การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

Download Report

Transcript การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

การวัดและประเมินผล
การเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1
การศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็ นการจัด
การศึ ก ษาที่ มุ่ ง พั ฒ นาผู ้เ รี ย นทั้ ง ด้า น
วิชาการและวิชาชีพชั้นสูงเพื่อเป็ นพลังที่
สาคัญในการพัฒนาประเทศ
2
สาเหตุที่ตอ้ งพัฒนาคุณภาพการอุดมศึกษา
1.ต้องพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้ได้
มาตรฐานใกล้เคียงกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษา
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
3
2. การเปลี่ยนแปลงสังคมสู่สงั คมเศรษฐกิจ
ฐานความรูข้ องโลกปั จจุบนั Knowledge Based
Economy
3. การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้าน
เทคโนโลยีและการติดต่อสื่อสาร
4
4. การเคลื่อนย้ายของนักศึกษา ครู อาจารย์
เพื่อแลกเปลี่ยนความรูร้ ะหว่างสถาบันอุดมศึกษา
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
5

ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาจึ ง
จัดทากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึก ษาของ
ประเทศไทย (Thai Qualifications Framework for
Higher Education; TQF: HEd) เพื่อเป็ นเครื่องมือ
ใน ก า ร ก ากั บ ม า ต ร ฐา น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า
ระดับอุดมศึกษา
6
หลักการที่สาคัญของกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
7
1. มุ่งเน้นที่มาตรฐานผลการเรียนรูข้ องบัณฑิตใน
แต่ละคุณวุฒิ/ปริญญาของสาขาวิชาต่างๆ
2. เพื่อประกันคุณภาพบัณฑิตและสื่อสารให้สงั คม
ได้เข้าใจและมัน่ ใจในกระบวนการผลิตบัณฑิต
3. มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบัน
อุดมศึกษาทุกแห่งของประเทศไทยเป็ นที่ยอมรับ
และเทียบเคียงกันได้กบั สถาบันอุดมศึกษาทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ
8
มาตรฐานผลการเรียนรู ้
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษา
9
การเรียนรู ้ (Learning) หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รียนที่พฒ
ั นาขึ้ น
จากประสบการณ์ที่ได้รบั ระหว่างการศึกษา
10
มาตรฐานผลการเรียนรู ้ 5 ด้าน มีดงั นี้
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
2. ด้านความรู ้
3. ด้านทักษะทางปั ญญา
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยี
11
มาตรฐานผลการเรียนรู ้ หมายถึ ง ข้อกาหนด
เฉพาะซึ่งเป็ นผลที่สถาบันอุดมศึกษามุ่งหวังให้ผเู้ รียน
พัฒ นาขึ้ นจากการเรี ย นรู ้ท้ั ง 5 ด้า น ที่ ไ ด้รั บ การ
พัฒนาระหว่างการศึ กษาจากการเรียนและการเข้า
ร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่สถาบันอุดมศึกษาจัดให้ท้งั ใน
และนอกหลักสูตร
12
มาตรฐานผลการเรียนรูข้ องคุณวุฒิ
ระดับปริญญาตรี
13
1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม

ผูเ้ รียนระดับปริญญาตรีจะต้องสามารถจัดการปั ญหา
ทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใช้การวินิ จฉัย
ทางค่ า นิ ย ม ทางศี ล ธรรม ทางความรูส้ ึ ก ของผู้อื่ น
ค่านิ ยมพื้ นฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซึ่ ง
พฤติกรรมทาง ด้านคุณธรรม จริยธรรมระดับสูง เช่ น
มี วิ นั ย มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เสี ยสละ
เป็ นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผูอ้ ื่นและเข้าใจโลกเป็ นต้น
14
2. ด้านความรู ้
