาดเล็กหลาย
เป็ นจานวนมากทา
ชุมชนรวมตัวกัน
ให้มีโอกาสเกิด
เป็ นชุมชนขนาด
แหล่งมัว่ สุ มของ
ใหญ่ คนในชุมชน
วัยรุ่ นได้ง่าย
จึงมีความสัมพันธ์
อันดีต่อกันและให้
ความช่วยเหลือกัน
อย่างเต็มที่
ปัจจัยภายนอก
สภาพสังคม
(Social)
โอกาส
อุปสรรค
1. ผูน้ าชุมชนให้
1. ผูป้ กครองไม่มีเวลา
ความสาคัญกับการ
ให้กบั ลูก ทาให้เด็ก
เฝ้ าระวังพฤติกรรม
ขาดความอบอุ่นและ
ไม่เหมาะสมของ
ก่อให้เกิดปัญหา
เยาวชนและมีการ
เยาวชน
ควบคุมแหล่งบันเทิง 2. ครอบครัวไม่มี
ต่างๆในชุมชนที่อาจ
จิตวิทยาในการอบรม
ก่อให้เกิดปัญหา
ลูก ทาให้เกิดปัญหา
เยาวชนได้
ด้านพฤติกรรม
เยาวชน
ปัจจัยภายนอก
โอกาส
อุปสรรค
เทคโนโลยี
1. สถานศึกษามีระบบ 1. สถานศึกษาขาด
บุคลากรที่เชี่ยวชาญ
(Technological)
IT ที่ทนั สมัย
รองรับและพัฒนา
ด้านเทคโนโลยีตอ้ ง
งานการบริ หาร
ใช้การจ้างพนักงาน
สถานศึกษาได้
คอมพิวเตอร์
2. ขาดการเชื่อมโยง
ฐานข้อมูลของ
สถานศึกษากับ
สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
ข้ อควรระวัง
• SWOT Analysis มีความสามารถในการ
วิเคราะห์ดว้ ยตัวเอง
• Fact ขึ้นอยูก่ บั การป้ อนข้อมูลเข้าไปในการ
วิเคราะห์เท่านั้น หากป้ อนข้อมูลไม่เพียงพอ
หรื อไม่ถูกต้อง เครื่ องมือนี้กไ็ ม่สามารถทาการ
วิเคราะห์ได้ดี ดังนั้นการป้ อนข้อมูลจึงต้องมีมาก
เพียงพอในการวิเคราะห์
• SWOT Analysis ควรใช้เฉพาะการ
วิเคราะห์ระดับองค์การเท่านั้น
• Fact เครื่ องมือนี้ควรใช้ในทุกระดับของ
องค์การ (ระดับหน่วยงาน หรื อ SBU:
Strategic Business Unit) ผูบ้ ริ หาร
ควรจัดทาเป็ นการวิเคราะห์ในทุกระดับอย่างเป็ น
ลาดับต่อเนื่อง (Series of SWOT
Analysis)
• SWOT Analysis เป็ นกำรทำเพื่อค้ นหำ
สภำวะกำรแข่งขันหรื อจัดทำยุทธศำสตร์ ใน
ปั จจุบนั เท่ำนัน้
• Fact ทังที
้ ่เครื่ องมือนี ้ควรใช้ ในกำรมองอนำคต
เพื่อกำรบริหำรกำรเปลี่ยนแปลงที่เหมำะสมกับ
องค์กำร
• SWOT Analysis ถูกจัดทำขึ ้นโดยไม่มี
ควำมสัมพันธ์กบั ยุทธศำสตร์ ขององค์กำรเลย
• Fact ทังที
้ ่กำรกำหนดยุทธศำสตร์ แต่ละครัง้
มักขึ ้นอยูก่ บั ควำมสำเร็จที่แตกต่ำงกันของจุด
แข็งและโอกำสที่ค้นพบ ผู้บริหำรจึงควร
เชื่อมโยงยุทธศำสตร์ ที่กำหนดกับผลที่ได้ จำก
SWOT Analysis ด้ วย
• SWOT Analysis จัดทำขึ ้นโดยขำดกำร
เทียบเคียง (Benchmark) กับภำยนอก
• Fact ทำให้ กำรกำหนดยุทธศำสตร์ บำงครัง้ ไม่
