พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 การกระทาที่เป็ นละเมิด ป.พ.พ. มาตรา 420 บัญญัติไว้ ว่า “ผู้ ใดจงใจหรื อประมาทเลินเล่ อ ทาต่ อบุ คคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้ เขาเสี ยหายจนถึงแก่ ชีวติ ก็ดี แก่ ร่ างกายก็ดี.

Download Report

Transcript พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 การกระทาที่เป็ นละเมิด ป.พ.พ. มาตรา 420 บัญญัติไว้ ว่า “ผู้ ใดจงใจหรื อประมาทเลินเล่ อ ทาต่ อบุ คคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้ เขาเสี ยหายจนถึงแก่ ชีวติ ก็ดี แก่ ร่ างกายก็ดี.

พระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าที่
พ.ศ.2539
การกระทาที่เป็ นละเมิด
ป.พ.พ. มาตรา 420 บัญญัติไว้ ว่า
“ผู้ ใดจงใจหรื อประมาทเลินเล่ อ ทาต่ อบุ คคลอื่น
โดยผิดกฎหมาย ให้ เขาเสี ยหายจนถึงแก่ ชีวติ ก็ดี แก่
ร่ างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรี ภาพก็ดี ทรั พ ย์ สินหรื อ
สิ ทธิอย่ างหนึ่งอย่ างใดก็ดี ท่ านว่ าผู้น้ันทาละเมิด
จาต้ องใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนเพือ่ การนั้น”
กรณีที่จะเป็ นละเมิดได้ จะต้ องเป็ นการกระทาโดยจงใจ
หรือประมาทเลินเล่อ ทาต่ อบุคคลอืน่ โดยผิดกฎหมาย
กระทาโดยจงใจ
จงใจทาให้ เสี ยหาย
เป็ นการกระทาโดยรู้ สานึกถึงผลเสี ยหายที่จะเกิดจาก
การกระทาของตน ถ้ ารู้ ว่าการกระทานั้น จะเกิดผล
เสี ยหายแก่ เขาแล้ ว ถือว่ าเป็ นการกระทาโดยจงใจ ส่ วน
จะเสี ยหายมากหรือน้ อยเพียงใดไม่ สาคัญ
ในกรณีทกี่ ระทาโดยสุ จริต แต่ เข้ าใจผิดในข้ อเท็จจริง ไม่
ถือว่ าเป็ นการกระทาโดยจงใจ
จงใจ เทียบกับคาว่ า เจตนา
“เจตนา” ตาม ป.อาญา ม.59 บัญญัติว่า
“กระทำโดยเจตนำ” ได้ แก่ การกระทาโดยรู้ สานึก
ในการที่กระทาและในขณะเดียวกันผู้กระทาประสงค์
ต่ อผลหรือย่ อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้น
1. เจตนาประสงค์ต่อผล
2. เจตนาย่อมเล็งเห็นผล
เจตนาประสงค์ ต่อผล
รู้ ถึงผลเสี ยหายที่จะเกิดแก่ เขา และผู้กระทาประสงค์ จะ
ให้ เกิดผลขึน้ ด้ วย ใกล้ เคียงกับคาว่ า “จงใจ” คือ ผู้กระทา
รู้ ว่าความเสี ยหายจะเกิดแก่ เขาเหมือนกัน ส่ วนผลเสี ย
หายจะเกิดมากหรือน้ อยก็ถอื ว่ าเป็ นจงใจหมด
เจตนาประสงค์ ต่อผลในทางอาญา ผลเกิดมากกว่ า ที่
ประสงค์ ไว้ ก็ไม่ ถอื ว่ าเป็ นเรื่องประสงค์ ต่อผล
เจตนาย่ อมเล็งเห็นผล
ผู้ ก ระท าไม่ ป ระสงค์ ต่ อ ผล แต่ ไ ด้ ฝื น
กระทาไป ทั้งๆ ที่เห็นว่ าผลจะเกิด แต่
ผู้กระทาไม่ ไยดีในผล
การกระทาโดยไม่ จงใจ แต่ ผู้กระทา
ได้ กระทาโดยขาดความระมัดระวัง
ตามสมควร
ประมาท ตาม ป.อาญา ม.59 วรรค 4
กระทาโดยประมาท
กระทาความผิดมิใช่
เจตนา แต่ กระทาโดยปราศจากความระมัดระวัง
ซึ่งบุคคลในภาวะเช่ นนั้น จักต้ อง มีตามวิสัยและ
พฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ ความระมัดระวัง
เช่ นว่ านั้นได้ แต่ หาได้ ใช้ ให้ เพียงพอไม่
การกระทาที่ขาดความระมัดระวังตามสมควร
สมควร = กระทาโดยปราศจากความระมัดระวัง
ซึ่ งบุคคลในภาวะเช่ นนั้นจักต้ องมีตามวิสัยและ
พฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ ความระมัดระวัง
เช่ นว่ านั้น แต่ หาได้ ใช้ ให้ เพียงพอไม่
ในภาวะเช่ นนั้น
บุคคล
วิสัย
พฤติการณ์
บ ุคคล
คนที่ประมาทเลินเล่ อ ไม่ ว่าจะเป็ นเด็ก ผู้ใหญ่
คนหน่ ุ ม คนแก่ คนพิ ก าร คนขั บ รถเป็ น
คนขับรถไม่ เป็ นแล้ ว ไปขับรถ
ความ
ระมัดระวังย่ อมแตกต่ างกัน
การวัดความระมัดระวังของบุคคลทีก่ ระทา
ละเมิดว่าประมาทเลินเล่อหรือไม่
จะต้องคานึงถึง
เพศ
อายุ
ฐานะ
ในภาวะเช่นนัน้
บุ ค คลที่ อ ยู่ ใ นภาวะเดี ย วกั บ ผู้ ก ระท า
โดยเทียบดูว่า บุคคลทั่วไปหรือวิญญูชน
ที่ อ ยู่ ในภาวะเช่ นนั้ นควรใช้ ความ
ระมัดระวังแค่ ไหน
วิสยั
ลักษณะที่เป็ นอยู่ของบุคคลผู้กระทาให้ ผู้อนื่
ได้ รับความเสี ยหาย เช่ น
วิสัยเด็กต้ องซุกซน
คนพิ ก ารทางกายหรื อใจท าอะไร
บางอย่ างเหมือนคนปกติไม่ ได้
พฤติการณ์
ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ป ระกอบการกระท าของผู้ ก ระท าให้ เ กิด
ความเสี ยหาย นอกจากคานึงถึงบุคคลในภาวะที่เกิดขึ้น
และวิ สั ย ของผู้ น้ั น แล้ ว จะต้ อ งดู พ ฤติ ก ารณ์ ภ ายนอก
ประกอบด้ วย เช่ น การขับรถ
ถนนเรียบ ขับได้ ตรง ปกติ นิ่ง
ถนนมีหลุม พยายามหลบหลีก หากหลบไม่ ได้ กโ็ ยกคลอน
ถนนลูกรัง มีฝ่ ุนฟ้ งุ ก้ อนหินดีดกระเด็น
ที่สว่ำง มองเห็นได้ ชัด ที่มืด มองอะไรไม่ เห็น
มาตรา 4
“เจ้ าหน้ าที่ ”
ข้ าราชการ พนักงาน
ลูกจ้ าง หรื อผ้ ูปฏิบัติงานประเภทอื่นไม่ ว่า
จะเป็ นการแต่ งตั้ ง ในฐานะเป็ น
กรรมการหรือฐานะอืน่ ใด
“หน่ วยงานของรั ฐ ”
กระทรวง ทบวง กรม
หรือส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ ออย่ างอื่นและมี ฐานะเป็ น
กรมราชการส่ วนภูมิภาค ราชการส่ วนท้ องถิ่น และ
รั ฐ วิส าหกิจ ที่ต้ั ง ขึ้น โดยพระราชบั ญ ญัติ ห รื อ พระ
ราชกฤษฎีกา และให้ หมายความรวมถึงหน่ วยงาน
อื่ น ของรั ฐ ที่ มี พ ระราชกฤษฎี ก าก าหนดให้ เป็ น
หน่ วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติด้วย
มาตรา 5
หน่ วยงานของรั ฐต้ องรั บผิดต่ อผู้เสี ยหาย ในผลแห่ ง
ละเมิ ด ที่ เ จ้ า หน้ า ที่ ของตนได้ ก ระท าในการปฏิบั ติ
หน้ าที่ ในกรณีนีผ้ ู้เสี ยหายอาจฟ้องหน่ วยงานของรัฐ
ดังกล่ าวได้ โดยตรงแต่ จะฟ้องเจ้ าหน้ าที่ไม่ ได้ ถ้ าการ
ละเมิดเกิดจากเจ้ าหน้ าที่ ซึ่ งไม่ ได้ สังกั ดหน่ วยงาน
ของรั ฐ แห่ งใดให้ ถื อ ว่ ากระทรวงการคลั ง เป็ น
หน่ วยงานของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง
มาตรา 6
ถ้ าการกระทาละเมิดของเจ้ าหน้ าที่มิใช่ การ
กระทาในการปฏิบัติหน้ าที่ เจ้ าหน้ าที่ต้อง
รับผิดในการนั้นเป็ นการเฉพาะตัว ในกรณี
นี้ผู้เสี ยหายอาจฟ้องเจ้ าหน้ าที่ได้ โดยตรง
แต่ จะฟ้องหน่ วยงานของรัฐไม่ ได้
มาตรา 7
ในคดีที่ผู้เสี ยหายฟ้องหน่ วยงานของรัฐ
ถ้ า
หน่ วยงานของรัฐเห็นว่ าเป็ นเรื่องที่เจ้ าหน้ าที่ต้อง
รับผิดหรือต้ องร่ วมรับผิด หน่ วยงานของรัฐหรือ
เจ้ าหน้ าที่ดังกล่ าวมีสิทธิขอให้ ศาลที่ พิจารณาคดี
นั้ น อยู่ เ รี ย กเจ้ า หน้ าที่ ห รื อ หน่ ว ยงานของรั ฐ
แล้ วแต่ กรณีเข้ ามาเป็ นคู่ความในคดี
ถ้ า ศาลพิ พ ากษายกฟ้ องเพราะเหตุ ที่
หน่ วยงานของรัฐหรือเจ้ าหน้ าที่ที่ถูกฟ้องมิใช่
ผู้ รั บ ผิด ให้ ข ยายอายุ ค วามฟ้ องร้ อ งผู้ ที่ ต้ อ ง
รั บผิด ซึ่ งมิได้ ถูกเรี ยกเข้ ามาในคดีออกไปถึง
6 เดือนนับแต่ วนั ที่คาพิพากษานั้นถึงทีส่ ุ ด
มาตรา 8
ในกรณีที่หน่ วยงานของรัฐต้ องรับผิดใช้ ค่าสิ นไหม
ทดแทนแก่ ผ้ ูเสี ยหายเพื่อการละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
ให้ หน่ วยงานของรั ฐมีสิทธิเรี ยกให้ เจ้ าหน้ าที่ผ้ ูทา
ละเมิ ด ชดใช้ ค่ าสิ นไหมทดแทนดั ง กล่ าวแก่
หน่ วยงานของรัฐได้ ถ้ าเจ้ าหน้ าที่ได้ กระทาการนั้น
ไปด้ วยความจงใจหรื อประมาทเลินเล่ อ อย่ า ง
ร้ ายแรง
การประมาทเลินเล่ออย่ างร้ ายแรงขึน้ อยู่กบั ข้ อเท็จจริง
แต่ ละกรณีไป
ความประมาทเลินเล่ อ
การกระทาที่มิใช่ โดย
เจตนาประสงค์ ต่อผลหรื อย่ อมเล็งเห็นผล แต่ เ ป็ น
การกระทาโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคล
ในภาวะเช่ นนั้นจักต้ องมีตามวิสัยและพฤติการณ์
ความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
บุคคลได้ กระทาลงไปโดยขาดความระมัดระวัง ที่
เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์ มาตรฐานอย่ างมาก เช่ น
คาดเห็ น ได้ ว่ า ความเสี ย หายอาจเกิด ขึ้น ได้ หรื อ
หากระมัดระวังสั กเล็ก น้ อยก็คงได้ คาดเห็ น การ
อาจเกิดความเสี ยหายเช่ นนั้น
สิ ทธิเรียกให้ ชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนจะมีได้
เพี ย งใดให้ ค านึ ง ถึ ง ระดั บ ความร้ ายแรง
แห่ งการกระทาและความเป็ นธรรมในแต่ ล ะ
กรณีเป็ นเกณฑ์ โดยมิต้องให้ ใช้ เต็ม จานวน
ของความเสี ยหายก็ได้
ถ้ าการละเมิดเกิดจากความผิดหรือ ความ
บกพร่ องของหน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ
ระบบการดาเนิ นงานส่ วนรวม ให้ หั ก
ส่ วนแห่ งความรับผิดดังกล่ าว ออกด้ วย
ในกรณี ที่ ก ารละเมิ ด เกิ ด จากเจ้ า หน้ าที่
หลายคนมิให้ นาหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่ วม
มาใช้ บังคับและเจ้ าหน้ าที่แต่ ละคน ต้ อง
รับผิดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน เฉพาะส่ วน
ของตนเท่ านั้น
มาตรา 11
ในกรณีทผี่ ้ ูเสี ยหายเห็นว่ า หน่ วยงานของรัฐต้ องรับ
ผิ ด ตามมาตรา 5 ผู้ เสี ยหายจะยื่ น ค าขอต่ อ
หน่ ว ยงานของรั ฐ ให้ พิ จ ารณาชดใช้ ค่ า สิ น ไหม
ทดแทนสาหรั บความเสี ยหายที่เกิดแก่ ตนเองก็ได้
ในการนีห้ น่ วยงานของรัฐต้ องออกใบรับคาขอให้ ไว้
เป็ นหลักฐานและพิจารณาคาขอนั้นโดยไม่ ชั กช้ า
เมื่อหน่ วยงานของรัฐ
มีคาสั่ งเช่ นใดแล้ วหากผู้ เสี ยหายยังไม่ พอใจในผล
การวินิจ ฉั ย ของหน่ วยงานของรั ฐก็ใ ห้ มีสิท ธิ ร้อง
ทุ ก ข์ ต่ อคณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ร้ องทุ ก ข์ ตาม
กฎหมายว่ าด้ วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ ภายใน
90 วัน นับแต่ วนั ที่ตนได้ รับแจ้ งผลการวินิจฉัยให้
หน่ วยงานของรัฐพิจารณาคาขอที่ได้ รับตาม วรรค
หนึ่ง ให้ แล้ วเสร็จภายใน180วันหากเรื่องใด
ไม่ อ าจพิ จ ารณาได้ ทั น ในก าหนดนั้ น จะต้ อง
รายงานปัญหาและอุปสรรคให้ รัฐมนตรี เจ้ า
สั ง กัด หรื อ ก ากับ หรื อ ควบคุ ม ดู แ ลหน่ ว ยงาน
ของรั ฐแห่ งนั้นทราบและขออนุมัติ ขยาย
ระยะเวลาออกไปได้ แต่ รัฐมนตรี ดังกล่ าวจะ
พิจารณาอนุมัติให้ ขยายระยะเวลาให้ อีก ได้
ไม่ เกิน 180 วัน
มาตรา 9
ถ้ า หน่ วยงานของรั ฐ หรื อ เจ้ า หน้ าที่ ไ ด้ ใช้
ค่ า สิ น ไหมทดแทนแก่ ผ้ ู เ สี ย หาย สิ ท ธิ ที่ จ ะ
เรี ยกให้ อีกฝ่ ายหนึ่งชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
แก่ ตน ให้ มกี าหนดอายุความ 1 ปี นับแต่ วนั ที่
หน่ วยงานของรั ฐหรื อเจ้ าหน้ าที่ ไ ด้ ใช้
ค่ าสิ นไหมทดแทนนั้นแก่ ผู้เสี ยหาย
มาตรา 10
ในกรณีทเี่ จ้ าหน้ าทีเ่ ป็ นผู้กระทาละเมิดต่ อหน่ วยงาน
ของรั ฐไม่ ว่าจะเป็ นหน่ วยงานของรั ฐที่ผู้น้ันอยู่ใน
สั งกัดหรือไม่ ถ้ าเป็ นการกระทาในการปฏิบั ติหน้ าที่
การเรี ยกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทนจากเจ้ าหน้ าที่ ให้ นา
บทบัญญัติมาตรา 8 มาใช้ บังคับโดยอนุ โลม แต่ ถ้า
มิ ใ ช่ ก ารกระท าในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ ห้ บั ง คับ ตาม
บทบัญญัติแห่ งประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์
สิ ทธิเรี ยกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทนจากเจ้ าหน้ าที่ ท้ังสอง
ประการตามวรรคหนึ่ง ให้ มีกาหนดอายุความ 2 ปี
นั บ แต่ วั น ที่ ห น่ วยงานของรั ฐ รู้ ถึ ง การละเมิ ด และ
รู้ ตั ว เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ จ ะพึง ต้ อ งใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทนและ
กรณีที่หน่ วยงานของรั ฐเห็นว่ าเจ้ าหน้ าที่ ผู้น้ันไม่ ต้อง
รั บ ผิ ด แต่ ก ระทรวงการคลั ง ตรวจสอบแล้ ว เห็ น ว่ า
ต้ อ งรั บ ผิ ด ให้ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ องค่ า สิ น ไหมทดแทนนั้ น
มีกาหนดอายุความ 1 ปี นับแต่ วันที่หน่ วยงานของรั ฐ
มีคาสั่ งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง
มาตรา 12
ในกรณี ที่ เ จ้ า หน้ าที่ ต้ อ งชดใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทนที่
หน่ วยงานของรัฐได้ ใช้ ให้ แก่ ผู้เสี ยหายตามมาตรา 8 หรือ
ในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ต้องใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนเนื่องจาก
เจ้ าหน้ าที่ผู้น้ันได้ กระทาละเมิดต่ อหน่ วยงานของรัฐตาม
มาตรา 10 ประกอบกับมาตรา 8
ให้ หน่ วยงานของ
รั ฐที่เสี ยหายมีอานาจออกคาสั่ งเรี ยกให้ เจ้ าหน้ าที่ผ้ ูน้ัน
ชาระเงินดังกล่าวภายในเวลาที่กาหนด
มาตรา 13
ให้ คณะรัฐมนตรีจัดให้ มีระเบียบเพือ่ ให้ เจ้ าหน้ าที่
ซึ่ ง ต้ องรั บ ผิ ด ตามมาตรา 8 และมาตรา 10
สามารถผ่ อ นช าระเงิ น ที่ จ ะต้ อ งรั บ ผิ ด นั้ นได้
โดยคานึงถึงรายได้ ฐานะครอบครั วและ ความ
รับผิดชอบและพฤติการณ์ แห่ งกรณีประกอบด้ วย
มาตรา 14
เมื่อได้ มีการจัดตั้งศาลปกครองขึน้ แล้ ว สิ ทธิ
ร้ องทุกข์ ต่อคณะกรรมการวินิจฉัย ร้ องทุกข์
ตามมาตรา 11 ให้ ถือว่ า เป็ นสิ ทธิฟ้ อง
คดีต่อศาลปกครอง
เดิม
ฟ้ องศาลยุ ติธรรมและใช้ ห ลัก เกณฑ์
ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ปัจจุบนั
ผู้ฟ้องต้ องพิจารณาหลักเกณฑ์ ใน พ.ร.บ.