 ผู ้เ รี ย นระดั บ ปริ ญ ญาตรี ต ้อ งมี อ งค์ ค วามรู ้ใ นสาขาวิ ช าอย่ า ง
กว้างขวางและเป็ นระบบ ตระหนักรูห้ ลักการและทฤษฏีใน
องค์ความรูท้ ี่เกี่ยวข้อง สาหรับหลักสูตรวิชาชีพ มี ความเข้าใจ
เกี่ยวกับความก้าวหน้าของความรูเ้ ฉพาะด้านในสาขาวิชา และ
ตระหนั กถึงงานวิจยั ในปั จจุบันที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและ
การต่อยอดองค์ความรู ้ ส่วนหลักสูตรวิชาชีพที่เน้นการปฏิบัติ
จะต้อ งตระหนั ก ในธรรมเนี ย มปฏิ บัติ กฎ ระเบี ย บ ข้อ บัง คั บ
ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
15
3. ด้านทักษะทางปั ญญา
 ผูเ้ รียนระดับปริญญาตรีตอ้ งสามารถค้นหาข้อเท็จจริง
ทาความ
เข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิดและทฤษฎีใหม่ๆ จาก
แหล่ งข้อมูล ที่ ห ลากหลาย และสามารถน ามาใช้ใ นการแก้ไ ข
ปั ญหาและงานอื่ น ๆ ด้ว ยตนเอง สามารถศึ ก ษาปั ญหาที่
ค่อ นข้า งซับ ซ้อ นและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไ ขได้อ ย่า ง
สร้างสรรค์โดยคานึ งถึ งทฤษฏี ประสบการณ์ทางภาคปฏิบั ติ
และผลกระทบจากการตัดสินใจ สามารถใช้ทักษะและความ
เข้าใจอันถ่องแท้ในเนื้ อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพ สาหรับ
หลักสูตรวิชาชีพ นักศึกษาสามารถใช้วิธีการปฏิบตั ิ งานประจา
และหาแนวทางใหม่ในการแก้ไขปั ญหาได้อย่างเหมาะสม
16
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
 เป็ นผลการเรียนรูท
้ ี่มีส่วนช่วยและเอื้ อต่อการแก้ปัญหาในกลุ่ม
ได้อ ย่ า งสร้า งสรรค์ ไม่ ว่ า จะเป็ นผู้น าหรื อ สมาชิ ก ของกลุ่ ม
สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผูน้ าในสถานการณ์ที่ไม่ชดั เจนและ
ต้องใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ในการแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่ มใน
การวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้ นฐานของตนเอง
และของกลุ่ม มีความรับผิดชอบในการเรียนรู ้ รวมทั้ง พัฒนา
ตนเองและอาชีพอย่างต่อเนื่ อง
17
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
 สามารถศึ ก ษาและท าความเข้า ใจในประเด็ น ปั ญหา
สามารถ
เลือกและประยุกต์ใช้เทคนิ คทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
อย่างเหมาะสมในการศึ กษาค้นคว้าและเสนอแนะแนวทางใน
การแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ประมวลผล แปลความหมาย และน าเสนอข้อ มูล สารสนเทศ
อย่างสมา่ เสมอ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในการ
พู ด การเขี ย น สามารถเลื อ กใช้รู ป แบบของการน าเสนอที่
เหมาะสมสาหรับกลุ่มบุคคลที่แตกต่างกันได้
18
การประเมินผลการเรียนรู ้
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
19
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1. ผลการเรียนรู ้
1) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
2) มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปั ญหาด้าน
จริยธรรม และความขัดแย้ง
3) มีทศั นคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรม
และจริยธรรมในการปฏิบตั ิงานและการปฏิบตั ิตนต่อผูอ้ ื่น
อย่างสมา่ เสมอ
20
ผลการเรียนรู ้ (ต่อ)
4) มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็ นสมาชิกที่ดี และมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา เป็ นแบบอย่างที่ดี
ต่อผูอ้ ื่น ทั้งในการดารงตนและการปฏิบตั ิงาน และมี
ภาวะผูน้ า
5) มีวนิ ัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ
และข้อบังคับขององค์กร และสังคม