สำมำรถนำมำซึง่ ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันได้
เช่นขำกข้ อมูลกำรให้ บริกำรของภำคเอกชน มำ
เทียบเคียงกับงำนบริกำรภำครัฐ
• SWOT Analysis จัดทำขึ ้นโดยกำร
เทียบเคียง(Benchmark) เฉพำะ
ภำยในประเทศเท่ำนัน้
• Fact แต่ขำดกำรเทียบเคียงกับโลกภำยนอก
ทำให้ กำรพัฒนำงำนส่งผลถึงกำรพัฒนำ
ประเทศนันไม่
้ สำมำรถสร้ ำงควำมสำมำรถใน
กำรแข่งขันได้
ขั้นตอนในการประเมินสภาพโรงเรียน
1. สร้ างความเข้ าใจและจัดประชุมกลุ่มใหญ่ กลุ่ม
ย่ อย ใช้ เทคนิคระดมสมอง
2. ได้ ประเด็นตัวชี้วดั นามาจัดกลุ่ม แบ่ งหมวดหมู่
ประเด็นต่ างๆตาม S-T-E-P และ 2S4M
3. กาหนดนา้ หนักคะแนนด้ านปัจจัยภายนอกและ
ปัจจัยภายใน
4. กาหนดนา้ หนักแต่ ละประเด็นย่ อย
(ต่ อ)
5. นาแต่ ละประเด็นตัวชี้วดั มาประเมิน..โดยให้ แต่
ละคนประเมิน
6.นาแต่ ค่ามาสรุปตารางรวม ด้ านปัจจัยภายนอก
และปัจจัยภายในวิเคราะห์ หาค่ าเฉลีย่ และค่ าเฉลีย่
ตามนา้ หนักคะแนน
7. สร้ างกราฟและแปลความหมายจากกราฟ
วิเคราะห์ ผล
2. ประเด็นตัวชีว้ ัด ทางด้ านภายนอก S-T-E-P
ผล...จากการประชุมกลุ่ม
กำรคมนำคม กำรสื่อสำร สะดวก
ไม่มีควำมรู้ในกำรผลิตคิดค้ นทำงเทคโนโลยี
แยกประเด็นตัวชี้วดั S-T-E-P
มีอะไรเป็ นโอกาส-อุปสรรค
ตัวอย่ างเช่ น ทางด้าน S-สังคมและวัฒนธรรม
1.การตั้งถิน่ ฐาน มั่นคง ไม่ มีการอพยพ
(โอกาส)
2.มีการติดต่ อสื่ อสาร และการคมนาคมสะดวกสบาย
(โอกาส)
3.ประชากรเป็ นอยู่ทดี่ ี มีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี มีความสุ ข
(โอกาส)
4. ความเข้ าใจระบบการจัดการศึกษาในโรงเรียน
(โอกาส)
ของผู้ปกครอง
5.ผู้ปกครองรายได้ ดมี จี านวนน้ อย ทาให้ การ
อุปสรรค
ระดมทุนมีน้อย
6.เด็กเก่งหนีไปเข้ าโรงเรียนอืน่
อุปสรรค
7.ปู่ ย่ า ตายายดูแลลูกหลานในช่ วงวัยรุ่ น
อุปสรรค
(ด้ าน T-E-P ทาเช่ นเดีย่ วกัน)
ผลแยกประเด็นตัวชี้วดั 2S4M
อะไรเป็ น จุดแข็ง-จุดอ่อน
ตัวอย่ างเช่ น s-โครงสร้างและนโยบายโรงเรี ยน
1. มอบหมายงานเป็ นสัดส่ วนตามภาระหน้าที่
(จุดแข็ง)
2. แบ่งโครงสร้างการบริ หารงานกระจายอานาจ
(จุดแข็ง)
3. พึงพอใจของบุคลากร สามารถปฏิบตั ิได้
(จุดแข็ง)
4.การจัดการศึกษาและการบริหารตามเป้ าหมาย
จุดแข็ง
และนโยบาย
5.ครู และบุคลากรทางานหลายหน้ าที่
จุดอ่ อน
6.ผู้ปกครองอยู่ห่างไกล โรงเรียนกระจายไปทุกๆ
จุดอ่ อน
ตาบล
(S4M ก็ทาเช่ นเดีย่ วกัน)
3. กาหนดนา้ หนักคะแนนค่ าสภาพแวดล้อม