ความรั บผิ ด ทางละเมิ ด ของ จนท .
พ.ศ.2539 และอาจฟ้องที่ศาลปกครอง
หรือศาลยุตธิ รรมแล้วแต่ กรณี
ผู ้ฟ้ องต้อ งพิ จ ารณาก่ อ นว่ า เป็ นค ดี
ละเมิ ดที่อยู่ในอานาจของศาลปกครอง
หรือที่เรียกว่า “คดีละเมิดทางปกครอง”
หรือไม่ ซึ่ งจะต้อ งพิ จ ารณาตาม ม. 9(1)
้ ศาลปกครองฯ
(2) (3) ของ พ.ร.บ.จัดตัง
คดีละเมิดอาจมีบคุ คล 3 ฝ่ ายเข้ามาเกี่ยวข้อง
1. ผูเ้ สียหาย
2. เจ้าหน้ าที่
3. หน่ วยงานของรัฐที่เจ้าหน้ าที่ผนู้ ัน้
สังกัด หรือกระทรวงการคลัง
ซึ่งอาจฟ้ องศาลปกครองได้หลายกรณี ดังนี้
คดี ป กครองที่ เ ป็ นกำรฟ้ องให้ เ พิ ก ถอน
คำสั่งทำงปกครองตำม ม.9 วรรคหนึ่ง(1)
แห่ง พ.ร.บ.จัดตัง้ ศำลปกครองฯ ได้แก่
กรณี ที่ ห น่ วยงานของรัฐ ใช้ อ านาจตาม ม.12
แห่ ง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ ออกคาสัง่
เรียกให้ เจ้าหน้ าที่ ที่กระทาละเมิดในการปฏิบตั ิ
หน้ าที่ ช ดใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทนแก่ ห น่ วยงาน
ของรัฐ ภายในเวลาที่กาหนด
คดี ป กครองเกี่ ย วกั บ การที่ ห น่ วยงาน
ทางปกครองละเลยต่ อหน้ าที่หรือปฏิบัติ หน้ าที่
ล่ าช้ าเกินสมควรตาม ม.9
วรรคหนึ่ง (2)
แห่ ง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ ตาม พ.ร.บ.
ความรับผิดทางละเมิดฯ
ในกรณี เ จ้ า หน้ า ที่ ก ระท าละเมิ ดในการ
ปฏิบตั ิ หน้ าที่ ต่อบุคคลภายนอก ผู้เสี ยหาย
ย่อมมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจาก
หน่ วยงานของรัฐได้ 2 วิธี
1. ฟ้ องคดีต่อศาล
2. ยื่นคาขอต่อหน่ วยงานของรัฐให้
พิจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
คดี พิ พ าทเกี่ ย วกับ การกระท าละเมิ ด หรื อ
ความรับผิดอย่างอื่นของหน่ วยงานทางปกครอง
หรือเจ้าหน้ าที่ ของรัฐอันเกิดจากการใช้ อานาจ
ตามกฎหมายหรื อ จากกฎ ค าสัง่ ทางปกครอง
หรื อ ค าสัง่ อื่ น หรื อ จากการละเลยต่ อ หน้ าที่
ตามที่ กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบตั ิ หรือปฏิบตั ิ
หน้ าที่ดงั กล่าวล่าช้าเกินสมควร ตาม ม.9 วรรค
หนึ่ ง (3) แห่ง พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลปกครองฯ
คดี ล ะเมิ ด ของหน่ วยงานทางปกครองหรื อ
เจ้าหน้ าที่ ของรัฐที่ อยู่ในอานาจศาลปกครอง
จะต้องเข้าเงื่อนไขทัง้ 2 ประการ ดังนี้
1. เป็ นคดี ห รื อ ข้ อ พิ พ าทที่ เ กี่ ย วเนื่ องกับ
ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ น ท า ง ป ก ค ร อ ง ข อ ง
หน่ วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้ าที่ของรัฐ
2. แม้จะเป็ นคดีตามข้อ 1 ผู้เสียหายจะฟ้ องคดี
ต่อศาลปกครองได้กต็ ่ อเมื่อเป็ นคดีหรือข้อพิพาท
ที่เกี่ยวเนื่ องกับการปฏิบตั ิ ใน 4 กรณี
(1) การใช้อานาจตามกฎหมาย
(2) การออกกฎ คาสังทางปกครองหรื
่
อคาสังอื
่ ่น
(3) การละเลยต่ อหน้ าที่ ตามที่ กฎหมายกาหนด
ให้ต้องปฏิบตั ิ
(4) การปฏิบตั ิ หน้ าที่ดงั กล่าวล่าช้าเกินสมควร
1. เงือ่ นไขเกีย่ วกับผู้มสี ิ ทธิฟ้องคดีและความสามารถของผู้ฟ้องคดี
2. เงือ่ นไขเกีย่ วกับคาขอให้ ศาลมีคาบังคับเพือ่ แก้ ไขความเดือดร้ อน
หรือเสี ยหายของผู้ฟ้องคดี
3. เงือ่ นไขเกีย่ วกับการดาเนินการแก้ ไขเยียวยาความเดือดร้ อนหรือ
เสี ยหายของผู้ฟ้องคดี
4. เงือ่ นไขเกีย่ วกับคาฟ้ องและเอกสารที่ยนื่ ส่ งศาล
5. เงือ่ นไขเกีย่ วกับระยะเวลาในการฟ้ องคดี
6. เงือ่ นไขเกีย่ วกับค่ าธรรมเนียมศาล
7. เงือ่ นไขเกีย่ วกับความจาเป็ นต้ องขอให้ ศาลออกคาบังคับ
เพือ่ แก้ ไขหรือบรรเทาความเดือดร้ อนหรือความเสี ยหาย
8. เงือ่ นไขเกีย่ วกับข้ อห้ ามในการฟ้องคดีต่อศาล
และเงือ่ นไขอืน่ ๆ
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับความรับผิด
ทาง
ละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.
2539
คณะกรรมการ
คณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิด
เจ้ าหน้ าที่
ข้ า ร า ช ก า ร พ นั ก ง า น ลู ก จ้ า ง ห รื อ
ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านประเภทอื่น ไม่ ว่ า จะเป็ นการ
แต่ งตั้งในฐานะเป็ นกรรมการหรือฐานะ อื่ น
ใด บรรดาซึ่ ง ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง หรื อ ถู ก สั่ ง ให้
ปฏิบัติงานให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐ
ความเสี ยหาย
ความเสี ยหายที่เกิดจาก
การละเมิดอย่ างใดๆ แต่ ไม่ รวมถึง
การออกคาสั่ งหรือกฎ
หมวด 1
กรณีเจ้ าหน้ าที่กระทาละเมิด
ต่ อหน่ วยงานของรัฐ
หน่ วยงานของรัฐ กระทรวง ทบวง กรม
หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ ออย่ างอื่ นและ มี
ฐานะเป็ นกรม ราชการส่ วนภูมิภาค ราชการ
ส่ วนท้ อ งถิ่ น รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ จั ด ตั้ งขึ้ น โดย
พระราชบัญญัติหรื อพระราชกฤษฎีกา หรื อ
หน่ ว ยงานอื่ น ของรั ฐ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ย
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่ หน่ วยงานของรั ฐ
แห่ งใดและหัวหน้ าหน่ วยงานของรั ฐแห่ งนั้ น
มี เ หตุ อั น ควรเชื่ อ ว่ า เกิ ด จากการกระท าของ
เจ้ า หน้ า ที่ ข องหน่ ว ยงานของรั ฐ แห่ ง นั้ น ให้
หั ว หน้ าหน่ วยงานของรั ฐ ดั ง กล่ า วแต่ ง ตั้ ง
คณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริงความรับผิด ทาง
ละเมิดขึน้ คณะหนึ่งโดยไม่ ชักช้ า
เพื่อพิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้อง
รับผิดและจานวนค่ าสิ นไหมทดแทนที่ ผ้ ูน้ัน
ต้ องชดใช้ คณะกรรมการฯ ให้ มีจานวน ไม่
เกิ น 5 คน โดยแต่ ง ตั้ ง จากเจ้ า หน้ า ที่ ข อง
หน่ ว ยงานของรั ฐ แห่ ง นั้ น หรื อ หน่ ว ยงาน
ของรัฐอืน่ ตามที่เห็นสมควร
กระทรวงการคลังอาจจะประกาศกาหนดว่ า ใน
กรณีความเสี ยหายที่เกิดขึ้นมีมูลค่ าความเสี ยหาย
ตั้ง แต่ จ านวนเท่ า ใดจะให้ มีผู้ แ ทนของหน่ ว ยงาน
ของรัฐหน่ วยงานใดเข้ าร่ วมเป็ นกรรมการด้ วยก็ได้
ในการแต่ งตั้งคณะกรรมการให้ กาหนดเวลาแล้ ว
เสร็จของการพิจารณาของคณะกรรมการไว้ ด้วย
ข้ อ 9 ถ้ าเจ้ าหน้ าที่ของหน่ วยงานของรั ฐ
แ ห่ ง ห นึ่ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ย แ ก่
หน่ วยงานของรัฐอีกแห่ งหนึ่งให้ เจ้ าหน้ าที่ผู้ที่
ทาให้ เกิดความเสี ยหายแจ้ งต่ อผู้บังคับบัญชา
และให้ มี ก ารรายงานตามล าดั บ ชั้ นจนถึ ง
หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐที่ตนสั งกัด เว้ นแต่
เจ้ าหน้ าทีผ่ ้ ูทาให้ เกิดความเสี ยหาย
รมต.
แจ้ งต่ อ
กรรมการ
ไม่ สังกัด ไม่ มีผบช.
แจ้ งต่ อ
นรม.
แจ้ งต่ อ
หน.หน่ วยงาน
กค.
