การดำเนินงานในโครงการ EdPEx

Download Report

Transcript การดำเนินงานในโครงการ EdPEx

การเข้าร่วมโครงการ
เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็ นเลิศ
(Education Criteria for Performance Excellence; EdPEx)
สำนักวิชำพยำบำลศำสตร์
มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
การดาเนินงานในโครงการ EdPEx ของสานักวิชาพยาบาลศาสตร์
ปี 2553 เข้าร่วมในโครงการนาร่องฯ 15 สถาบันการศึกษา
โดยมีพี่เลี้ยงโครงการ ได้รบั การ Site visit รวม 4 ครั้ง
รศ.นพ.สุธรรม ปิ่ นเจริญ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นพ.กิตติพงษ์ เรียบร้อย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประโยชน์ที่ได้รบั จากการเข้าร่วมโครงการนาร่องฯ
เดิม
ใหม่
รูป้ ั ญหา
รูป้ ั ญหารอบด้าน
แก้ปัญหาด้วยวิธีเดิมๆ
ปรับวิธีคิด+เปลี่ยน
รูปแบบการแก้ปัญหา
ผลที่ได้ ??
ผลที่ได้ 
ประโยชน์ที่ได้รบั จากการเข้าร่วมโครงการนาร่องฯ (ต่อ)
1. มีการจัดทาแผนการปรับปรุงและพัฒนางานของสานักวิชาฯ
2. การดาเนินการที่จะทาให้รอ้ ยละของการสอบผ่านใบประกอบ
วิชาชีพฯ สูงขึ้น
3. การสร้าง War room
4. สร้างกลไกการรับฟั งและการสื่อสารกับผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
5. ทาการสารวจความพึงพอใจและความผูกพันฯ ของพนักงานของ
สานักวิชาฯ
ปั จจัยแห่งความสาเร็จในโครงการนาร่อง
1. การสนับสนุ นของคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2. การมีพี่เลี้ ยงโครงการ
3. การสร้าง War room
4. คณบดีให้ความสาคัญกับโครงการ
5. การมีทีมงานที่มีคุณภาพ
6. การสนับสนุ นของมหาวิทยาลัย
ปั ญหาและอุปสรรค ขณะเข้าร่วมโครงการนาร่อง
1. การประสานความร่วมมือกับบุคลากรในหน่วยงานอื่น
ของมหาวิทยาลัย เนื่องจากบุคลากรในหน่วยงานอื่นยังไม่มี
ความรูค้ วามเข้าใจเรื่อง EdPEx
2. การบริหารจัดการเวลาของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ
การดาเนินงานในโครงการ EdPEx ของสานักวิชาพยาบาลศาสตร์
ปี 2554 รับการประเมินฯ และสรุปผลเพื่อปิ ดโครงการ
รศ.พญ.ปรียานุช แย้มวงษ์
รศ.รัชต์วรรณ กาญจนปั ญญาคม
ความเห็นเพิ่มเติมของผูป้ ระเมิน
(สรุปผลและปิ ดโครงการนาร่องฯ)
1. สานักวิชาฯ ไม่ได้กาหนดความต้องการและความคาดหวังใน
การเข้าร่วมโครงการ
2. เกิดความเข้าใจและการเรียนรูเ้ มื่อทางานร่วมกับพี่เลี้ยง ซึ่ง
ใช้คาถามกระตุน้ ให้เกิดความคิดและเห็นแนวทางในการพัฒนา
3. ปั จจัยที่ทาให้เกิดความสาเร็จคือการกระตุน้ จากพี่เลี้ยงcommitment ของผูบ้ ริหาร การทางานของทีมงานที่นาแนวคิด
ของเกณฑ์ไปใช้ในกระบวนการทางานในกิจกรรมปกติ
การดาเนินงานในโครงการ EdPEx ของสานักวิชาพยาบาลศาสตร์
ปั จจุบนั เข้าร่วมโครงการต่อยอดฯ (Cohort#2) กิจกรรมที่ผ่านมา
ลาดับ
กิจกรรม
ระยะเวลา
1