6) มีจิตสานึ กสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อ
ส่วนรวม
21
2. กลยุทธ์การสอน
 ผูส้ อนทุกคนจะต้องรับผิดชอบพัฒนาผูเ้ รียนให้มี
คุณธรรม จริยธรรมตามที่กาหนด โดยจะต้องใช้
กลวิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การยกกรณี
ปั ญหา การสร้างสถานการณ์จาลอง การ
ปลูกฝังจิตสาธารณะ ปลูกฝังจิตสานึ กร่วมกันใน
การอนุ รกั ษ์สิ่งแวดล้อม
22
ตัวอย่างกิจกรรมการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
จัดรายวิชาคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมทุกรายวิชา
สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
สอนโดยอ้างอิงจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
เชิญผูม้ ีประสบการณ์หรือพระบรรยายพิเศษ
ผูส้ อนประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี
23
3. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้
 ผลการสอบในรายวิชาคุณธรรม จริยธรรมและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผูเ้ รียนร่วมกัน
และกับผูส้ อนทุกคน
24
3. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้ (ต่อ)
 ประเมินพฤติกรรมการทางานเป็ นกลุ่ม
การรายงานผลงาน และการทากิจกรรมต่าง ๆ
 กาหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้ผเู ้ รียน
แสดงออก
 ผลการประเมินจากการฝึ กงานจากสถาน
ประกอบการที่ผเู้ รียนเข้าฝึ กงาน
25
3. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้ (ต่อ)
 สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบต
ั ิตามกฎ ระเบียบ
และข้อบังคับ
 ประเมินจากการตรงเวลาของนั กศึกษาในการเข้า
ชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่
มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
26
3. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้ (ต่อ)
 ประเมินจากการมีวน
ิ ัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาใน
การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
 ประเมินจากความรับผิดชอบงานที่ได้รบ
ั มอบหมาย
 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รบ
ั มอบหมาย ที่
สะท้อนถึงความตั้งใจ
 ประเมินจากกรณีศึกษา การอภิปรายด้านความรูแ้ ละ
ความรับผิดชอบ
27
ด้านความรู ้
1. ผลการเรียนรู ้
 มีความรูใ้ นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา ทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบตั ิอย่างกว้างขวาง เป็ นระบบ เป็ นสากล และทันสมัยต่อ
สถานการณ์โลก
 มีความรูท
้ ี่เกิดจากการบูรณาการความรูใ้ นศาสตร์ต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง
 มีความรูใ้ นกระบวนการ และเทคนิ คการวิจยั เพื่อแก้ไขปั ญหาและ
ต่อยอดองค์ความรูใ้ นงานอาชีพ
 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวฒ
ั นาการในวิชาชีพเพื่อการ
นาไปประยุกต์ใช้
28
2. กลยุทธ์การสอน
 ผูส้ อนจะต้องใช้วิธีและเทคนิ คการสอนหลากหลายโดย
เน้ น ผู้เ รี ย นเป็ นส าคัญ โดยต้อ งเน้ น ทั้ ง ความ รู ้ภ าค
ทฤษฏีและการนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ รวมถึ งทั กษะ
ต่างๆ ผูส้ อนควรจะต้องมีการเชิญวิทยากร ผูเ้ ชี่ ยวชาญ
ด้ า น ต่ า ง ๆ โ ด ย เฉพ า ะ จ า กส ถ า น ป ระ ก อบ ก า ร
นอกจากนี้ ควรจะต้อ งมี ก ารพาไปศึ ก ษาดู ง านนอก
สถานที่หรือในสถานประกอบการตามสาขาวิชานั้นๆ
29
ตัวอย่างกิจกรรมการสอน
 การบรรยาย
 มอบหัวข้อเรื่องให้คน
้ คว้าและทารายงานทั้งเดี่ยว
และกลุ่ม
 ทารายงานเปรียบเทียบความรูจ้ ากห้องเรียนกับ
การทางานจริงภาคปฏิบตั ิ
 อภิปรายเป็ นกลุ่ม
30
ตัวอย่างกิจกรรมการสอน (ต่อ)