ผู้กากับดูแล
(1)
(2)
(3)
(4)
แจ้ งต่ อ
ข้ อ 10 ในกรณีความเสี ยหายเกิดขึน้ ตาม
ข้ อ 9 ให้ หัวหน้ าหน่ วยงานของรั ฐที่ได้ รับความ
เสี ย หายและหั ว หน้ า หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่
เจ้ าหน้ าที่ ผู้ นั้ นสั งกั ด หรื อผู้ ซึ่ งระเบี ย บนี้
กาหนดให้ เป็ นผู้รับแจ้ งตามข้ อ 9 (1) (2) (3) หรือ
(4) แล้ วแต่ กรณี มี อ านาจร่ วมกั น แต่ งตั้ ง
คณะกรรมการ
ข้ อ 11
ในกรณี ที่ เ กิ ด ความเสี ยหาย
แก่ หน่ วยงานของรัฐมากกว่ าหนึ่งแห่ งและหรือ
ความเสี ยหายเกิ ด จากผลการกระท าของ
เจ้ าหน้ าที่หลายหน่ วยงานให้ ผู้มีอานาจแต่ งตั้ง
คณะกรรมการตามข้ อ 8 หรือข้ อ 10 บรรดา ที่
เ กี่ ย ว ข้ อ ง แ ล้ ว แ ต่ ก ร ณี ร่ ว ม กั น แ ต่ ง ตั้ ง
คณะกรรมการ
ข้ อ 1 2 ถ้ า ผู้ มี อ า น า จ แ ต่ ง ตั้ ง
คณะกรรมการตามข้ อ 8 ข้ อ 10 หรือข้ อ
11 ไม่ ด าเนิ น การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
ภายในเวลาอันควรหรื อแต่ งตั้งกรรมการ
โดยไม่ เ หมาะสม
ให้ ป ลั ด กระทรวง
ปลัดทบวงหรือรัฐมนตรี
ซึ่ งเป็ นผู้บังคับบัญชาหรื อกากับดูแลหรื อ
ควบคุมการปฏิบัติงานของบุคคลดังกล่ าว
มี อ านาจแต่ งตั้ งคณะกรรมการหรื อ
เปลี่ ย นแปลงกรรมการแทนผู้ มี อ านาจ
แต่ งตั้งนั้นได้ ตามที่เห็นสมควร
ข้ อ 13 ในการประชุมคณะกรรมการ ต้ อง
มีกรรมการมาประชุมไม่ น้อยกว่ ากึง่ หนึ่งของ
กรรมการทั้งหมดจึงจะเป็ นองค์ ประชุม ถ้ า
ประธานกรรมการไม่ อยู่ในที่ประชุมหรื อไม่
สามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ ใ ห้ ก รรมการที่ ม า
ประชุมหรื อเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งขึน้
ทาหน้ าที่แทน
มติทปี่ ระชุมให้ ถอื เสี ยงข้ างมาก กรรมการ
ที่ไม่ เห็นด้ วยกับมติที่ประชุม
อาจ
ทาความเห็นแย้ งมติที่ประชุม รวมไว้
ในความเห็นของคณะกรรมการได้
ข้ อ 1 4
ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ ห้
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร มี อ า น า จ ห น้ า ที่ พิ จ า ร ณ า
ข้ อเท็จจริ งอันเกี่ยวกับการกระทาละเมิ ด โดย
ต ร ว จ ส อ บ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง แ ล ะ ร ว บ ร ว ม
พยานหลักฐานทั้งปวงที่เกี่ยวข้ อง รั บฟั งพยาน
บุ ค คล หรื อ พยานผู้ เ ชี่ ย วชาญ และตรวจสอบ
เอกสาร วัตถุ หรือสถานที่
ข้ อ 15 คณะกรรมการต้ องให้
โอกาสแก่ เ จ้ าหน้ าที่ ที่ เ กี่ ย วข้ องหรื อ
ผู้เสี ยหายได้ ชี้แจงข้ อเท็จจริ งและโต้ แย้ ง
แสดงพยานหลั ก ฐานของตนอย่ าง
เพียงพอและเป็ นธรรม
ข้ อ 16
เมื่อคณะกรรมการพิจารณาเสร็จ
แล้ ว ให้ เ สนอความเห็ น ไปยั ง ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง ถ้ า ผู้
แต่ งตั้งขอให้ ทบทวนหรื อสอบสวนเพิ่มเติ มให้
คณะกรรมการรีบดาเนินการให้ เสร็จสิ้นภายใน
เวลาทีผ่ ู้แต่ งตั้งกาหนด
ความเห็นของคณะกรรมการต้ องมีข้อเท็จจริ ง
และข้ อกฎหมายที่แจ้ งชัด และต้ องมีพยานหลักฐานที่
สนับสนุนประกอบด้ วย
ความเห็นของคณะกรรมการไม่ ผูกมัดผู้แต่งตั้ง
หรือรัฐที่จะมีความเห็นเป็ นอย่ างอืน่
ข้ อ 17 เมื่อผู้แต่ งตั้งได้ รับผล การ
พิ จ ารณาของคณะกรรมการแล้ ว ให้
วิ นิ จ ฉั ย สั่ ง การว่ า ผู้ รั บ ผิ ด ชดใช้ ค่ า
สิ นไหมทดแทนหรื อไม่ และเป็ นจานวน
เท่ าใด แต่ ยังมิต้องแจ้ งการสั่ งการให้ ผู้ที่
เกีย่ วข้ องทราบ
ให้ ผู้แต่ งตั้งส่ งสานวนภายในเจ็ดวัน
นั บ แ ต่ วั น วิ นิ จ ฉั ย สั่ ง ก า ร ใ ห้
กระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ เว้ น
แต่ เป็ นเรื่องที่กระทรวงการคลังประกาศ
ก า ห น ด ว่ า ไ ม่ ต้ อ ง ร า ย ง า น ใ ห้
กระทรวงการคลังตรวจสอบ
ใ น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร พิ จ า ร ณ า ข อ ง
กระทรวงการคลัง ให้ ผู้แต่ งตั้งสั่ งการ ให้
ตระเตรี ย มเรื่ อ งให้ พ ร้ อมส าหรั บ การออก
ค าสั่ ง ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ช าระค่ า สิ น ไหมทดแทน
หรือดาเนินการฟ้ องคดีเพือ่ มิให้ ขาดอายุความ
สองปี นับจากวันทีผ่ ู้แต่ งตั้งวินิจฉัยสั่ งการ
ให้ กระทรวงการคลังพิจารณาให้ แล้ วเสร็ จ
ก่ อนอายุความสองปี สิ้นสุดไม่ น้อยกว่ า หก
เดือน ถ้ ากระทรวงการคลังไม่ แจ้ งผลการ
ตรวจสอบให้ ท ราบภายในก าหนดเวลา
ดัง ก ล่ า ว ใ ห้ ผ้ ู แ ต่ ง ตั้ ง มี ค า สั่ ง ต า ม ที่
เห็นสมควรและแจ้ งให้ ผู้เกีย่ วข้ องทราบ
เว้ น แต่ ในกรณี ห น่ วยงานของรั ฐ นั้ น
เป็ นราชการส่ วนท้ องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ที่
จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติห รื อ พระ
ราชกฤษฎีก าหรื อ หน่ วยงานอื่นของรั ฐ
ตามกฎหมายว่ าด้ วยความรั บผิด ทาง
ละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
ให้ กระทรวงการคลังพิจารณาให้ แล้ วเสร็ จ
ก่ อ นอายุ ค วามสองปี สิ้ น สุ ด ไม่ น้ อ ยกว่ า
หนึ่งปี ถ้ ากระทรวงการคลังไม่ แจ้ งผล การ
ตรวจสอบให้ ท ราบภายในก าหนดเวลา
ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง มี ค า สั่ ง ต า ม ที่
เห็นสมควรและแจ้ งให้ ผ้ ูทเี่ กีย่ วข้ องทราบ
ข้ อ 18 เมื่อกระทรวงการคลังพิจารณา
เสร็ จแล้ ว ให้ ผู้แต่ งตั้งมีคาสั่ งตามความเห็น
ของกระทรวงการคลังและแจ้ งคาสั่ งนั้ นให้
ผู้ที่เกี่ยวข้ องทราบ แต่ ในกรณีที่หน่ วยงาน
ของรั ฐที่ เสี ยหายเป็ นราชการส่ วนท้ อ งถิ่น
รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึน้ โดยพระราชบัญญัติ
หรื อพระราชกฤษฎีกาหรื อ หน่ วยงานอื่ น
ของรั ฐ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยความรั บ ผิ ด
ทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ ให้ ผู้บังคับบัญชา
หรื อ ผู้ ก ากั บ ดู แ ลหรื อ ควบคุ ม หน่ ว ยงาน
ของรัฐแห่ งนั้นวินิจฉัยสั่ งการให้ หน่ วยงาน
ของรัฐดังกล่ าวปฏิบัติตามที่เห็นว่ าถูกต้ อง
ในกรณีที่หน่ วยงานของรั ฐที่เสี ยหายตาม
ว ร ร ค ห นึ่ ง สั่ ง ก า ร ต า ม ค ว า ม เ ห็ น ข อ ง
กระทรวงการคลัง ให้ ผู้แต่ งตั้งดาเนินการ เพื่อ
ออกคาสั่ งให้ ชาระค่ าสิ นไหมทดแทนหรื อฟ้อง
คดีต่อศาลอย่ าให้ ขาดอายุความหนึ่งปี นับแต่
วันที่ผู้แต่ งตั้งแจ้ งคาสั่ งให้ ผู้รับผิดชอบชดใช้ ค่า
สิ นไหมทดแทนทราบ
ข้ อ 19 การแจ้ ง ค าสั่ ง ให้ ผู้ ที่เ กี่ย วข้ อ ง
ทราบ ตามข้ อ 17 และข้ อ 18 ให้ แจ้ งด้ วยว่ า
ผู้ น้ั น มี สิ ท ธิ ร้ องทุ ก ข์ ต่ อ คณะกรรมการ
วิ นิ จ ฉั ย ร้ องทุ ก ข์ แ ละฟ้ องคดี ต่ อ ศาลได้
พร้ อมกับแจ้ งกาหนดอายุความร้ องทุกข์
และอายุความฟ้องคดีต่อศาลให้ ทราบด้ วย
ข้ อ 20 ในกรณี ร่ วมกั น แต่ งตั้ ง
คณะกรรมการตามข้ อ 10 หรือข้ อ 11 ให้
ผ้ ูแต่ งตั้งร่ วมร่ วมกันวินิจฉัยสั่ งการ และ
เสนอความเห็ น ทั้ ง หมด ไม่ ว่ า จะต้ อ ง
ตรงกันหรือไม่ ไปยังกระทรวงการคลัง
และเมื่อได้ ดาเนิ นการตามข้ อ 17 และ
ข้ อ 18 แล้ ว ถ้ าผลในชั้ นที่สุดผู้ แต่ งตั้ง
ร่ ว ม ยั ง มี ค ว า ม เ ห็ น ต า ม ข้ อ 1 8
แตกต่ างกันจนหาข้ อยุติไม่ ได้ กใ็ ห้ เสนอ
เรื่องให้ คณะรัฐมนตรีวนิ ิจฉัยชี้ขาด
ข้ อ 21 ในการพิ จ ารณาของ
กระทรวงการคลังให้ มี “คณะกรรมการ
พิจารณาความรับผิดทางแพ่ ง” เป็ นผู้
พิ จ า ร ณ า ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ต่ อ
กระทรวงการคลัง
ให้ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งประกอบด้ วย
อธิ บ ดี ก รมบั ญ ชี ก ลางเป็ นประธานกรรมการ
ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทน
สานักงานอัยการสู งสุ ด ผู้แทนสานักงาน ตรวจ
เงินแผ่ นดิน และผู้แทนกระทรวงการคลังตาม
จ านวนที่ จ าเป็ นซึ่ ง ปลั ด กระทรวงการคลั ง
แต่ งตั้งเป็ นกรรมการ
คณะกรรมการพิจารณาความรั บผิด
ทางแพ่ ง อาจแต่ ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการ
เพือ่ ปฏิบัติหน้ าที่ตามที่มอบหมายได้
ในการประชุ ม ของคณะกรรมการ
พิจารณาความรั บผิดทางแพ่ งให้ นาความ
ในข้ อ 13 มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
ข้ อ 22
ในกรณี ที่ ค วามเสี ย หายเกิ ด แก่ เ งิ น
ให้ ใช้ เป็ นเงินแต่ เพียงอย่ างเดียว
ข้ อ 23 ในกรณี ที่ ค วามเสี ย หาย
มิได้ เกิดแก่ เงินจะดาเนินการดังต่ อไปนี้
แทนการชาระเงินก็ได้
ชดใช้ เป็ น
ทรัพย์ สิน
อย่ างเดียว
ซ่ อมแซม
หรือ
บูรณะ
ทรัพย์ สิน
ชดใช้
ทรัพย์ สิน
ซ่ อมแซม
หรือ
บูรณะ
การชดใช้ ค่าเสี ยหายเป็ นทรั พย์ สินหรื อ การ
ซ่ อมแซมหรื อบูรณะทรั พย์ สินตามวรรคหนึ่ง
ให้ มีการตรวจรั บตามระเบียบว่ าด้ วยการพั สดุ
ของทางราชการหรื อ ของหน่ ว ยงานของรั ฐ
นั้นๆการทาสั ญญาตามวรรคหนึ่งต้ องจั ด ให้ มี
ผู้คา้ ประกันและในกรณีทเี่ ห็นสมควรจะให้
วางหลักประกันด้ วยก็ได้
ข้ อ 24 ในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ผู้รับผิดตาย ให้
รี บดาเนินการตามระเบียบนี้โดยอนุโลมเพื่อให้
ได้ ข้อยุติโดยเร็ วและระมัดระวังอย่ าให้ ขาดอายุ
ความมรดก ในกรณีที่ผู้แต่ งตั้งเห็นว่ าเจ้ าหน้ าที่
ต้ อ ง รั บ ผิ ด ชด ใช้ ค่ า สิ น ไ ห ม ท ด แ ท น แ ก่
หน่ วยงานของรัฐ ให้ ส่งเรื่องให้ พนักงานอัยการ
เพือ่ ฟ้องผู้จดั การมรดกหรือทายาทต่ อไป
ใ น ก ร ณี ข อ ง ผ้ ู แ ต่ ง ตั้ ง ร่ ว ม ถ้ า มี
ความเห็ น แตกต่ า งกั น ให้ ด าเนิ น การไป
พลางก่ อ นตามความเห็ น ของผู้ แ ต่ ง ตั้ ง
สาหรั บหน่ วยงานของรั ฐที่เสี ยหาย และ
ถ้ าต่ อมามีข้อยุติเป็ นประการใดให้ แก้ ไข
เปลีย่ นแปลงการดาเนินการไปตามนั้น
ข้ อ 25 ในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ต้องรั บผิดและขอ
ผ่ อนชาระค่ าสิ นไหมทดแทนไม่ ว่าจะเกิดขึน้ ใน
ขั้ น ตอนใดให้ หน่ วยงานของรั ฐ ที่ เ สี ย หาย
ก าหนดจ านวนเงิ น ที่ ข อผ่ อ นช าระนั้ น ตาม
ความเหมาะสม โดยคานึงถึงรายได้ ค่าใช้ จ่ าย
ในการด ารงชี พตามฐานานุ รู ป ของ
เจ้ าหน้ าที่
ความรั บผิดชอบที่บุคคลนั้นมีอยู่ตาม
กฎหมายหรือศีลธรรมอันดี และพฤติการณ์
แห่ งกรณีประกอบด้ วย
ในการให้ ผ่อนชาระ ต้ องจัดให้ มี ผ้ ู
ค้าประกัน และในกรณีที่เห็นสมควรจะให้
วางหลักประกันดัวยก็ได้
ข้ อ 26 กระทรวงการคลั ง
อาจประกาศก าหนดหลั ก เกณฑ์
เกี่ ย วกั บ การค้า ประกั น การวาง
หลักประกันหนังสื อผ่ อนชาระและ
สั ญญาคา้ ประกันก็ได้
ข้ อ 27
ในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ต้องชดใช้ ค่า
สิ น ไหมทดแทนแม้ ป รากฏว่ า เจ้ า หน้ า ที่ ไ ม่
สามารถช าระหนี้ ไ ด้ ใ ห้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ ที่
เสี ยหายพิจารณาผ่ อนผันตามความเหมาะสม
ตามหลัก เกณฑ์ ที่ ก ระทรวงการคลั ง ก าหนด
และต้ องไม่ ดาเนินคดีล้มละลายแก่ ผู้น้ัน