ปัจจัยภายนอก S-T-E-P
ตาราง 1.1 สภาพแวดล้ อมภายนอก S-T-E-P ให้ นา้ นักคะแนน
รายการปั จจัย
สภาพแวดล้ อมภายนอก
S
T
E
P
รวม
นา้ หนัก
0.31
0.25
0.25
0.19
1.00
กาหนดนา้ หนักคะแนน
ค่ าสภาพแวดล้ อม
ปั จจัยภายใน 2S4M
ตาราง 1.2 สภาพแวดล้ อมภายใน 2S4M ให้ นา้ นักคะแนน
รายการปั จจัย
สภาพแวดล้ อมภายใน
S1
S2
M1
M2
M3
M4
รวม
นา้ หนัก
0.17
0.16
0.17
0.17
0.16
0.17
1.00
4. กาหนดนา้ หนักคะแนน ประเด็นของค่ า
ปั จจัยภายนอกและภายใน
S-T-E-P,2S4M
ตาราง2.1 กาหนดนา้ หนักประเด็นตัวชีว้ ัดสภาพแวดภายนอก
ปั จจัยด้ านสังคมและวัฒนธรรม(Social : S )
ประเด็นตัวชีว้ ัด
นา้ หนัก
0.10
S1 ลักษณะการตัง้ ถิ่นฐาน
S2 ลักษณะภูมปิ ระเทศ / การคมนาคม /
0.10
การสื่อสาร
S3 โครงสร้ างพืน้ ฐาน ระบบสาธารณูปโภค 0.20
S4 ระดับการศึกษาและอัตราการรู้หนังสือ 0.10
ประเด็นตัวชีว้ ัด
S5 จำนวนและโครงสร้ ำงประชำกร
S6 ขนบธรรมเนียม ประเพณี ควำม
เชื่อ ค่ำนิยม วัฒนธรรม
S7 แบบแผนกำรดำเนินชีวิตและ
พฤติกรรม
นา้ หนัก
0.10
0.20
0.20
1.00
การกาหนดนา้ หนักคะแนน ประเด็นของค่ า
ปั จจัยภายนอกและภายใน
ในส่ วนของ -T-E-P,2S4M เช่ นเดียวกัน
รวมทัง้ สิน้ 10 ตาราง
5.ให้ แต่ ละคนประเมินเริ่มต้ นที่ S-สั งคมและ
วัฒนธรรม
•ประเมินความรุ นแรงเชิงบวกและเชิงลบ ของ
ผลกระทบจากสภาพแวดล้ อมภายนอก S-T-E-P
(โอกาส-อุปสรรค)
เกณฑ์ การให้ คะแนน 5 ระดับ
•
•
•
•
•
1- ผลกระทบต่ อการดาเนินงานน้ อยมาก
2- ผลกระทบต่ อการดาเนินงานค่ อนข้ างน้ อยมาก
3- ผลกระทบต่ อการดาเนินงานปานกลาง
4- ผลกระทบต่ อการดาเนินงานมาก
5- ผลกระทบต่ อการดาเนินงานมากที่สุด
*คะแนนเฉลีย่ =นาผลรวมคะแนนรวม/จานวนคน
ประเมินคะแนนรายบุคคลสภาพแวดล้อมภายนอกด้ าน
__ T - E - P
ประเมินคะแนนสภาพแวดล้อมภายใน2S4M
ก็ทาเช่ นเดียวกัน
รวมทั้งสิ้น 10 ตาราง
*นน.คะแนนเฉลีย่ =นน. Xคะแนนเฉลีย่
ทาตารางวิเคราะห์ คะแนนสภาพแวดล้อมภายนอก
__ T - E - P
วิเคราะห์ คะแนนสภาพแวดล้อมภายใน2S4M
ก็ทาเช่ นเดียวกัน
รวมทั้งสิ้น 10 ตาราง
6. นาค่ าทีไ่ ด้ หาค่ านา้ หนักคะแนนเฉลีย่
•ปัจจัยสภาพแวดล้ อมภายนอก
•ปัจจัยสภาพแวดล้ อมภายใน
ตาราง 6.1ค่ านา้ หนักคะแนนเฉลี่ยปั จจัยสภาพแวดล้ อมภายนอก( STEP )
รายการปั จจัย
สภาพแวดล้ อม
ภายนอก
S
T
E
P
รวม
นา้ หนัก
นา้ หนักคะแนน สรุ ปผล
คะแนนเฉลี่ย
เฉลี่ย
การ
โอกาส อุปสรรค โอกาส อุปสรรค วิเคราะห์