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่อง “เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการ
วันที่ 12-14 มีนาคม 2556
ดาเนิ นการที่เป็ นเลิศ 2556-2557” โครงการต่อยอดคุณภาพ
การศึกษาสู่ความเป็ นเลิศ รุน่ ที่ 2 ณ ไอธารา รีสอร์ท แอนด์ สปา
จังหวัดเพชรบุรี
2
ส่งรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการ
ดาเนิ นการที่เป็ นเลิศ จานวน 40 หน้า
วันที่ 31 พฤษภาคม 2556
3
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ เรื่อง “การประเมินองค์การด้วยเกณฑ์
คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนิ นการที่เป็ นเลิศ (EdPEx)” ณ
โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 2-5 กรกฎาคม 2556
4
ส่งรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการ
ดาเนิ นการที่เป็ นเลิศ จานวน 70 หน้า
วันที่ 30 กันยายน 2556
5
Mid-way consultation via Skype
วันที่ 24 ตุลาคม 2556
การดาเนินงานในโครงการ EdPEx; Cohort 2
10
เปรียบเทียบข้อมูล
ตนเอง (trend)
และคู่เทียบ
ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
การรวบรวม
และวิเคราะห์
ข้อมูลเพื่อการ
แก้ปัญหา
วิเคราะห์ขอ้ มูล
ทา War room
Focus group discussion
ในกลุ่มบัณฑิตที่เพิ่งจะ
เข้าสอบใบประกอบ
วิชาชีพ
ข้อมูลสารสนเทศที่สาคัญ
และข้อมูลเชิงคุณภาพ
จัดทากราฟ/
โปสเตอร์ขอ้ มูลสารสนเทศ
ที่สาคัญ
11
ทบทวน
วิสยั ทัศน์
กาหนดแผน
กลยุทธ์
ผูท้ ี่เกี่ยวข้องร่วมกันกาหนด
เป้าหมายอย่างท้าทาย
ผูบ้ ริหารสื่อสารข้อมูลกับผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
ทบทวนแผนกลยุทธ์
การจัดทากลยุทธ์
ทบทวนโครงการ/กิจกรรมของ
ปี งบประมาณเก่า
กาหนดโครงการ/กิจกรรม
ของปี งบประมาณใหม่
การเรียนรูจ้ าก
Best practice
กิจกรรมเพื่อ
แก้ปัญหา
และเอาชนะ
ความท้าทาย
กิจกรรม
ของ
อาจารย์
การแลกเปลี่ยนเรียนรู ้
กิจกรรม
พัฒนาการ
เรียนการสอน
(1)
กิจกรรม
นักศึกษา
การเตรียมความพร้อมในการ
สอบใบประกอบวิชาชีพ
13
ผูป้ กครอง
กิจกรรมเพื่อ
แก้ปัญหา
และเอาชนะ
ความท้าทาย
(2)
หัวใจแทนตัว
การสื่อสารข้อมูลผ่านการ
ประชุม
การสื่อสารข้อมูลไปยัง
คู่ความร่วมมือและ
ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
แหล่งฝึ ก
ปฏิบตั ิ
สอบถามความต้องการและ
ความคาดหวังของแหล่ง
ฝึ กปฏิบตั ิ
การสื่อสารข้อมูลสาคัญ
14
คาถามจากผูต้ รวจประเมิน
15
วิสยั ทัศน์
ภายในปี 2560 สานักวิชาพยาบาลศาสตร์
จะเป็ นองค์การเรียนรูบ้ ูรณาการพันธกิจ สร้างพันธมิตร
นาการพยาบาลสู่สากล
หลักสูตรที่มีความโดดเด่น : หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555)
จานวนนักศึกษา ปี การศึกษา 2556 รวม 293 คน
1. จาแนกตามชั้นปี
81
72
71
69
ปี 1
ปี 2
ปี 3
ปี 4
จานวนนักศึกษา ปี การศึกษา 2556 รวม 293 คน
2. จาแนกตามประเภทรับเข้าศึกษา