แต่ ถ้าการที่ไม่ สามารถชาระหนีไ้ ด้ น้ันเกิดจาก
การประพฤติชั่วอย่ างร้ ายแรงของเจ้ าหน้ าที่
หรือเจ้ าหน้ าที่กระทาการใดๆ อันเป็ น การ
ประพฤติชั่วอย่ างร้ ายแรงเพื่อให้ หน่ วยงาน
ของรั ฐ ไม่ ไ ด้ รั บ การช าระหนี้ ค รบถ้ ว นให้
หน่ วยงานของรั ฐ ที่ เ สี ยหายส่ งเรื่ อ งใ ห้
พนักงานอัยการดาเนินคดีล้มละลาย
ข้ อ 28 การประนีประนอม ยอม
ความไม่ ว่ าจะเกิ ด ขึ้ น ในขั้ น ตอนใ ด
ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก
ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ก่ อ น เ ว้ น แ ต่
กระทรวงการคลั ง จะประกาศก าหนด
เป็ นอย่ างอืน่
ข้ อ 29 ในกรณีตามข้ อ 26 ข้ อ
27 หรื อ ข้ อ 28 ถ้ า เกี่ ย วกับ หน่ ว ยงาน
ของรั ฐ ที่ เ ป็ นราชการส่ วนท้ องถิ่ น
รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โ ด ย
พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา
หรื อหน่ วยงานอื่นของรั ฐตามกฎหมาย
ว่ าด้ วยความรั บ ผิ ด ทางละเมิ ด ของ
เจ้ าหน้ าที่การดาเนินการให้ เป็ นไปตาม
ระเบี ย บส าหรั บหน่ วยงานของรั ฐ
แห่ งนั้น
ข้ อ 29 ในกรณีตามข้ อ 26 ข้ อ 27 หรื อข้ อ 28 ถ้ า
เกี่ ย วกั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ เ ป็ นราชการส่ วน
ท้ องถิ่นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึน้ โดยพระราชบัญญัติ
หรื อพระราชกฤษฎีกาหรื อหน่ วยงานอื่นของรั ฐ
ตามกฎหมายว่ าด้ วยความรั บผิดทางละเมิดของ
เจ้ า หน้ า ที่การด าเนิ นการให้ เป็ นไปตามระเบีย บ
สาหรับหน่ วยงานของรัฐแห่ งนั้น
หมวด 2
กรณีเจ้ าหน้ าที่ของรัฐกระทาละเมิด
ต่ อบุคคลภายนอก
ข้ อ 30 “หน่ วยงานของรั ฐ”หมายความว่ า
กระทรวง ทบวง กรม หรื อส่ วนราชการ ที่
เรี ย กชื่ อ อย่ า งอื่น และมี ฐ านะเป็ นกรมและ
ราชการส่วนภูมิภาค แต่ ไม่ รวมถึงราชการ
ส่ วนท้ องถิ่น รั ฐวิสาหกิจ หรื อหน่ วยงานอื่น
ของรัฐ
ข้ อ 31
ใ น ก ร ณี ที่ เ จ้ า ห น้ า ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด
ความเสี ยหายต่ อบุคคลภายนอก ถ้ าเจ้ าหน้ า ที่
ผู้ น้ั น เห็ น ว่ า ความเสี ย หายเกิด ขึ้น เนื่ อ งในการ
ที่ตนได้ กระทาในการปฏิบัติหน้ าที่ใ ห้ เจ้ าหน้ าที่
ผู้ น้ั น แจ้ ง ต่ อ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาโดยไม่ ชั ก ช้ าและ
ให้ มี ก ารรายงานตามล าดั บ ชั้ นถึ ง หั ว หน้ า
หน่ วยงานของรัฐแห่ งนั้น
แต่ ใ นกรณี ที่ เ จ้ า หน้ าที่ เ ป็ นรั ฐ มนตรี ห รื อ
กรรมการที่ต้ังขึน้ เพือ่ ปฏิบัติงานในหน่ วยงาน
ของรั ฐหรื อ ผู้ ซึ่ง ไม่ สั งกัด หน่ ว ยงานของรั ฐ
แห่ งใดหรื อผู้ ซึ่ งไม่ มี ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา ให้
ดาเนินการตามข้ อ 9 (1)(2)(3) หรือ (4) และให้
นาข้ อ 8 ถึงข้ อ 20 มาใช้ บังคับ โดยอนุโลม
ข้ อ 32
ในกรณี ที่ ผ้ ู เสี ยหายยื่ น ค าของให้
หน่ ว ยงานของรั ฐ ชดใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทนให้
หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ เ จ้ า หน้ า ที่ ผ้ ู น้ั น สั ง กั ด หรื อ
กระทรวงการคลังในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่มิไ ด้ สังกัด
หน่ ว ยงานใดหรื อ หน่ ว ยงานของรั ฐ แห่ ง ใดแห่ ง
หนึ่ง ในกรณีที่ความเสี ยหายเกิดจากผลการกระทา
ของเจ้ า หน้ า ที่ห ลายหน่ ว ยงานรั บ ค าขอนั้ น และ
ดาเนินการตามระเบียบนีโ้ ดยไม่ ชักช้ า
ในกรณีที่ผู้เสี ยหายยื่นคาขอผิดหน่ วยงาน
ให้ หน่ วยงานผู้ รั บค าขอรี บส่ งเรื่ องไปยั ง
หน่ วยงานของรัฐที่เห็นว่ าเป็ นหน่ วยงานของรัฐ
ที่จะต้ องรั บผิดชอบพิจารณาต่ อไปและให้ แจ้ ง
ให้ ผู้ ยื่ น ค าขอทราบ กรณี ดั ง กล่ า วนี้ ใ ห้ ถื อ ว่ า
หน่ วยงานของรัฐได้ รับคาขอให้ ชดใช้ ค่าสิ นไหม
ทดแทนนั้นแต่ วนั ทีไ่ ด้ รับคาขอทีส่ ่ งมานั้น
ข้ อ 33 เมื่อได้ รับคาขอตามข้ อ 32 และ
หน่ วยงานของรั ฐที่ได้ รับคาขอไว้ เห็นว่ า
เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ เ กี่ ย ว กั บ ต น ใ ห้ แ ต่ ง ตั้ ง
คณะกรรมการเพื่อดาเนินการต่ อไป โดย
ไม่ ชักช้ า
ข้ อ 34 ในกรณีที่ต้องชดใช้ ค่าสิ นไหม
ทดแทนให้ แก่ ผู้ยื่นคาขอให้ หน่ วยงาน
ของรั ฐที่ต้องชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
ปฏิบัติตามที่กระทรวงการคลังกาหนด
ให้ คดิ ดอกเบีย้ ตามอัตราดอกเบีย้ ผิด
นัดนับแต่ วนั กระทาละเมิดในจานวน
เงิน ที่ ต้ อ งชดใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทน
ให้ แ ก่ ผู้ ยื่ น ค าขอจนถึ ง วั น ช าระค่ า
สิ นไหมทดแทน
ข้ อ 35 ในกรณีที่ผู้เสี ยหายฟ้องคดีต่อศาล ให้
ผู้ มี อ านาจแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการโดยไม่ ชั ก ช้ า
เว้ นแต่ จะได้ มีการตั้งคณะกรรมการดังกล่ าวไว้
แล้ ว และให้ ป ระสานงานกับ ส านั ก งานอัย การ
สู ง สุ ด เพื่อ เตรี ย มการต่ อ สู้ คดี ต่ อ ไป พร้ อ มทั้ ง
รายงานให้ กระทรวงการคลังทราบและปฏิบัติ
ตามทีไ่ ด้ รับคาแนะนาจากกระทรวงการคลัง
ข้ อ 36
ถ้ าแต่ งตั้งเห็นว่ าความเสี ยหาย เกิด
จากเจ้ าหน้ าที่มิได้ กระทาในการปฏิบัติหน้ าที่หรือ
เมื่ อ ได้ ฟั ง ความเห็ น ของคณะกรรมการ หรื อ
ได้ รับทราบผลการพิจารณาของกระทรวงการคลัง
แล้ ว เห็นว่ าความเสี ยหาย เกิดจากเจ้ าหน้ าที่มิได้
กระทาในการปฏิบัติหน้ าที่ ให้ เรียกเจ้ าหน้ าที่ผู้น้ัน
เข้ ามาเป็ นคู่ความในคดีด้วย
ข้ อ 37 ถ้ าผลการพิจารณาของผู้แต่ งตั้งยุติเป็ นที่สุดว่ า
ความเสี ยหายเกิดจากเจ้ าหน้ าที่ได้ กระทาในการปฏิบัติ
หน้ าที่จะต้ องไม่ มีการเรียกเจ้ าหน้ าที่เข้ า มาเป็ นคู่ความ
ในคดีแต่ ถ้าผู้เสี ยหายได้ ฟ้องเจ้ าหน้ าที่ต่อศาลก่ อนแล้ ว
หรือมีการเรียกเจ้ าหน้ าที่เข้ ามาเป็ นคู่ความในคดี ก่ อน
แล้ว ให้ ผู้แต่ งตั้งแจ้ งผลการพิจารณาให้ พนักงานอัยการ
เพื่อแถลงต่ อศาลเพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่มีโอกาส พ้ นจาก
การเป็ นคู่ ค วามในคดี แ ละขอให้ พนั ก งานอั ย การ
ช่ วยเหลือทางคดีแก่เจ้ าหน้ าที่ในระหว่ างนั้นด้ วย
ข้ อ 38
ใน ก ร ณี ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ต้ อ งรั บ ผิ ด ต่ อ
บุ ค คลภายนอกในความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้น จากการปฏิ บั ติ
หน้ า ที่ ข องเจ้ า หน้ า ที่ น้ั น ความรั บ ผิ ด ของเจ้ า หน้ าที่ จ ะมี
หรือไม่ และเพียงใด เป็ นกรณีที่หน่ วยงานของรัฐจะพิ จารณา
ไล่ เบี้ยเอาจากเจ้ าหน้ าที่ในภายหลัง ซึ่ งคณะกรรมการ ผู้
แต่ งตั้ง และกระทรวงการคลังแล้ วแต่ กรณี ต้ องพิจารณาด้ วย
ว่ าจะมีการไล่ เบีย้ หรื อไม่ หรื อจะไล่ เบี้ยให้ ชดใช้ เพียงใด และ
ให้ น าข้ อ 22 ถึ ง ข้ อ 29 มาใช้ บั ง คั บ การชดใช้ ค่ า สิ น ไหม
ทดแทนทีห่ น่ วยงานของรัฐได้ ใช้ ให้ แก่ ผู้เสี ยหายโดยอนุโลม
พระราชบัญญัติ
ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
พ.ศ.2540
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
มาตรา 58 บุ คคลย่ อ มมี สิท ธิ ไ ด้ รั บข้ อ มู ล หรื อ ข่ าวสาร
สาธารณะในครอบครองของหน่ วยราชการ หน่ วยงาน
ของรัฐ รั ฐวิสาหกิจ หรื อราชการส่ วนท้ องถิ่น เว้ นแต่ การ
เปิ ดเผยข้ อมูลนั้นจะกระทบต่ อความมั่นคงของรั ฐความ
ปลอดภั ย ของประชาชน หรื อ ส่ วนได้ เ สี ย อันพึง ได้ รั บ
ความคุ้มครองของบุคคลอืน่ ทั้งนี้ ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ
มาตรา 59 บุ ค คลย่ อ มมี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ข้ อ มู ล ค าชี้ แ จงและ
เหตุผลจากหน่ วยราชการ หน่ วยงานของรั ฐ รั ฐวิสาหกิจ
หรื อราชการส่ วนท้ องถิ่น ก่ อนการอนุญาตหรื อการดาเนิน
โครงการหรื อ กิ จ กรรมใดที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพ
สิ่ งแวดล้ อม สุ ขภาพอนามัย คุณภาพชี วิตหรื อส่ วนได้ เสี ย
ส าคั ญ อื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ ตนหรื อ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และมี สิ ท ธิ
แสดงความคิดเห็นของตนในเรื่ องดังกล่ าว ทั้งนี้ ตาม
กระบวนการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชนตามที่
กฎหมายกาหนด
มาตรา 60 บุ คคลย่ อ มมีสิ ทธิ มีส่ วนร่ ว ม
ใน
กระบวนการพิจารณาของเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐ ใน
การปฏิบัติราชการทางปกครองอันมีผลหรื ออาจมี
ผลกระทบต่ อสิ ทธิและเสรีภาพของตน ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
ตามมาตรานี้เป็ นสิ ทธิต่างๆ ของประชาชน ที่
กาหนดไว้ ในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ ทาง
ปกครอง พ.ศ.2535 ซึ่ ง “วิ ธี ป ฏิ บั ติ ร าชการ ทาง
ปกครอง” หมายถึ ง การเตรี ย มการและ
การ
ด าเนิ น การของเจ้ า หน้ า ที่ เ พื่อ จั ด ให้ มี ค าสั่ ง
ทาง
ปกครองหรื อกฎและรวมถึงการเตรี ยมการและ การ
ด าเนิ น การของเจ้ า หน้ า ที่ เ พื่อ จั ด ให้ มี ค าสั่ ง
ทาง
ปกครองหรื อกฎและรวมถึงการดาเนินการใดๆ ในทาง
ปกครองตามพระราชบัญญัตินี้
ในระบอบประชาธิ ป ไตย การให้ ป ระชาชน
มีโอกาสกว้ างขวางในการได้ รับข้ อมูลข่ าวสารเกีย่ วกับ
การด าเนิ น การต่ า งๆ ของรั ฐ เป็ นสิ่ ง จ าเป็ น เพี่อ ที่
ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้ สิทธิ
ทางการเมื อ งได้ โดยถู ก ต้ องกั บ ความเป็ นจริ ง
อั น เป็ นการส่ งเสริ ม ให้ มี ค วามเป็ นรั ฐ บาลโดย
ประชาชนมากยิง่ ขึน้
สมควรกาหนดให้ ประชาชนมีสิทธิได้ รู้ ข้อมูล
ข่ า ว ส า ร ข อง ร า ชกา ร โ ด ย มี ข้ อย ก เ ว้ น
อันไม่ ต้องเปิ ดเผยที่แจ้ งชั ดและจากั ดเฉพาะ
ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ที่ ห า ก เ ปิ ด เ ผ ย แ ล้ ว
จะเกิ ด ความเสี ย หายต่ อ ประเทศชาติ ห รื อ
ต่ อประโยชน์ ทสี่ าคัญของเอกชน
ทั้ ง นี้ เพื่ อ พั ฒ นาระบอบประชาธิ ป ไต ย
ให้ มั่นคงและจะยังผลให้ ประชาชนมีโอกาสรู้ ถึง
สิ ท ธิ ห น้ า ที่ ข องตนอย่ า งเต็ ม ที่ เพื่อ ที่ จ ะปกปั ก
รั กษาประโยชน์ ข องตนได้ อีกประการหนึ่ งด้ ว ย
ประกอบกั บ สมควรคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ส่ วนบุ ค คล
ในส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับข้ อมูลข่ าวสารของราชการ
ไปพร้ อมกัน
มาตรา 4
ข้อมูลข่าวสาร
สิ่ ง ที่ สื่ อ ความหมายให้ รู้ เ รื่ อ งราวข้ อ เท็ จ จริ ง ข้ อ มู ล หรื อ สิ่ ง ใดๆ
ไม่ ว่าการสื่ อความหมายนั้นจะทาได้ โดยสภาพของสิ่ งนั้ นเองหรื อ
โดยผ่ า นวิ ธี ก ารใดๆ และไม่ ว่ า จะได้ ท าไว้ ใ นรู ป ของเอกสาร
แฟ้ ม รายงาน หนั งสื อ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่ าย ฟิ ล์ ม