0.31
0.25
0.25
0.19
1.00
1.66
0.70
1.86
1.68
-2.26
-.39
-2.04
-2.49
จำกตำรำง1.1 จำกตำรำง4.1
0.52
0.17
0.47
0.32
-0.70
-0.35
-0.51
-0.47
-0.18
-0.17
-0.04
-0.15
-0.55
Ex
*นน.คะแนนเฉลีย่ =นน. Xคะแนนเฉลีย่
สรุปผล สภาพแวดล้ อมภายนอก
• ด้ านสั งคมและวัฒนธรรม
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นอุปสรรค
• ด้ านเทคโนโลยี
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นอุปสรรค
สรุปผล สภาพแวดล้ อมภายนอก
• ด้ านเศรษฐกิจ
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นอุปสรรค
• ด้ านการเมืองและกฎหมาย
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นอุปสรรค
ตาราง 6 สรุ ปผลการวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมภายใน ( 2 S 4 M )
รายการปั จจัย
คะแนนเฉลี่ย นา้ หนักคะแนนเฉลี่ย สรุ ปผลการ
สภาพแวดล้ อม นา้ หนัก
จุดแข็ง จุดอ่ อน จุดแข็ง จุดอ่ อน วิเคราะห์
ภายใน
S1
0.17 1.51 -0.69 0.26 -0.12
0.14
S2
0.16 1.13 -0.68 0.18 -0.11
0.07
M1
0.17 1.09 -1.06 0.19 -0.18
0.01
M2
0.17 1.04 -1.02 0.18 -0.17
0.01
M3
0.16 1.23 -0.80 0.20 -0.13
0.07
M4
0.17 1.34 -0.65 0.23 -0.11
0.12
รวม
1.00
0.42
จำกตำรำง1.2
จำกตำรำง5.2
Ix
สรุปผล สภาพแวดล้ อมภายใน
•ด้ านโครงสร้ างและนโยบาย
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นจุดแข็ง
•ด้ านการบริการและคุณภาพนักเรียน
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นจุดอ่อน
•ด้ านบุคลากร
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นจุดแข็ง
สรุปผล สภาพแวดล้ อมภายใน
•ด้ านงบประมาณ
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นจุดแข็ง
•ด้ านวัสดุอปุ กรณ์ อาคารสถานที่
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นจุดแข็ง
•ด้ านการบริหารจัดการ
สรุ ปผลการวิเคราะห์เป็ นจุดแข็ง
7. สร้ างกราฟและแปลความหมายจากกราฟ
วิเคราะห์ ผล
•นาค่ าคะแนนเฉลีย่ ของโอกาส อุปสรรค
ไปคานวณจุดบนแกน
•นาค่ าคะแนนเฉลีย่ จุดแข็ง จุดอ่อน
ไปคานวณจุดบนแกน
โอกำส
เอื ้อและแข็ง
เอื ้อแต่ออ่ น
Ix
Ex
•จุดแข็ง
ไม่เอื ้อแต่แข็ง
จุดอ่อน
ไม่เอื ้อและอ่อน
อุปสรรค
สถานภาพของโรงเรียนอย่ ูในตาแหน่ ง
(CASH COW ) “ไม่ เอือ
้ แต่ แข็ง”
หมายถึง โรงเรี ยนมีสมรรถนะภายในที่เข้ มแข็งแต่