70
(20.89%)
15
(5.12%)
208
(70.99%)
โควตา
รับตรง
Admissions
จานวนนักศึกษา ปี การศึกษา 2556 รวม 293 คน
3. จาแนกตามภูมิภาค
14 (4.78%)
7 (2.39%) 9 (3.07%)
2 (0.68%)
ภาคกลาง
ภาคตะวันตก
142 (48.46%)
119 (40.61%)
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
ภาคเหนือ
จานวนนักศึกษา ปี การศึกษา 2556 รวม 293 คน
4. จาแนกตามศาสนา
248 (84.64%)
250
200
150
100
42 (14.33%)
50
3 (1.02%)
0
คริสต์
พุทธ
อิสลาม
จานวนนักศึกษา ปี การศึกษา 2556 รวม 293 คน
ประเภทของนักศึกษา
5. จาแนกตามทุนการศึกษา
- ทุนชินโสภณพนิ ช
- ทุนจุมภฎ-พันธุท์ ิพย์
- ทุนโอสถสภา
- ทุนโรงพยาบาลมิชชัน่ ภูเก็ต
- ทุนโรงพยาบาลกาฬสินธุ์
- ทุนโรงพยาบาลร้อยเอ็ด
- ทุนมูลนิ ธิโอกุระ
จานวน (ร้อยละ)
24 (8.19)
2 (0.68)
1 (0.34)
1 (0.34)
1 (0.34)
2 (0.68)
1 (0.34)
จานวนบุคลากร ปี การศึกษา 2556
บุคลากร
1) พนักงานสายวิชาการ
(อาจารย์)*
2) พนักงานสายปฏิบตั ิการวิชาชีพ
และบริหารทัว่ ไป
รวมทัง้ หมด
จาแนก
จานวน
ตามคุณวุฒิการศึกษา
ทั้งหมด
เอก
โท
ตรี
จาแนก
ตามตาแหน่งทางวิชาการ
ศ. รศ. ผศ. อาจารย์
26
14
12
-
-
1
9
16
3
-
1
2
-
-
-
-
29
14
13
2
-
1
9
16
หมายเหตุ *อาจารย์ลาศึกษาต่อ จานวน 3 คน
มีนักเรียนทุน จานวน 2 คน อยูร่ ะหว่างการศึกษาต่อระดับปริญญาโท
ยุทธศาสตร์หลัก
• ผลิตพยาบาลในระดับวิชาชีพและวิชาชีพขั้นสูง ที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของ
สานักวิชาพยาบาลศาสตร์และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• สร้างงานวิจยั งานวิชาการ และนวัตกรรม ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ดา้ นสุขภาพ
ของประชาชนทุกช่วงวัย ทุกกลุ่ม ตลอดจนของท้องถิ่น ประเทศ และสังคมโลก
• นาความรูด้ า้ นสุขภาพที่เชี่ยวชาญให้บริการทางวิชาการ เพื่อพัฒนาสมรรถนะของ
บุคลากรด้านสุขภาพและศักยภาพด้านการดูแลตนเองของประชาชน
• ส่งเสริมการใช้และให้คุณค่าแก่ภมู ิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะที่
เป็ นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นภาคใต้
• บูรณาการความรูจ้ ากงานวิจยั งานวิชาการ การบริการวิชาการ การทานุ บารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม กับการเรียนการสอนและการดูแลนักศึกษา
• สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการทางาน ทั้งในด้านการผลิตบัณฑิต การวิจยั การ
บริการวิชาการ และการทานุ บารุงศิลปะและวัฒนธรรม
เป้าหมาย
• ผลิตบุคลากรทางการพยาบาลที่มีปัญญา มีคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มี
คุณภาพตามมาตรฐานของประเทศและระดับสากล มีจิตสานึ กสาธารณะ และมี
การเรียนรูต้ ลอดชีวิต
• ศึกษาค้นคว้า วิจยั พัฒนาองค์ความรูใ้ หม่เพื่อพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาลให้