การบันทึกภาพหรื อเสี ยง การบันทึกโดยเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื อ
วิธีอนื่ ใดทีท่ าให้ สิ่งทีบ่ ันทึกไว้ปรากฏได้
ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ข อ ง ร า ช ก า ร
ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ อ ยู่ ใ นความครอบครองหรื อ
ควบคุ ม ดู แ ลของหน่ วยงานของรั ฐ ไม่ ว่ า
จะเป็ นข้ อ มูล ข่ า วสารเกี่ย วกับการดาเนิ นงาน
ของรัฐหรือข้ อมูลข่ าวสารเกีย่ วกับเอกชน
หน่วยงานของรัฐ
ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภู มิ ภ าค ราชการ
ส่ วนท้ องถิ่น รั ฐ วิส าหกิจ ส่ วนราชการสั ง กัด รั ฐสภา
ศาลเฉพาะในส่ วนที่ไม่ เกี่ยวกับการพิจารณาพิ พากษา
คดี องค์ ก รควบคุ ม การประกอบวิช าชี พ หน่ ว ยงาน
อิ ส ระของรั ฐและหน่ วยงานอื่ น ตามที่ ก าหนด
ในกฎกระทรวง
เจ้าหน้าที่ของรัฐ
ผู้ซึ่งปฏิบัตงิ านให้ แก่ หน่ วยงานของรัฐ
ข้อมูลข่าวสารส่วนบ ุคคล
ข้ อมูลข่ าวสารเกี่ยวกับสิ่ งเฉพาะตัวของบุคคล เช่ น การศึกษา
ฐานะการเงิ น ประวั ติ สุ ขภาพ ประวั ติ อ าชญากรรม
หรือประวัติการทางาน บรรดาทีม่ ีชื่อของผู้น้ันหรือมีเลขหมาย
รหัส หรื อสิ่ งบอกลักษณะอื่นที่ทาให้ รู้ ตัวผู้น้ัน เช่ น ลายพิมพ์
นิ้ ว มื อ แผ่ นบั น ทึ ก ลั ก ษณะเสี ยงของคนหรื อรู ปถ่ าย
และให้ หมายความรวมถึงข้ อมูลข่ าวสารเกี่ยวกับสิ่ งเฉพาะตัว
ของผู้ทถี่ งึ แก่ กรรมแล้ วด้ วย
คณะกรรมการ
คณะกรรมการข้ อมูลข่ าวสารของทางราชการ
คนต่ างด้ าว
บุคคลธรรมดาที่ไม่ มีสัญชาติไทยและไม่ มีถิ่นที่อยู่ใน
ประเทศไทย และนิตบิ ุคคลดังต่ อไปนี้
(1) บริ ษั ท หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ วนที่ มี ทุ น เกิน กึ่ง หนึ่ ง เป็ นของ
คนต่ างด้ าว ใบหุ้ นชนิ ด ออกให้ แก่ ผ้ ู ถื อ ให้ ถื อ ว่ า ใบหุ้ นนั้ น
คนต่ างด้ าวเป็ นผู้ถือ
(2) สมาคมทีม่ สี มาชิกเกินกึง่ หนึ่งเป็ นคนต่ างด้ าว
(3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ ของ
คนต่ างด้ าว
(4) นิ ติ บุ ค คลตาม (1) (2) (3) หรื อ นิ ติ บุ ค คลอื่ น ใด
ทีม่ ผี ้ ูจัดการหรือกรรมการเกินกึง่ หนึ่งเป็ นคนต่ างด้ าว
นิ ติ บุ ค คล ถ้ า เข้ า ไปเป็ นผู้ จั ด การหรื อ กรรมการ สมาชิ ก
หรือเจ้ าของทุนดังกล่ าวเป็ นคนต่ างด้ าว
มาตรา 6
ให้ จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการข้ อมูลข่ าวสารของ
ทางราชการขึน้ ในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐ มนตรี
มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ง านเกี่ย วกับ งานวิช าการและธุ ร การ
ให้ แก่ คณะกรรมการและคณะกรรมการวินิจฉัย การ
เปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร ประสานกับหน่ วยงาน ของรั ฐ
และให้ ค าปรึ ก ษาแก่ เ อกชนเกี่ย วกับ การปฏิ บั ติ ต าม
พ.ร.บ.นี้
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
มาตรา 7
หน่ วยงานของรั ฐจะต้ องส่ งข้ อมูลข่ าวสาร
ของราชการอย่ า งน้ อ ยดั ง ต่ อ ไปนี้ล งพิ ม พ์
ในราชกิจจานุเบกษา
(1) โครงสร้ างและการจัดองค์ กรในการดาเนินงาน
(2) สรุ ปอานาจหน้ าที่ที่สาคัญและวิธีการดาเนินงาน
(3) สถานที่ ติ ด ต่ อ เพื่ อ ขอรั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารหรื อ
คาแนะนาในการติดต่ อกับหน่ วยงานของรัฐ
(4)
กฎ มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ข้ อบั ง คั บ ค าสั่ ง หนั ง สื อ เ วี ย น
ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรื อการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่
จัดให้ มีขึ้นโดยมีสภาพอย่ างกฎ เพื่อให้ มีผลเป็ นการทั่วไป
ต่ อเอกชนที่เกีย่ วข้ อง
( 5 ) ข้ อ มู ล
ข่ าวสารอืน่ ตามที่คณะกรรมการกาหนด
ข้ อมูลข่ าวสารใดที่ได้ มีการจัดพิมพ์ เพื่อให้ แพร่ หลาย
ตามจานวนพอสมควรแล้ ว ถ้ ามีการลงพิมพ์ใน
ราช
กิจจานุ เบกษา โดยอ้ างอิงถึงสิ่ งพิมพ์ น้ันก็ให้ ถือว่ าเป็ นการ
ปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรคหนึ่งแล้ ว
ให้ หน่ วยงานของรั ฐ รวบรวมและจั ด ให้ มี ข้ อมู ล
ข่ าวสารดังกล่ าวไว้ เผยแพร่ เพือ่ ขายหรือจาหน่ ายจ่ ายแจก ณ
ที่ทาการของหน่ วยงานของรัฐแห่ งนั้นตามที่เห็นสมควร
มาตรา 8
ข้ อมูลข่ าวสารที่ต้องลงพิมพ์ ตามมาตรา 7 (4)
ถ้ า ยั ง ไ ม่ ไ ด้ ล ง พิ ม พ์ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุ เ บ ก ษ า
จะน ามาใช้ บั ง คับ ในทางที่ไ ม่ เ ป็ นคุ ณ แก่ ผ้ ู ใ ดไม่ ไ ด้
เว้ นแต่ ผู้น้ันจะได้ ร้ ู ถึงข้ อมู ลข่ าวสารนั้นตามความ
จริงมาก่อนแล้วเป็ นเวลาพอสมควร
มาตรา 9
ภายใต้ บังคับมาตรา 14 และมาตรา 15 หน่ ว ยงานของ
รั ฐ ต้ องจั ด ให้ มี ข้ อมู ล ข่ าวสารของราชการอย่ างน้ อย
ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ ไ ว้ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น เ ข้ า ต ร ว จ ดู ไ ด้
(ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด)
(1) ผลการพิ จ ารณาหรื อ ค าวิ นิ จ ฉั ย ที่ มี ผ ลโดยตรง
ต่ อ เอกชน รวมทั้ ง ความเห็ น แย้ ง และค าสั่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่ าว
(2) นโยบายหรื อการตีความที่ไม่ เข้ าข่ ายต้ องลงพิมพ์
ในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา 7 (4)
(3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ า ย
ประจาปี ของปี ที่กาลังดาเนินการ
(4) คู่ มื อ หรื อ ค าสั่ ง เกี่ ย วกั บ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ง านของ
เจ้ าหน้ าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิ ทธิหน้ าที่ของเอกชน
(5) สิ่ งพิมพ์ ที่ได้ มีการอ้างอิงถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง
(6) สั ญ ญาสั ม ปทาน สั ญ ญาที่ มี ลั ก ษณะเป็ นการ
ผูกขาดตัดตอนหรื อสั ญญาร่ วมทุนกับเอกชนในการจัดทา
บริการสาธารณะ
(7) มติ ค ณะรั ฐ มนตรี หรื อ มติ ค ณะกรรมการที่ แ ต่ ง ตั้ ง
โดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ให้ ระบุรายชื่อ
รายงานทางวิชาการ รายงานข้ อเท็จจริง หรือข้ อมูลข่ าวสาร
ที่นามาใช้ ในการพิจารณาไว้ ด้วย
(8) ข้ อมูลข่ าวสารอืน่ ตามทีค่ ณะกรรมการกาหนด
◆ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ จั ด ให้ ป ระชาชนเข้ า ตรวจดู ไ ด้ ถ้ า มี ส่ วนที่
ต้ องห้ ามมิให้ เปิ ดเผยตาม ม.14 หรือ ม.15 อยู่ด้วย ให้ ลบหรือตัด
ทอนหรื อทาโดยประการอื่นใดที่ไม่ เป็ นการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร
นั้น
◆ บุคคลไม่ ว่าจะมีส่วนได้ เสี ยเกี่ยวข้ องหรื อไม่ ก็ตามย่ อมมีสิทธิ เข้ า
ตรวจดูขอสาเนาหรือขอสาเนาที่มคี ารับรองถูกต้ องของข้ อมูลข่ าวสารได้
ในกรณี ที่ ส มควรหน่ วยงานของรั ฐโดยความเห็ น ชอบ ของ
คณะกรรมการจะวางหลักเกณฑ์ เรี ยกค่ าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้ ใน
การนีใ้ ห้ คานึงถึงการช่ วยเหลือผู้มีรายได้ น้อยประกอบด้ วย เว้ นแต่ จะ
มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้ เป็ นอย่ างอืน่
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ตอ้ งเปิดเผย
มาตรา 14
ข้อ มู ล ข่ า วสารของราชการที่ อ าจ
ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ สถาบั น
พระมหากษัตริย ์
มาตรา 15
ข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการที่ มี ลัก ษณะอย่ า งหนึ่ ง
อย่ างใดดังต่ อไปนี้ หน่ วยงานของรั ฐหรื อเจ้ าหน้ าที่
ของรั ฐ อาจมี ค าสั่ ง มิ ใ ห้ เ ปิ ดเผยก็ ไ ด้ โดยค านึ ง ถึ ง
การปฏิบัติหน้ าที่ตามกฎหมายของหน่ วยงานของรัฐ
ประโยชน์ สาธารณะและประโยชน์ ของเอกชน
ที่เกีย่ วข้ องประกอบกัน
(1) การเปิ ดเผยจะก่ อให้ เกิดความเสี ยหายต่ อความมั่น คง
ของประเทศ ความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศหรือความมั่น คง
ในทางเศรษฐกิจ หรือการคลังของประเทศ
( 2 ) ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร บั ง คั บ ใ ช้ ก ฎ ห ม า ย
เสื่ อ มประสิ ท ธิ ภ าพหรื อ ไม่ อ าจส าเร็ จ ตามวัต ถุ ป ระสงค์ ไ ด้
ไม่ ว่ า จะเกี่ย วกับ การฟ้ องคดี การป้ องกัน การปราบปราม
ก า ร ท ด ส อ บ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ห รื อ ก า ร รู้ แ ห ล่ ง ที่ ม า
ของข้ อมูลข่ าวสารหรือไม่ กต็ าม
(3) ความเห็นหรื อคาแนะนาภายในหน่ วยงาน
ของรั ฐในการดาเนินการเรื่ องหนึ่งเรื่ องใด ทั้ งนี้ ไม่
รวมถึงรายงานทางวิชาการรายงานข้ อเท็จจริ งหรื อ
ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ น ามาใช้ ในการท าความเห็ น หรื อ
คาแนะนาภายในดังกล่ าว
(4) การเปิ ดเผยจะก่ อ ให้ เ กิ ด อัน ตรายต่ อ ชี วิ ต
หรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด
(5) รายงานการแพทย์ หรื อข้ อมูลข่ าวสาร
ส่ วนบุคคลซึ่ งการเปิ ดเผยจะเป็ น การรุ กลา้ สิ ทธิ
ส่ วนบุคคลโดยไม่ สมควร
(6) ข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการมี ก ฎหมาย
คุ้ ม ค ร อ ง มิ ใ ห้ เ ปิ ด เ ผ ย ห รื อ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร
ที่ มี ผู้ ให้ มาโดยไม่ ประสงค์ ให้ ทางราชการ
นาไปเปิ ดเผยต่ อผู้อนื่
ค าสั่ งมิ ใ ห้ เปิ ดเผยข้ อมู ล ข่ าวสารของราชการ
จะก าหนดเงื่ อ นไขอย่ า งใดก็ ไ ด้ แต่ ต้ อ งระบุ ไ ว้ ด้ ว ยว่ า
ที่เปิ ดเผยไม่ ได้ เพราะเป็ นข้ อมูลข่ าวสารประเภทใดและ
เพราะเหตุ ใ ด และให้ ถื อ ว่ า การมี ค าสั่ ง เปิ ดเผยข้ อ มู ล
ข่ าวสารของราชการเป็ นดุลพินิจโดยเฉพาะของเจ้ าหน้ าที่
ของรั ฐ ตามล าดั บ สายการบั ง คั บ บั ญ ชา แต่ ผู้ ข ออาจ
อุ ท ธรณ์ ต่ อ คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเปิ ดเผยข้ อ มู ล
ข่ าวสารได้ ตามที่กาหนดในพ.ร.บ.นี้
มาตรา 18
ในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่ของรั ฐมีคาสั่ งมิให้ เปิ ดเผยข้ อมู ล
ข่ าวสารใดตาม ม.14 หรือม.15 หรื อมีคาสั่ งไม่ รับฟัง
คาคัดค้ านของผู้มีประโยชน์ ได้ เสี ยตาม ม.17 ผู้น้ัน
อาจอุ ท ธรณ์ ต่ อ คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเปิ ดเผย
ข้ อมูลภายใน 15 วันนับแต่ วันที่ได้ รับแจ้ ง คาสั่ งนั้น
โดยยืน่ คาอุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการ
ข้อมูลข่าวสารส่วนบ ุคคล
มาตรา 24
หน่ วยงานของรั ฐจะเปิ ดเผยข้ อมู ลข่ าวสารส่ วนบุ คคล
ที่อ ยู่ ในความควบคุ ม ดู แ ลของตนต่ อ หน่ ว ยงานของรั ฐ
แห่ งอื่นหรือผู้อนื่ โดยปราศจากความยินยอมเป็ นหนังสื อ
ของเจ้ าของข้ อมูลที่ให้ ไว้ ล่วงหน้ าหรื อ ในขณะนั้นมิได้