 การศึกษานอกสถานที่และทารายงาน
 สอนโดยการสาธิตและฝึ กปฏิบต
ั ิ
 ใช้วธ
ิ ีการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ เช่น การสอน
โดยใช้วจิ ยั เป็ นฐานการสอนที่เน้นการแก้ปัญหาหรือ
การสอนที่ให้ผเู้ รียนสร้างองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง
31
3. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้
 ทดสอบทฤษฎีและปฏิบต
ั ิ โดยการสอบย่อย และให้
คะแนน
 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
 ประเมินผลจากการทางานที่ได้รบ
ั มอบหมายและรายงาน
 ประเมินจากรายงานที่ให้คน
้ คว้า และการฝึ กปฏิบตั ิต่างๆ
32
ด้านทักษะทางปั ญญา
1.ผลการเรียนรู ้
1. สามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์
สาเหตุของปั ญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่าง
ถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์
2. หาแนวทางป้องกันและแก้ไขปั ญหาได้อย่างเหมาะสม
ทั้งเชิงกว้าง และเชิงลึก
3. สามารถแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ได้
33
1. ผลการเรียนรู ้ (ต่อ)
4. สามารถประยุกต์ใช้ความรูภ้ าคทฤษฎี ภาคปฏิบตั ิ
ไปสู่การฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบตั ิงาน
จริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
5. สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจาก
ศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาทักษะการทางานให้
เกิดประสิทธิผล
34
2. กลยุทธ์การสอน

การสอนเพื่อให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาทักษะทางปั ญญา
ผูส้ อนควรใช้วธิ ีและเทคนิ คการสอนที่เน้นกระบวนการ
คิดวิเคราะห์เพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูท้ างปั ญญา
(Brain-based leaning) เช่น การสอนโดยเน้นการวิจยั
(Research-based learning) การสอนโดยเน้นการแก้ปัญหา
(Problem-based learning) การสอนแบบโครงการ
(Project-based learning)
35
ตัวอย่างกิจกรรมการสอน
1. กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
2. อภิปรายเป็ นกลุ่ม
3. การมอบหมายงานให้คน้ คว้า หรืองานที่เกี่ยวข้องกับ
การพัฒนา
4. การบรรยายโดยผูเ้ ชี่ยวชาญหรือผูป้ ระกอบการ
5. การฝึ กปฏิบตั ิในสถานการณ์จริง
36
3.วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้
 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทา
 การสอบข้อเขียน
 การเขียนรายงาน
 การประเมินจากการฝึ กปฏิบต
ั ิในสถานการณ์จริง
37
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
1. ผลการเรียนรู ้
 ปฏิบต
ั ิและรับผิดชอบงานตามหน้าที่และบทบาทของตน
ในการทางานเป็ นทีมได้
 สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทน
ั สมัย
อย่างต่อเนื่ องและตรงตามมาตรฐานสากล
 สามารถจัดการทรัพยากรเพื่อการทางานและการ
บริหารได้อย่างเหมาะสม
38
2. กลยุทธ์การสอน

การจัด การเรี ย นการสอน เพื่ อ พัฒ นาผู้เ รี ย นให้ มี
ทั ก ษะความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คล และมี ค วาม
รับผิดชอบจะต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ ฝึกให้
ผูเ้ รียนมีคุณลักษณะ เช่น มีทักษะการทางานเป็ นที ม
สามารถปรั บ ตั ว ได้ดี มี ม นุ ษยสั ม พั น ธ์ มี ค วา ม
รับผิดชอบต่องานที่ได้รบั มอบหมาย สามารถเป็ นผูน้ า
และผูต้ ามได้ดี
39
ตัวอย่างกิจกรรมการสอน
 บรรจุเนื้ อหาความรับผิดชอบต่อผูม
้ ีส่วนเกีย่ วข้องใน
รายวิชาชีพ
 มอบหมายงานเป็ นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความ
รับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