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
• จัดบริการวิชาการเพื่อสนองตอบความต้องการการพัฒนาบุคลากรในท้องถิ่น
และการศึกษาต่อเนื่ องในวิชาชีพการพยาบาล
• ทานุ บารุงศิลปะและวัฒนธรรมที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมชาวใต้ โดยคานึ งถึงความ
แตกต่างทางวัฒนธรรม รวมทั้งวิถีชีวิต เพื่อให้สานักวิชาเป็ นศูนย์รวมของชุมชน
และเป็ นแบบอย่างที่ดีของสังคม
สมรรถนะหลัก: การเป็ นองค์กรขนาดเล็กที่มีศกั ยภาพสูง (Small and
Smart) ภายใต้การบริหารแบบ Flat Organization
ความท้าทาย/ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์
ความท้าทายเชิงกลยุทธ์:
1. การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สภาวะการแข่งขันทางด้านการพยาบาลกับ
กลุ่มประเทศอาเซียน
2. นโยบายของรัฐบาลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นงานด้านสุขภาพ ใน
ด้านการเป็ นศูนย์กลางสุขภาพแห่งประเทศไทย (Thailand Medical Hub)
3. การก้าวเข้าสู่มหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพ
ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์:
1. ความคล่องตัวในการบริหารจัดการและศักยภาพของบุคลากร
2. การผลิตพยาบาลคุณภาพสูง โดยใช้บุคลากรจานวนน้อย
3. ความสัมพันธ์อนั ดีกบั แหล่งฝึ กปฏิบตั ิ
การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน
ลาดับ
การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ
1 การเปิ ดสถาบันการศึกษาด้านพยาบาลเพิ่มขึ้น
2 การเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
3 ระบบการรับรองคุณภาพสถาบัน (สภาวิชาชีพ สกอ. สมศ.)
ผลลัพธ์/ผลงานที่โดดเด่น ปี การศึกษา 2555
ผลงาน/ผลลัพธ์
1. ภาพรวม
ข้อมูล
การประเมินการดาเนิ นงานตามองค์ประกอบคุณภาพของ
สกอ. ได้คะแนนเฉลี่ยเป็ นลาดับที่ 1 ของมหาวิทยาลัย
วลัยลักษณ์ จานวน 2 ปี การศึกษาต่อเนื่ อง (ปี การศึกษา
2554-2555)
2. การเรียนการสอน การใช้ M-Learning เพื่อพัฒนากระบวนการและรูปแบบ
การจัดการเรียนการสอนสาหรับนักศึกษาและอาจารย์
3. งานวิจยั
การสร้างสมรรถนะชุมชนในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก
อย่างยัง่ ยืน
4. บริการวิชาการ
1) โครงการเครือข่ายจัดการความรูก้ ารดูแลผูป้ ่ วย
เบาหวาน-ความดันโลหิตสูง
2) โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนเรียนรูเ้ พศศึกษาฯ
ภาพรวม
กราฟแสดงผลการประเมินในภาพรวม 9 องค์ประกอบ ปี การศึกษา 2553 – 2555
จาแนกตามสานักวิชา และในภาพรวมมหาวิทยาลัย
5
4.5
4
3.5
3
สหเวช
สถาปั ต เภสัช แพทยศ
ศาสตร์
ย์ฯ ศาสตร์ าสตร์
ฯ
ปี การศึกษา 2555 4.28 4.35 4.22 4.52
ปี การศึกษา 2554 3.74 4.14 4.12 4.13
ปี การศึกษา 2553 3.95 4.11 4.54 4.25
หมายเหตุ ปี การศึกษา 2553 ไม่รวมตัวบ่งชี้ ของ สมศ.