เว้ นแต่ การเปิ ดเผย ดังนี้
(1) ต่ อเจ้ าหน้ าที่ของรัฐในหน่ วยงานของ
ตน เพื่ อ การน าไปใช้ ตามอ านาจหน้ า ที่ ข อง
หน่ วยงานของรัฐแห่ งนั้น
(2) เป็ นการใช้ ข้ อ มู ล ตามปกติ ภ ายใน
วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการจั ด ให้ มี ร ะบบข้ อ มู ล
ข่ าวสารส่ วนบุคคลนั้น
(3) ต่ อ หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ ท างานด้ า นการ
วางแผนหรือการสถิติ หรือสามะโนต่ างๆ ซึ่งมีหน้ าที่
ต้ องรั กษาข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคลไว้ ไม่ ให้ เปิ ดเผย
ต่ อไปยังผู้อนื่
(4) เป็ นการให้ เพื่อประโยชน์ ในการศึกษาวิ จัย
โดยไม่ ระบุ ชื่ อ หรื อ ส่ วนที่ ท าให้ รู้ ว่ าเป็ นข้ อมู ล
ข่ าวสารส่ วนบุคคลทีเ่ กีย่ วกับบุคคลใด
(5) ต่ อ จดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ กรมศิ ล ปากร
หรื อหน่ วยงานอื่นของรั ฐตาม ม.26 วรรคหนึ่ง
เพือ่ การตรวจดูคุณค่ าในการเก็บรักษา
(6) ต่ อเจ้ าหน้ าที่ ข องรั ฐเพื่ อ การป้ องกั น
ก า ร ฝ่ า ฝื น ห รื อ ไ ม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ย
การสื บสวน การสอบสวนหรื อการฟ้ องคดี
ไม่ ว่าเป็ นคดีประเภทใดก็ตาม
(7) เป็ นการให้ ซึ่ ง จ าเป็ นเพื่อ การป้ องกั น หรื อ
ระงับอันตรายต่ อชีวติ หรือสุ ขภาพของบุคคล
(8) ต่ อศาลและเจ้ าหน้ าที่ของรัฐหรือหน่ วยงาน
ของรั ฐหรื อบุ คคลที่มีอานาจตามกฎหมายที่จะขอ
ข้ อเท็จจริงดังกล่าว
(9) กรณีอนื่ ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
มาตรา 25
ภายใต้ บังคับ ม.14 และม.15 บุคคลย่ อมมีสิทธิที่จะได้
รู้ ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ส่ ว น บุ ค ค ล ที่ เ กี่ ย ว กั บ ต น แ ล ะ
เมื่ อ บุ ค คลนั้ น มี ค าขอเป็ นหนั ง สื อ หน่ วยงานของรั ฐ
ที่ควบคุ มดูแลข้ อมู ลข่ าวสารนั้นจะต้ องให้ บุคคลนั้นหรื อ
ผู้ ก ระท าการแทนบุ ค คลนั้ น ได้ ต รวจดู ห รื อ ได้ รั บ ส าเนา
ข้ อมู ล ข่ าวสารส่ วนบุ ค คลส่ วนที่ เ กี่ ย วกั บ บุ ค คลนั้ น
และให้ นา ม.9 วรรคสาม มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
การเปิ ดเผยรายงานการแพทย์ ที่ เ กี่ ย วกั บ บุ ค คลใด
ถ้ ากรณี มี เ หตุ อั น ควร เจ้ าหน้ าที่ ข องรั ฐจะเปิ ดเผย
ต่ อเฉพาะแพทย์ ทบี่ ุคคลนั้นมอบหมายก็ได้
ถ้ าบุคคลใดเห็นว่ าข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคลที่เกี่ยวกับ
ตนส่ วนใดไม่ ถูกต้ องตามที่เป็ นจริ ง ให้ มีสิทธิยื่นคาขอเป็ น
หนั ง สื อ ให้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ ที่ค วบคุ ม ดู แ ลข้ อ มู ล ข่ าวสาร
แก้ ไขเปลี่ ย นแปลงหรื อ ลบข้ อมู ล ข่ าวสารส่ วนนั้ นได้
ซึ่ ง หน่ ว ยงานของรั ฐ จะต้ อ งพิ จ ารณาค าขอดั ง กล่ า วและ
แจ้ งให้ บุคคลนั้นทราบโดยไม่ ชักช้ า
ในกรณีที่หน่ วยงานของรัฐไม่ แก้ ไขเปลี่ยนแปลงหรือ
ลบข้ อ มู ล ข่ า วสารให้ ต รงตามที่ มี ค าขอ ให้ ผู้ น้ั น มี สิ ท ธิ
อุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร
ภายใน 30 วัน นั บแต่ วันได้ รับแจ้ งคาสั่ งไม่ ยิน ยอมแก้ ไข
เปลี่ย นแปลงหรื อ ลบข้ อ มู ล ข่ า วสาร โดยยื่ น ค าอุ ท ธรณ์
ต่ อ คณะกรรมการและไม่ ว่ า กรณี ใ ดๆ ให้ เ จ้ า ของข้ อ มู ล
มีสิทธิร้องขอให้ หน่ วยงานของรั ฐหมายเหตุคาขอของตน
แนบไว้ กบั ข้ อมูลข่ าวสารทีเ่ กีย่ วข้ องได้
เอกสารประวัติศาสตร์
มาตรา 26
ข้ อมูลข่ าวสารของราชการที่หน่ วยงานของรัฐไม่ ประสงค์
จะเก็ บ รั ก ษาหรื อ มี อ ายุ ค รบก าหนดตามวรรคสองนั บ แต่ วั น
ที่เ สร็ จ สิ้ นการจัด ให้ มีข้อ มู ลข่ า วสารนั้ น ให้ ห น่ วยงานของรั ฐ
ส่ งมอบให้ แก่ ห อจดหมายเหตุ แ ห่ งชาติ กรมศิ ล ปากรหรื อ
หน่ วยงานอื่ น ของรั ฐ ตามที่ ก าหนดในพระราชกฤษฎี ก า
เพือ่ คัดเลือกไว้ให้ ประชาชนได้ ศึกษาค้นคว้า
(1) ข้ อมู ล ข่ าวสารของราชการที่ อ าจ
ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ย ต่ อ ส ถ า บั น
พระมหากษัตริย์ (ตาม ม.14) เมื่อครบ 75 ปี
(2) ข้ อมูลข่ าวสารของราชการอย่ างอืน่
ม.15) เมื่อครบ 20 ปี
(ตาม
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
มาตรา 27
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
รัฐมนตรีทนี่ ายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็ นประธาน
7 ปลัดกระทรวง (สปน. กห. กษ. กค. กต. มท. พณ.)
4 เลขาธิการ (สคก. กพ. สมช. สภาผู้แทนราษฎร)
2 ผู้อานวยการ (สขช. สงป.)
9 ผู้ทรงคุณวุฒภิ าครัฐทีค่ ณะรัฐมนตรีแต่ งตั้ง
ข้ าราชการ สปน. 1 คน เป็ นเลขาฯ และ 2 คน เป็ น ผช.เลขาฯ
คณะกรรมการวินิจฉัย
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
มาตรา 35
ให้ มีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารสาขา
ต่ างๆ ตามความเหมาะสม ซึ่ งคณะรั ฐมนตรี แต่ งตั้ง ตาม
ข้ อเสนอของคณะกรรมการ
มาตรา 36
คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเปิ ดเผยข้ อ มู ลข่ า วสาร
คณะหนึ่ ง ๆ ประกอบด้ว ยบุ ค คลตามความจ าเป็ น แต่ ต ้อ ง
ไม่นอ้ ยกว่า 3 คน และให้ขา้ ราชการที่คณะกรรมการแต่งตั้ง
ปฏิบตั ิหน้าทีเ่ ป็ นเลขานุ การและผูช้ ่วยเลขานุ การ
ในกรณีพจิ ารณาเกีย่ วกับข้ อมูลข่ าวสารของหน่ วยงานของรัฐ
แห่ ง ใด กรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเปิ ดเผยข้ อ มู ล ข่ า วสาร ซึ่ ง มาจาก
หน่ วยงานของรัฐแห่ งนั้นจะเข้ าร่ วมพิจารณาด้ วยไม่ ได้
มาตรา 40
ผู ้ใ ดไม่ ป ฏิ บ ัติ ต ามค าสัง่ ของคณะกรรมการ
ซึ่ ง เรี ย กให้บุ ค คลมาให้ถ อ้ ยค าหรื อ ให้ ส่ ง วัต ถุ
เอกสารหรื อ พยานหลัก ฐานมาประกอบการ
พิจารณา ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 เดือน
หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 41
ผู ใ้ ดฝ่ าฝื นหรื อ ไม่ ป ฏิ บ ตั ิ ต ามข้อ จ ากัด
หรื อ เงื่อ นไขที่เ จ้า หน้า ที่ข องรัฐ ก าหนด
ตาม ม.20 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1
ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
1
เรื่ อ ง อุ ท ธรณ์ ค าสั่ งไม่ เปิ ดเผยข้ อมู ล
ข่ าวสาร (เอกสารผู้ชนะการประกาศสอบราคา
งานขุดสระน้าบ้ านโนนก่ อ อบต.บ้ านซ่ ง อ.
คาชะอี จ.มุกดาหาร
ผู้อทุ ธรณ์ (เข้ าร่ วมการแข่ งขันการเสนอราคา ในการ
สอบราคาขุ ด สระน้ า บ้ า นโนนก่ อ ) มี ห นั ง สื อ ถึ ง นายก
อบต.บ้ านซ่ ง ขอตรวจดูข้อมูลข่ าวสารและ ขอสาเนาที่
มีคารับรองถูกต้ องเอกสารผู้ชนะการประกาศสอบราคาขุด
สระน้าดังกล่ าว
นายก อบต. ปฏิเสธไม่ ยอมเปิ ดเผยและดาเนินการ
ตามทีผ่ ู้อุทธรณ์ ขอ โดยแจ้ งให้ ทราบว่ าข้ อมูลข่ าวสาร ที่ผู้
อุทธรณ์ ต้องการนั้น มีลกั ษณะตามมาตรา 15 วรรคหนึ่ง
(5) แห่ ง พ.ร.บ.ข้ อมูลข่ าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เป็ น
ข้ อมู ลข่ าวสารส่ วนบุ คคลที่อยู่ในความควบคุ ม ดู แลของ
หน่ วยงานของรัฐที่จะเปิ ดเผยต่ อผู้อนื่ โดยปราศจากความ
ยินยอมเป็ นหนังสื อของเจ้ าของข้ อมูลที่ให้ ไว้ ล่วงหน้ าหรือ
ในขณะนั้นมิได้
ผู้ อุ ท ธ ร ณ์ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ย จึ ง อุ ท ธ ร ณ์ ค า สั่ ง ดั ง ก ล่ า ว
ต่ อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร
คณะกรรมการเห็ น ว่ า ผู้ อุ ท ธรณ์ ได้ ร่ วมแข่ งขั น ในการ
สอบราคาตามโครงการดั ง กล่ าว แต่ ไม่ ได้ รั บ การคั ด เลื อ กจาก
อบต.บ้ า นซ่ ง เพราะขาดคุ ณ สมบั ติ ต ามประกาศของอบต.บ้ า นซ่ ง
และผู้อุทธรณ์ เชื่อว่ าผู้ชนะการสอบราคาส่ งหลักฐานไม่ ครบ
ผู้ อุ ท ธรณ์ ต้ องการให้ เปิ ดเผยเอกสารตามที่ ร ะบุ ไว้
ในเอกสารสอบราคาจ้ า ง เลขที่ 2/2543 ตามประกาศของ อบต.
เช่ น สาเนาหนังสื อรับรองการจดทะเบียนหุ้นส่ วนบริษทั
ส าเนาใบทะเบี ย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม หนั ง สื อ มอบอ านาจ
หนังสื อรั บรองผลงานก่ อสร้ างบัญชี รายการก่ อสร้ างหรื อ ใบ
แจ้ ง ปริ ม าณ แบบรู ป รายละเอี ย ดแบบใบเสนอราคา
แบบ
สั ญ ญาจ้ า ง แบบหนั ง สื อ ค้ า ประกั น ของผู้ ช นะการสอบราคา
อบต. แจ้ ง ว่ า เป็ นข่ า วสารของส่ วนบุ ค คลจึ ง ไม่ เ ปิ ดเผย
ด้ วยเหตุ ผ ลตามมาตรา 15 วรรคหนึ่ ง (5) และมาตรา 24
คณะกรรมการเห็นว่ า การขอตรวจสอบเอกสารของ ผู้
ชนะการประกาศสอบราคาการขุดสระนา้ ดังกล่ าว
ได้ ปฏิบัตถิ ูกต้ องตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข
ที่ทาง
ราชการกาหนด เป็ นการตรวจสอบการปฏิบัติหน้ าที่ อบต.บ้ าน
ซ่ ง มีหน้ าที่ต้องดาเนินการคัดเลือกด้ วยความโปร่ ง ใส ไม่ เลือก
ปฏิบัติโดยไม่ เป็ นธรรม และผู้อุทธรณ์ ก็เป็ นผู้มี ส่ วนได้ เสี ย
โดยตรง การเปิ ดเผยข่ าวสารดังกล่ าว จึงเป็ นประโยชน์ สาธารณะ
และประโยชน์ ต่อเอกชนที่เกี่ยวข้ องมากกว่ า นอกจากนี้ ข้ อมูล
ข่ าวสารเกีย่ วกับบริษัทซึ่งเป็ นนิติบุคคล ไม่ เข้ าข่ ายเป็ นข้ อมูล
ข่ าวสารส่ วนบุคคลที่จะได้ รับ
ความคุ้มครองตามกฎหมาย
จึงเปิ ดเผยได้
เอกสารของผู้ ช นะการประกาศสอบราคานั้ น ปรากฏว่ า
มี ท ะเบี ย นแสดงผลการศึ ก ษาของผู้ ค วบคุ ม งานก่ อ สร้ างส าเนา
บัตรประจาตัวประชาชนของกรรมการของบริษัทที่ชนะการสอบราคา
ส าเนาบั ต รประจ าตั ว ประชาชนและส าเนาทะเบี ย นบ้ า นของผู้ รับ
มอบอานาจ ซึ่ งเป็ นข้ อมูลข่ าวสารส่ วนบุคคลอยู่ ได้ รับการคุ้มครอง
ตามมาตรา 15 อบต.บ้ านซ่ ง อาจใช้ ดุ ล พิ นิ จ ไม่ เปิ ดเผยได้
คณะกรรมการฯ จึงมีมติให้ อบต.บ้ านซ่ ง เปิ ดเผยและให้ สาเนาพร้ อม
รั บรองสาเนาถูกต้ องข้ อมูลข่ าวสารของผู้ชนะการประกาศสอบราคา
ขุ ด สระน้ า ดั ง กล่ า วแก่ ผ้ ู อุ ท ธรณ์ ยกเว้ น รายการส าเนาทะเบี ย น
แสดงผลการศึกษา สาเนาบัตรประชาชน และสาเนาทะเบียนบ้ าน
2
นาย ก. ในนามกิ จ การร่ วมค้ า เอสซี เ จเค
อุ ท ธรณ์ ค าสั่ ง ไม่ เ ปิ ดเผยข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ
ข้ อเสนอทางด้ านเทคนิ ค ในการประกวดราคา
ของกรมประมง
นาย ก.มีหนั งสื อเพื่อขอจัดทาสาเนาเอกสารที่มีคารั บ รองสาเนา
ถูกต้ องเกีย่ วกับการประกวดราคา 2 รายการ
สาเนาข้ อเสนอทางด้ านเทคนิคของผู้ผ่านการพิจารณา
ทั้ง 2
ราย
► ส า เ น า ข้ อ เ ส น อ
ทางด้ านเทคนิคของกิจการร่ วมค้ าไทยวัฒน์ วิศวการทาง
►
ส าเ น า
ข้ อเสนอทางด้ านเทคนิคของบริษัทวิจิตรภัณฑ์ ก่ อสร้ าง จากัด
ส าเนาผลการ
พิจารณาข้ อเสนอทางเทคนิคของผู้ยื่นซองประกวดราคารายอื่น 10 ราย
นอกเหนือจากของกิจการร่ วมค้ าเอสซีเจเค
กรมประมงได้ ส่ งเอกสารที่ 2 คื อ รายงานผลการพิจ ารณาของ
คณะกรรมการรั บและเปิ ดซองสอบราคาของกรมประมงให้ แก่ นาย ก.