 สอนโดยการใช้กรณีศึกษา
40
3. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้
 ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผูเ้ รียนใน
กลุ่มที่ได้รบั มอบหมายให้ทางาน
 ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน(peer)
 ใช้แฟ้ มสะสมงาน(portfolio) ในการประเมิน
 สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
 ใช้ผลการประเมินจากการฝึ กงาน
41
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ผลการเรียนรู ้
 สามารถใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศใน
การฟั ง การพูด การอ่าน การเขียนอย่างมี
ประสิทธิภาพ
 สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสม
ตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
42
ผลการเรียนรู ้ (ต่อ)
 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
และการนาเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 สามารถใช้เทคนิ คพื้ นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติใน
การประมวล การแปลความหมาย และการวิเคราะห์
ข้อมูล
43
2. กลยุทธ์การสอน
 ผู ้ส อนควรจัด กิ จ กรรมที่ นั ก ศึ ก ษาต้อ งติ ด ต่ อ สื่ อ สาร
ค้นคว้าหาข้อมูล และนาเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรูด้ า้ นทักษะ
การวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ตั ว เลข การสื่ อ สาร และการใช้
เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร
ติ ด ต่ อ สื่ อ สารและใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ น
เครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูลและ นาเสนอผลงาน
44
ตัวอย่างกิจกรรมการสอน
 สร้างสถานการณ์ให้ผเู ้ รียนใช้ความสามารถทางภาษา
ในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติโดยการใช้ทกั ษะ
ทั้งการฟั ง การพูด การอ่านและการเขียน
 จัดห้องปฏิบต
ั ิการ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึ ก
ปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาชีพ
 ฝึ กให้นาเสนอผลงานที่คน
้ คว้าด้วยตนเองโดยใช้
รูปแบบการนาเสนอที่หลากหลาย
45
ตัวอย่างกิจกรรมการสอน (ต่อ)
 บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์
หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชา
 ฝึ กแก้ปัญหาหรือโจทย์ที่จาเป็ นต้องใช้แบบจาลอง
คณิตศาสตร์ หรือสถิติ
 ฝึ กอ่านผลงานวิจยั และฝึ กปฏิบต
ั ิทาวิจยั
46
3. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ้
 ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและปากเปล่าและการ
ฝึ กปฏิบตั ิการทางภาษา
 ประเมินผลจากรูปแบบการนาเสนอผลงาน
 ประเมินผลจากการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้คน
้ คว้า
 ประเมินผลงานวิจยั
47
จรรยาบรรณการวัดผล
และประเมินผลการเรียนรู ้
48
 จรรยาบรรณ หมายถึง
ประมวลความประพฤติที่
ผู้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ก าหนดขึ้ น เพื่ อ รั ก ษาและ
ส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก
49
 จรรยาบรรณในวิ ช าชี พ
หมายถึ ง ประมวล
มาตรฐานความประพฤติ ที่ ผู้ป ระกอบวิ ช าชี พ
จะต้องประพฤติปฏิบตั ิ จรรยาบรรณเป็ นแนวทาง
ให้ผูป้ ระกอบวิชาชีพปฏิบัติอย่างถูกต้อ งเพื่อผดุ ง
เกียรติและสถานะของวิชาชีพนั้น
50
คุณธรรมของ
นักวัดผลการศึกษา
51
 มีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่คดโกง
 มีความยุติธรรม
 มีความรับผิดชอบสูง
52
 มีความขยันและอดทน
 มีความละเอียดถี่ถว้ นและรอบคอบ
 ตรงต่อเวลา
 สนใจเทคนิ คการวัดผล
53