เทคโน
ฯ
เกษตร
4.55 4.45 4.72
4.25 4.27 4.39
4.28 4.38 4.35
การ สารสน
จัดการ เทศฯ
วิศวกร
วิทยาศ ศิลป
รมศาส
าสตร์ ศาสตร์
ตร์ฯ
4.71 4.70 4.71
4.22 4.48 4.33
4.63 4.40 4.61
พยาบา
ล
ศาสตร์
4.80
4.55
4.62
มหาวิท
ยาลัย
4.66
4.43
4.61
การเรียนการสอน
30
การเรียนการสอน
ปรับวิธีการเรียนการสอนโดยใช้ M-Learning
เพื่อแก้ปัญหาที่พบจากการทา Focus group discussion ในบัณฑิตที่
สอบใบประกอบวิชาชีพฯ ไม่ผ่านทุกรายวิชาในการสอบครั้งแรก
ปั ญหา 1:
เชื่อมโยง
ความรูส้ ู่การ
ปฏิบตั ไิ ม่ได้
ปั ญหา 2:
เรียนมานาน
นึกไม่ออก
จา case ไม่ได้
• ให้นักศึกษาศึกษาความรูน้ อกห้องเรียน จากข้อมูลที่อาจารย์
เตรียมไว้ให้ใน M-Learning และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมตาม
ประเด็นที่อาจารย์กาหนด
• ในห้องเรียนให้มีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ มีบรรยาย
เท่าที่จาเป็ น
• นักศึกษาสามารถศึกษาตัวอย่าง Case, Video, Cartoon
Animation, Movies ใน M-Learning ได้ทุกเวลาและสถานที่ที่
เชื่อมต่อ internet
• Download เนื้ อหาความรูไ้ ด้ตามที่ตอ้ งการ
31
การเรียนการสอน
ตัวอย่างโครงการวิจยั และการบริการวิชาการ
เครือข่าย KM เบาหวาน : ระดับประเทศ
 โครงการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู ้
เพศศึกษาฯ : 12 จังหวัดภาคใต้
 โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก :
นครศรีธรรมราช
 โครงการสถานที่ทางานน่าอยูน
่ ่าทางาน

2552 วิจยั รูปแบบการสร้างสมรรถนะชุมชนในการแก้ปัญหาโรค
ไข้เลือดออก 3 ตาบลในอาเภอเมืองนครศรีฯ งบประมาณแผ่นดิน
2552 วิจยั ไข้เลือดออก
ตาบลปากพูน
สสส.
ไข้เลือดออก
2553-2554 วิจยั อย่างต่อเนื่ องในตาบล
กาแพงเซา ในตาบลปากพูน (สกอ., สกว)
ISI : 3 PubMed : 3 Scopus : 1, TCI : 3
วิชาสถิติเบื้ องต้นและ
การจัดการข้อมูลสุขภาพ
บริการวิชาการใน
ชุมชน
บริการวิชาการในการ
แก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก
วิทยาการระบาด ป. ตรี และ ป. โท
เอกสารคาสอนวิทยาการระบาดกับการพยาบาล
เอกสารคาสอนที่มีวิจยั เรื่องไข้เลือดออก
2555 การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนตาบลกาแพงเซา (สกอ.)
2555-6 การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในกลุ่ม อสม. ตาบลกาแพงเซา
(สกอ.)
2556-7 การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ 12 ตาบลในพื้ นที่อาเภอเมือง
2557 วิจยั พื้ นที่เสี่ยงของไข้เลือดออกอาเภอเมือง
กาแพงเซาโมเดล : ต้นแบบการแก้ปัญหาไข้เลือดออกในระดับตาบล
แบบประเมินสมรรถนะชุมชนฯ ที่มีคุณภาพ
หนังสือ 2 เล่มจากผลงานการทาวิจยั โปรแกรมคานวณดัชนี ลกู น้ า
บริการวิชาการในกลุ่ม อสม., เอกสารคาสอนการใช้ผลการวิจยั (EBNP)
บริการวิชาการในโรงเรียน
ความภาคภูมิใจ
รางวัล
บุคลากรดีเด่นด้านการวิจยั
ในโอกาสครบปี ที่ 21 มวล.