สาหรั บเอกสารรายการที่ 1 นั้น กรมประมงมีคาสั่ งไม่ เปิ ดเผย เพราะได้ รับ
การคัดค้ านจากกิจการร่ วมค้ าไทยวัฒน์ วิศวการทาง และบริษัทวิจิ ตรภัณฑ์
ก่ อสร้ าง จากัด โดยให้ เหตุผลว่ าการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารดังกล่ าว อาจ
กระทบถึงประโยชน์ ได้ เสี ยของบริ ษัท และกรมประมงเห็นว่ าเป็ นความลับ
ทางการค้ า
นาย
ก. จึ ง อุ ท ธรณ์ ค าสั่ ง ไม่ เ ปิ ดเผยข้ อ มู ล ข่ า วสาร โดยเห็ น ว่ า ข้ อ มู ล ข่ า วสาร
ดังกล่ าวเป็ นข้ อเปรียบเทียบเพื่อใช้ ตรวจสอบอันมีผลต่ อความ เป็ นธรรม
ต่ อผู้ไม่ ผ่านการพิจารณาที่จะแสดงถึงความโปร่ งใสของคณะกรรมการใน
การพิจารณาและก่ อให้ เกิดความยุติธรรมในการแข่ งขันอย่ างเสรี
คณะกรรมการฯ ฟั งข้ อเท็จจริ ง ได้ ความเพิ่มเติมว่ ากรมประมง
ได้ อนุญาตให้ ตัวแทนของผู้ยื่นซองประกวดราคาได้ เข้ าตรวจดูเอกสาร
ต่ างๆ ของทุกรายได้ แต่ ไม่ อนุ ญาตให้ ถ่ายเอกสาร เพราะได้ รับคัดค้ าน
จากเจ้ าของข้ อมูลและคาชี้แจงของบริ ษัทวิจิตรภัณฑ์ ก่อสร้ าง จากัด ผู้
คัดค้ านทราบว่ าบริ ษัทเป็ นผู้ผ่านการพิจารณาข้ อเสนอ ด้ านเทคนิค 1
ใน 2 บริษัท แต่ ไม่ ได้ รับการพิจารณาให้ เป็ น ผู้ชนะการประกวดราคาและ
เหตุ ผลที่ คัด ค้ านเนื่ อ งจากเห็ น ว่ า ข้ อเสนอทางเทคนิ คของบริ ษัท เป็ น
ข้ อมูลเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษัท ทั้งในเรื่ องบุคลากร เครื่ องจักร
แผนการเงิน แผนการดาเนินงานของบริ ษัท และเทคนิควิธีปฏิบั ติงาน
การเปิ ดเผยจะท าให้ บ ริ ษั ท ได้ รั บ ผลกระทบหรื อ เกิ ด ความเสี ย หาย
ทางธุรกิจ
นาย ก. อุทธรณ์ ว่า ข้ อมูลดังกล่ าวโดยเฉพาะในส่ วน ที่
เป็ นวิธีเสนอด้ านเทคนิคเกี่ยวกับท่ อและเครื่ องสู บน้า เช่ น ชนิด
ของท่ อวิธีการประกอบ ชนิดของเครื่ องสู บน้าวิธีการติดตั้งเครื่ อง
สู บน้านั้น กรมประมงสามารถที่จะเปิ ดเผยได้ สาหรั บข้ อมูลส่ วน
อื่นๆ เช่ น ข้ อมู ลบุ คลากร เจ้ าหน้ าที่ หรื อข้ อมูลทางการเงินนั้ น ผู้
อุทธรณ์ ไม่ มีความประสงค์ ที่จะทราบวิธีการติดตั้งเครื่องสู บน้านั้น
กรมประมงสามารถที่จะ เปิ ดเผยได้ สาหรั บข้ อมู ลส่ วนอืน่ ๆ เช่ น
ข้ อมูลบุคลากร เจ้ าหน้ าที่ หรือข้ อมูลทางการเงินนั้น ผู้อุทธรณ์ ไม่ มี
ความประสงค์ ทจี่ ะทราบ
คณะกรรมการฯ เห็นว่ า ข้ อมู ลข่ าวสารที่ นาย ก. ต้ องการ
เฉพาะในส่ วนที่เป็ นข้ อเสนอด้ านเทคนิคเกี่ยวกับท่ อและเครื่ องสู บ
น้า นั้น เป็ นข้ อมูลข่ าวสารที่อยู่ในความครอบครองของกรมประมง
อีกทั้งข้ อมูลสารดังกล่ าวเป็ นเทคนิคทั่วๆ ไป โดยท่ อและเครื่ องสู บ
นา้ สามารถซื้อได้ โดยทั่วไปและบริษัทที่ผลิตก็มีเทคนิค
ในการ
ประกอบแสดงอยู่ แ ล้ ว จึงมิใช่ เ ทคนิ คชนิ ด ที่เ ป็ นความลับ ในทาง
การค้ าที่จะต้ องปกปิ ดแต่ อย่ างใด ประกอบกับกรมประมง ก็ ได้ ให้
บริษัทที่ยื่นซองประกวดราคาทุกรายเข้ าตรวจเอกสารได้ ดังนั้น จึง
เป็ นข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการที่ ไ ม่ มี ก ฎหมายคุ้ ม ครอง มิ ใ ห้
เปิ ดเผย
คณะกรรมการฯ จึงมีมติให้ กรมประมงเปิ ดเผย และ
คัดสาเนาข้ อเสนอทางด้ านเทคนิคเกี่ยวกับท่ อเครื่ องสู บน้า และ
วิธีการประกอบท่ อกับเครื่องสู บนา้ ของกิจการร่ วมค้ าไทยวัฒน์ วศิ ว
การทางและบริษัทวิจิตรภัณฑ์ ก่อสร้ าง จากัด ให้ แก่ นาย ก.
3
นาย ก. ปลัด อบต.แห่ งหนึ่ ง ถู ก อบต. มีคาสั่ งลงโทษทางวินัย
ต่ อมา นาย ก. ได้ ใช้ สิทธิ ตาม พ.ร.บ. ข้ อมู ลข่ าวสารของทางราชการ
พ.ศ. 2540 ขอดูสาเนาและคารั บรองถูกต้ องสานวนหรื อรายงานผลการ
สอบข้ อเท็จจริงตามคาสั่ งอาเภอ
กรณีนาย ก. ถูกกล่ าวหาว่ าไม่ เอาใจใส่ หน้ าที่การงานชอบลาป่ วย
เป็ นประจ า ไม่ ล งทะเบี ย นรั บ หนั ง สื อราชการ และชอบเก็บ หนั ง สื อ
ไว้ กบั ตนเอง การส่ งงานไม่ ตรงตามกาหนด ไม่ รู้ จักหน้ าที่ตนเอง
อาเภอส่ งสาเนาสานวนการสอบสวนหรื อรายงาน การ
สอบสวนข้ อเท็จจริ งดังกล่ าวให้ แก่ นาย ก. โดยลบหรื อ
ตั ด
ทอนข้ อความบางส่ วนออก โดยให้ เหตุ ผลตามนั ยมาตรา 15 (4)
แห่ ง พ.ร.บ.ข้ อมูลข่ าวสารฯ กรณีการเปิ ดเผยจะก่ อให้ เกิดอันตราย
ต่ อ ชี วิ ต หรื อ ความปลอดภั ย ของบุ ค คลหนึ่ ง บุ ค คลใด นาย ก.
ไม่ เห็ นด้ วยกับคาชี้ แจงของอาเภอและขอทราบข้ อความในส่ วน
ที่ได้ ล บหรื อตัด ทอนเพื่อใช้ ในการเขียนข้ ออุ ทธรณ์ คาสั่ งลงโทษ
ทางวินัย นาย ก. จึงขอใช้ สิทธิ อุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการวินิจฉั ย
การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉั ยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร เห็นว่ าข้ อมูลข่ าวสาร
ดังกล่ าว เป็ นข้ อมูลข่ าวสารของราชการที่อยู่ในความครอบครองของอาเภอ ซึ่ง
ไม่ มี ก ฎหมายคุ้ ม ครองมิ ใ ห้ เ ปิ ดเผย เว้ น แต่ ก รณี ที่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารนั้ น มี ส่ วน
ต้ องห้ ามมิให้ เปิ ดเผยตามม.14 และม.15 อยู่ด้วย
คณะ
กรรมการฯ มีมติให้ อาเภอ..เปิ ดเผยรายงานการสอบสวนข้ อเท็จจริ ง กรณี นาย
ก.ถูกกล่ าวหา โดยให้ นาย ก.ได้ ตรวจดูขอสาเนารั บรองถู กต้ อง และในกรณีที่
ข้ อมูลข่ าวสารมีส่วนต้ องห้ ามมิให้ เปิ ดเผย ตามม.14 ม.15(4) คือ ชื่อและตาแหน่ ง
ของพยานบุ คคล รวมทั้งข้ อความที่ทาให้ สามารถทราบชื่ อและตาแหน่ งของ
พยานบุคคล ให้ เป็ นดุลพินิจของอาเภอ...ลบ ตัดตอนหรือทาโดยประการอืน่ ใดที่
ไม่ เป็ นการเปิ ดเผยข้ อมูลส่ วนนั้น ตามมาตรา 9 วรรคสอง
4
นาย ก. สมาชิ ก สภา อบต.และนายก อบต.
แห่ งหนึ่ ง มี ห นั ง สื อ ถึ ง นายอ าเภอ และผวจ. ขอให้
เปิ ดเผยผลการสอบสวนข้ อเท็ จ จริ งของอ าเภอ
เรื่ อ งแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบสวน กรณี ส มาชิ ก
สภา อบต. บกพร่ องในทางความประพฤติ
จั ง หวั ด มี ห นั ง สื อ แจ้ ง นาย ก. ว่ า ผลการสอบข้ อ เท็ จ จริ ง
กรณีดังกล่ าวเป็ นข้ อมูลข่ าวสารของราชการที่หากมีการเปิ ดเผยแล้ ว
จะก่ อให้ เกิดอันตรายต่ อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลใดบุคคล
หนึ่ง ตามนัย มาตรา 15(4) แห่ ง พ.ร.บ.ข้ อมูลข่ าวสารฯ
นาย ก. ไม่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ เหตุ ผ ลของจั ง หวั ด และเห็ น ว่ า
กรณีจังหวัดเกรงว่ าจะเป็ นอันตรายต่ อพยานนั้น สามารถลบหรื อ
ตัดทอนหรื อกระทาโดยประการอื่นใดที่ไม่ เป็ นการเปิ ดเผยข้ อมู ล
ข่ าวสารนั้น นาย ก. จึงอุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผย
ข้ อมูลข่ าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร เห็นว่ าสานวน
การสอบข้ อ เท็ จ จริ ง ของอ าเภอเป็ นข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ อ ยู่ ใ นความ
ครอบครองหรื อควบคุมดูแลของจังหวัดไม่ มีกฎหมายคุ้มครอง มิ
ให้ เปิ ดเผย
คณะ
กรรมการฯ จึงมีมติให้ จังหวัดเปิ ดเผยโดยให้ ถ่ายสาเนาเอกสารสานวน
การสอบสวนข้ อเท็จจริง กรณี นาย ก.ถูกกล่ าวหาว่ า มีความบกพร่ อง
ในทางความประพฤติ เอกสารรายการใดที่มีข้อมู ลข่ าวสารที่มีส่วน
ต้ อ งห้ า มมิ ใ ห้ เ ปิ ดเผยตามมาตรา 15(4) คือ ชื่ อ และต าแหน่ ง ของผู้
กล่ าวหา และพยานบุคคล ให้ เป็ นดุจพินิจของจังหวัดลบหรื อตัดทอน
โดยการประการอื่น ใดที่ ไ ม่ เ ป็ นการเปิ ดเผยข้ อ มู ล ข่ า วสารนั้ น ตาม
มาตรา 9 วรรคสอง
5
นาย ก. อดีตผู้ใหญ่ บ้านแห่ งหนึ่ง ถูกจังหวัด
มี ค า สั่ ง ใ ห้ พ้ น จ า ก ต า แ ห น่ ง ผู้ ใ ห ญ่ บ้ า น
กรณีขาดคุณสมบัติ เนื่องจากมีผู้คัดค้ านว่ า นาย ก.
มี ภู มิ ล าเนาอยู่ ห มู่ บ้ า นอื่ น และคณะกรรมการ
สอบสวนข้ อเท็จจริงพบว่ า นาย ก. มิได้ มีภูมิลาเนา
อยู่หมู่ที่ 5 จริง
นาย ก. ขอตรวจสอบและคั ด ส านวนการสอบสวน
ทั้งหมดเพื่อใช้ ประกอบการยื่นอุทธรณ์ จังหวัดแจ้ งนาย ก.