ยังขาดการสนับสนุนหรื อ ไม่ ได้ รับความสนใจในการ
ดาเนินกิจการจากภายนอก
กลยุทธ์ที่นามาใช้คือ การพัฒนาสมรรถนะภายใน
โรงเรียนเพือ่ รอโอกาสที่เหมาะสมในการดาเนินกิจการ
ให้เจริ ญเติบโตในอนาคต
จัดวางทิศทางของโรงเรียน
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
เป้าหมายสงค์
วิสัยทัศน์ โรงเรียนลองวิทยา
โรงเรี ยนลองวิทยาเป็ นสถานศึกษาที่จดั การ
เรี ยนรู ้ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มุ่งสู่ ความ
เป็ นเลิศทางวิชาการ ใช้ เทคโนโลยีอย่ างสร้ างสรรค์
สื บสานวัฒนธรรมท้ องถิน่ มีทักษะในการดาเนิน
ชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจ
1. จัดการเรียนรู้ให้ นักเรียนได้ พฒ
ั นาความสามารถ
และความเข้ าใจ มุ่งสู ความเป็ นเลิศด้ านวิชาการ
2. เสริมสร้ างให้ ผู้เรียนเป็ นคนดี มีคุณธรรม
จริยธรรม สามารถอยู่ในสั งคมอย่ างมีความสุ ข
3. ส่ งเสริม สนับสนุนให้ นักเรียนใช้ เทคโนโลยีในการ
เรียนรู้อย่ างสร้ างสรรค์ และทัว่ ถึง
พันธกิจ
4. ส่ งเสริม สนับสนุนให้ มีการสื บสานวัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้ องถิน่
5. เสริมสร้ างให้ ผู้เรียนมีทกั ษะในการดาเนินชีวติ ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6. ส่ งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางดารศึกษาทุกด้ าน
7. ให้ ชุมชนและท้ องถิน่ มีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
เป้ าหมายสงค์
นักเรี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความรู้
ความสามารถ มีความเป็ นเลิศทางวิชาการตาม
มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
สื บสานวัฒนธรรม
ท้องถิ่น และมีทกั ษะในการดาเนินชีวติ ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้นาเสนอ
นายกิตติพงศ์ กาลัง
นายสิ ทธิเดช พันธุ์นิตพิ งศ์
นายวีระชัย จันทร์ สุข
ค้ นหาข้ อมูล
น.ส.สรัญญา แดงใจ
นายสุ รัส ผูกพันธ์
น.ส.วรรณนรี วรินทร์
น.ส.ทิพเนตร์ สิ งห์ เห
นางวิมลพรรณ เวทมนต์
ค้ นหาข้ อมูล
นางนภาพร แสนบ่ อ
นายสุ รพล แก้วติน
จัดทารูปเล่ ม
น.ส. กัญภัคณัฐ กาทองทุ่ง
น.ส.ชลธิดา สวัสดี
จัดทารูปเล่ ม
นางมณเฑียร ศุภจิตรานนท์
นายอนุฤทธิ์ ปกติจิต
นางมลฤดี ลือโฮ้ ง
นางนิทราพร ศิริกมลนันท์
น.ส.รัชดาภรณ์ นกดา
จัดทารูปเล่ ม
พระมหาสิ ทธิพร วิจิตรรัตนากร
พระมหาถาวร สิ งห์บุตร
พระมหาสมทรง เนตรชัง