ประกาศเกียรติคณ
ุ
โครงการวิทยาศาสตร์สูค่ วามเป็ นเลิศ
ปี 2556 (วุฒิสภา)
โครงการเครือข่าย KM เบาหวาน
2548-49
2550
2551
2552
2553
*
**
Knowledge
Markets
Training
มหกรรม
KM
คนร่วมงาน 500+
500+
1,600+ 600+
*ร่วมกับ สรพ. กรมการแพทย์ สนับสนุนโดยแผนงานร่วม สสส. สปสช.
**สนับสนุนโดย สปสช.
โครงการเครือข่าย KM เบาหวาน
2554
2555
2556
2557
2558
มหกรรม
KM
830+ (NHSO) 360+ คน
WDC
2011@Dubai
Thai
DPP
IDF BRIDGES 65,000 USD
Thailand NHSO 11+ Million THB
มูลนิธิเพื่อพัฒนาการบริบาลผูป้ ่ วยเบาหวาน 1+ Million THB
มสช.เชิญเขียนหนังสือเรื่องการใช้ Tacit Knowledge
2556
ทุนของ Alliance for Health Policy and System Research
International Diabetes Federation เชิญเป็ น Invited
2554
Speaker ใน World Diabetes Congress 2011 ที่ดไู บ UAE
International Insulin Foundation เชิญไปแลกเปลี่ยน
2552
ประสบการณ์ที่ประเทศเวียดนาม (ทุนจาก IDF)
Handicap International เชิญไปแลกเปลี่ยน
2551
ประสบการณ์ที่เมือง Lyon ประเทศฝรั ่งเศส
โล่ชื่นชมคุณค่าด้านภารกิจการบริการวิชาการ
ในโอกาสครบปี ที่ 21 มวล.
โครงการส่งเสริม
การจัดกระบวนเรียนรูเ้ พศศึกษาฯ
บริการวิชาการ
ดาเนินการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู ้
เพศศึกษาสาหรับเยาวชนในสถานศึกษาของเขต
พื้นที่ภาคใต้ 12 จังหวัด โดยได้รบั การสนับสนุนจาก
องค์การแพธ
ระยะเวลา
งบประมาณ
สนับสนุน
ปี ที่ 1
ปี ที่ 2
ปี ที่ 3
ปี ที่ 4
2552
ม.ค.-ก.ย. 53 ก.ย.53-54 ก.ย.55-ส.ค.56
1,667,700 2,314,800 2,643,300 5,666,080
โครงการการดูแลช่วยเหลือที่เป็ นมิตร
Walailak life & Love care
• พัฒนาระบบการดูแลนักศึกษาในโครงการ
Walailak life & Love care ผ่านระบบ
ออนไลน์
• จะจัดให้มีการให้คาปรึกษาผ่าน chat room
ในเรือ่ งความรัก สุขภาพทางเพศ สุขภาพจิต
การปรับตัว บุคลิกและความงาม และอื่นๆ
http://202.28.68.12/chat/
ความภาคภูมิใจ
โล่เชิดชูเกียรติดา้ นภารกิจการบริการวิชาการ
ในโอกาสครบปี ที่ 21 มวล.
ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 2557-2559
เครือข่าย KM
เบาหวาน
เพศวิถี
ศึกษารอบด้าน
ไข้เลือดออก
สร้างเสริม
สังคมสุขภาพ
สร้างเสริม
ความสามารถสากล
สร้างเสริม
สังคมเข้มแข็ง
สร้างเสริม
แหล่งพัฒนาความรู ้
บรรยากาศการทางาน :
โครงการสถานที่ทางานน่าอยูน่ ่าทางาน

จัดสภาพแวดล้อมในที่ทางานให้น่าอยู่
 กิจกรรม 5 ส.
 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกาย-จิต
ผลกำรประเมิน
ดีมาก ดีมาก
ดี
พื้นฐาน
2552
2553
2554
2555
สถานที่ทางาน น่าอยู่ น่าทางาน
กระบวนการที่ทาให้เกิดรางวัลจากภายนอก