ปฏิ เ สธไม่ อ นุ ญ าตให้ ต รวจดู ห รื อ คั ด ส าเนาเอกสารหรื อ
พยานเอกสารโดยอ้ างว่ าเป็ นกรณีต้องรั กษาไว้ เป็ นความลับ
และกรณีตามมาตรา 15(4)(5) แห่ ง พ.ร.บ.ข้ อมูลข่ าวสารฯ
กรณี ก ารเปิ ดเผยจะก่ อให้ เกิ ด อั น ตรายต่ อชี วิ ต หรื อ
ความปลอดภั ย ของบุ ค คลหนึ่ ง บุ ค คลใด จะเป็ นการรุ ก ล้า
สิ ทธิ ข องบุ ค คลโดยไม่ สมควร นาย ก. ไม่ เห็ น ด้ วย
จึงขออุทธรณ์ ตาม พ.ร.บ. ข้ อมูลข่ าวสารฯ
คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย การเปิ ดเผยข้ อ มู ล
ข่ าวสารวินิจฉัยว่ าสานวนการสอบสวนข้ อเท็ จจริ ง
ดั ง กล่ า ว เป็ นข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการที่ อ ยู่ ใ น
ความครอบครองหรื อ ควบคุ ม ดู แ ลของจั ง หวั ด
มิ ไ ด้ มี ลั ก ษณะเป็ นข้ อ มู ล ส่ วนบุ ค คล และไม่ มี
กฎหมายคุ้ มครองมิให้ เปิ ดเผยตาม พ.ร.บ.ข้ อมู ล
ข่ า วสารฯ มาตรา 15(6) นาย ก. จึ ง มี สิ ท ธิ จ ะได้
ตรวจดูและคัดสาเนาการสอบสวนดังกล่ าว
ตัวอย่ างการสั่ งให้ เปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสาร
1. การเปิ ดเผยข้ อมูลการรับนักเรี ยนเข้ าศึกษา
ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. การเปิ ดเผยผลการตรวจสอบคุ ณ สมบั ติ
ของบุ ค คลผู้ เ ข้ า ด ารงต าแหน่ ง ผู้ บ ริ ห ารธนาคาร
แห่ งประเทศไทย
3. การเปิ ดเผยบั ญ ชี ค ะแนนหรื อ ใบคะแนนรายวิ ช า
ในการสอบเข้ าเรี ย นคณะแพทย์ ศาสตร์ ซึ่ ง อยู่ ในความ
ควบคุมดูแลของทบวงมหาวิทยาลัย
4 . ก า ร เ ปิ ด เ ผ ย ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ข อ ง ส า นั ก ง า น
การประถมศึ กษาจังหวัดสมุทรสาคร กรณี นาย ก. ขอเอกสาร
การดาเนินการทางวินัย
5. การเปิ ดเผยรายงานการประชุ มของคณะกรรมาธิการ
ยกร่ างรั ฐธรรมนู ญ และรายงานการประชุ มของคณะกรรมการ
พิจารณาร่ างรัฐธรรมนูญในส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับคณะกรรมาธิการ
สิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ให้ แก่ นาย ข.
6. การให้ ก ระทรวงสาธารณสุ ข เปิ ดเผยส านวน
สอบสวนข้ อ เท็ จ จริ ง กรณี เ กี่ ย วกั บ การจั ด ซื้ อ ยา และ
เวชภัณฑ์ รวม 5 จังหวัด
7. การเปิ ดเผยข้ อมูลข่ าวสารเกีย่ วกับเอกสาร การ
สอบสวนคดีอาญาของสานักงานอัยการจังหวัด โดยให้ เป็ น
ดุลพินิจของสานั กงานอัยการที่จะลบหรื อปกปิ ดชื่ อหรื อ
ข้ อ ความที่ อ าจท าให้ รู้ ถึ ง ตั ว บุ ค คลที่ ใ ห้ ถ้ อ ยค า
ใน
สานวนได้
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิ
ราชการทางปกครอง พ.ศ.
2539
มาตรา 3
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่ างๆ ให้
เป็ นไปตามที่ก าหนดในพระราชบั ญ ญัตินี้ เว้ น แต่ ในกรณี ที่
กฎหมายใดก าหนดวิธี ป ฏิ บั ติ ร าชการทางปกครองเรื่ อ งใดไว้
โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑ์ ที่ประกันความเป็ นธรรมหรือ มี
มาตรฐานในการปฏิบัติราชการไม่ ต่ากว่ าหลักเกณฑ์ ที่กาหนดใน
พ.ร.บ.นี้
ความในวรรคหนึ่ง
มิให้ ใช้ กับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ์ หรื อโต้ แย้ งทีก่ าหนดใน
กฎหมาย
ข้ อยกเว้ นที่มิให้ นา พ.ร.บ. นีไ้ ปใช้ กบั กฎหมายต่ างๆ
กฎหมายเฉพาะกาหนดหลักเกณฑ์ ที่ประกัน
ความเป็ นธรรมไม่ ต่ากว่ าหลักเกณฑ์ ตาม พ.ร.บ.นี้
กฎหมายเฉพาะกาหนดมาตรฐานในการปฏิบัติ
ราชการไม่ ต่ากว่ าหลักเกณฑ์ ตาม พ.ร.บ.นี้
กฎหมายเฉพาะกาหนดขั้นตอนและระยะเวลา
อุทธรณ์ โต้ แย้ งไว้ แตกต่ างจากพ.ร.บ.นี้
มาตราบังคับทางปกครองตามกฎหมายเฉพาะ
ข้ อยกเว้ นการใช้ บังคับ
พ.ร.บ.ฉบับนี้
มาตรา 4
พระราชบัญญัตนิ ีม้ ิให้ ใช้ บังคับแก่
(1) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
(2) องค์ กรที่ ใ ช้ อ านาจตามรั ฐธรรมนู ญ
โดยเฉพาะ
(3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือ รัฐมนตรี
ในงานทางนโยบายโดยตรง
(4) การพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี ข องศาลและ
การดาเนินงานของเจ้ าหน้ าที่ในกระบวนการพิจารณา
บังคับคดีคดี การบังคับคดี การวางทรัพย์
(5) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่ องร้ องทุกข์ และ การสั่ ง
การตามกฎหมายว่ าด้ วยกรรมการกฤษฎีกา
( 6 ) ก า ร ด า เ นิ น ง า น เ กี่ ย ว กั บ น โ ย บ า ย
ต่ างประเทศ
(7) การดาเนิ น งานเกี่ย วกับ ราชการทหารหรื อ
เจ้ าหน้ าที่ ซึ่ งปฏิบัติหน้ าที่ทางยุทธการร่ วมกับทหาร
ในการป้ องกั น ประเทศ และรั ก ษาความมั่ น คงของ
ราชอาณาจั ก รจากภั ย คุ ก คามทั้ งภายนอกและ
ภายในประเทศ
(8) การดาเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา
(9) การดาเนินการขององค์ กรทางศาสนา
มาตรา 5
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การเตรี ยมการและการด าเนิ น การของ
เจ้ า หน้ า ที่ เ พื่อ จั ด ให้ มี ค าสั่ ง ทางปกครองหรื อ กฎ
และรวมถึ ง การด าเนิ น การใดๆ ในทางปกครอง
ตาม พ.ร.บ.นี้
การพิจารณาทางปกครอง
การเตรียมการและการดาเนินการของ
เจ้ าหน้ าที่เพือ่ จัดให้ มีคาสั่ งทางปกครอง
คณะกรรมการวินิจฉัยข้ อพิพาท
คณะกรรมการที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตาม
กฎหมายที่ มี ก ารจั ด องค์ กรและวิ ธี
พิจารณาสาหรั บการวินิจฉั ยชี้ข าดและ
หน้ าที่ตามกฎหมาย
เจ้ าหน้ าที่
บุคคล คณะบุคคลหรื อนิติบุคคล ซึ่ งใช้ อานาจ
หรื อ ได้ รั บ มอบให้ ใ ช้ อ านาจทางปกครองของรั ฐ
ในการด าเนิ น การอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดตามกฎหมาย
ไม่ ว่ าจะเป็ นการ จั ด ตั้ งขึ้ น ใ นร ะ บบร าช ก าร
รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอืน่ ของรัฐหรือไม่ กต็ าม
เจ้ าหน้ าที่มี 3 ประเภท ดังนี้
1. เป็ นบุคคลคนเดียว
ผู้ดารงตาแหน่ งต่ างๆ
เ ช่ น น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด
นายกเทศมนตรี
2. เป็ นคณะบุคคล
คณะกรรมการข้ าราชการ
พลเรือน สภาจังหวัด สภาเทศบาล
3. เป็ นนิ ติ บุ ค คล ซึ่ ง จะต้ อ งใช้ สิ ท ธิ ห รื อ หน้ า ที่
โดยผ่ า นทางบุ ค คลธรรมดา ซึ่ ง อาจจะเป็ นบุ ค คล
คนเดี ย วหรื อ คณะบุ ค คลก็ ไ ด้ เช่ น ผู้ อ านวยการ
คณะกรรมการบริหารของรัฐวิสาหกิจต่ างๆ
P ro d u c tio n C o s ts
M i ll i o
ns of
D o l la
rs
200
195
190
U n it P ric e
185
180
P ro fits
175
170
165
160
155
150
1990
1991
1992
คาสั่ งทางปกครอง
(1) การใช้ อานาจตามกฎหมายของเจ้ าหน้ าที่ที่มี ผล
เป็ นการสร้ างนิ ติสัม พันธ์ ขึ้น ระหว่ างบุ คคลในอันที่จะก่ อ
เปลี่ ย นแปลง โอน สงวน ระงั บ หรื อ มี ผ ลกระทบต่ อ
สถานภาพของสิ ท ธิ ห รื อ หน้ า ที่ ข องบุ ค คล ไม่ ว่ า เป็ นการ
ถาวรหรื อชั่ วคราว เช่ น การสั่ งการ การอนุญาต การอนุ มัติ
การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรั บรอง และการจดทะเบียน แต่
ไม่ หมายความรวมถึงการออกกฎ
(2) การอืน่ ที่กาหนดในกฎกระทรวง
กฎ
พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ
กระทรวง ข้ อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบข้ อบังคับ
หรื อบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับ เป็ นการทั่วไป
โดยไม่ ม่ ุ ง หมายให้ ใ ช้ บั ง คั บ แก่ ก รณี ใ ดหรื อ
บุคคลใดเป็ นการเฉพาะ
คาสั่ งทางปกครอง มีสาระสาคัญ 5 ประการ
1. เป็ นการกระทาโดย “เจ้ าหน้ าที่”
2. เป็ นการใช้ อานาจรั ฐ หมายถึง การใช้ อานาจ
ตามกฎหมาย ซึ่งมิใช่ เป็ นการใช้ อานาจทางนิติบัญญัติ
(ตรากฎหมาย) หรื อ การใช้ อ านาจในทางตุ ล าการ
(ตัดสิ นคดี)
3. เป็ นการก าหนดสภาพทางกฎหมาย
คือ การมุ่ งประสงค์ ให้ กาหนดผลทางกฎหมาย
อั น เป็ นนิ ติ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลอย่ า งหนึ่ ง
อย่ างใดขึน้ เช่ น ออกคาสั่ งอนุญาตให้ ต้ังโรงงาน
หรือออกคาสั่ งให้ รื้อถอนอาคาร เป็ นต้ น
“ คาสั่ งทางปกครอง ” นั้ น ไม่ ว่ า จะมุ่ ง ประสงค์
ในทางใดก็ตาม หากกระทบถึงสิ ทธิหน้ าที่ของบุคคลแล้ ว
ก็ถอื ว่ าเข้ าข่ ายเป็ น “คาสั่ งทางปกครอง” ได้
การให้ ข้อมูลข่ าวสาร คาแนะนา หรื อการอธิบาย
ความเข้ าใจ ไม่ ถือว่ าเป็ น “คาสั่ งทางปกครอง” เพราะ
ไม่ มี ผ ลทางกฎหมายเกิด ขึ้น ใหม่ เพีย งแต่ ก ารกระท า
ที่เกีย่ วข้ องกับ “คาสั่ งทางปกครอง” เดิมเท่ านั้น
4. “คาสั่ งทางปกครอง” ก่อให้ เกิดผลเฉพาะกรณี
5. “คาสั่ งทางปกครอง” มีผลภายนอกโดยตรง
มาตรา 7
คณะกรรมการวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง
ประธานกรรมการคนหนึ่ ง ปลั ด ส านั ก นายกรั ฐมนตรี
ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรั ฐมนตรี เลขาธิการ
คณะกรรมการข้ า ราชการพลเรื อ น เลขาธิ ก ารคณะกรรมการ
กฤษฎีกา และผู้ทรงคุณวุฒิอกี ไม่ น้อยกว่ า 5 คน แต่ ไม่ เกิน 9 คน
เป็ นกรรมการ ให้ เ ลขาธิ ก ารคณะกรรมการกฤษฎี ก าแต่ ง ตั้ ง
ข้ าราชการของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็ นเลขานุการ
และผู้ช่วยเลขานุการ
มาตรา 10
ให้ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทาหน้ าที่เป็ น
สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งาน
ประชุ ม การศึ กษาหาข้ อมู ล และกิจการต่ างๆ ที่
เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติ ราชการ
ทางปกครอง
การออกคาสั่ งทางปกครอง
ของเจ้ าหน้ าที่
มาตรา 12
คาสั่ งทางปกครองจะต้ องทา
โดย
เจ้ าหน้ าที่ซึ่งมีอานาจหน้ าที่ในเรื่องนั้น
มาตรา 13
เจ้ าหน้ าที่ดงั ต่ อไปนีจ้ ะทาการพิจารณา
ทางปกครองไม่ ได้
(1) เป็ นคู่กรณีเอง
(2) เป็ นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี
(3) เป็ นญาติของคู่กรณี คือ เป็ นบุพการีหรือ
ผ้ ู สื บ สั น ดานไม่ ว่ า ชั้ น ใดๆ หรื อ เป็ นพี่น้ อ ง
หรื อลูกพี่ลูกน้ องนับได้ เพียงภายในสามชั้ น
หรื อเป็ นญาติเกี่ยวพัน ทางแต่ งงานนั บได้
เพียงสองชั้น
(4) เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรม
หรื อ ผู้ พิ ทั ก ษ์ ห รื อ ผู้ แ ทนหรื อ ตั ว แทนของ
คู่กรณี
(5) เป็ นเจ้ าหนี้ ห รื อลู ก หนี้ หรื อเป็ น
นายจ้ างของคู่กรณี
(6) กรณีอนื่ ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 14
เมื่อมีกรณีตามมาตรา 13 หรือคู่กรณีคัดค้ านว่ าเจ้ าหน้ าที่
ผู้ ใ ดเป็ นบุ ค คลตามมาตรา 13 ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ผู้ น้ั น หยุ ด การ
พิจารณาเรื่ องไว้ ก่อน และแจ้ งให้ ผู้บังคับบัญชา เหนือตนขึ้น
ไปชั้ นหนึ่งทราบ เพื่อที่ผู้บังคับบัญชาดังกล่ าว จะได้ มีคาสั่ ง
ต่ อไป
การยื่ น ค าคั ด ค้ า น
การพิจารณาคาคัดค้ าน และการสั่ ง ให้ เจ้ าหน้ าที่อื่ นเข้ าปฏิบัติ
หน้ าทีแ่ ทนผู้ทถี่ ูกคัดค้ านให้ เป็ น ไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ
ที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 16
ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไว้ ใน
มาตรา 13 เกี่ย วกับ เจ้ า หน้ า ที่ ห รื อ กรรมการ ใน
คณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครอง ซึ่ งมี
สภาพร้ ายแรงอั น อาจท าให้ ก ารพิ จ ารณา ทาง
ปกครองไม่ เป็ นกลาง เจ้ าหน้ าที่หรื อกรรมการ ผู้น้ัน
จะทาการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไม่ ได้
มาตรา 18
บทบั ญญั ติม าตรา 13 ถึง มาตรา 16
ไม่ ใ ห้
นามาใช้ บังคับกับกรณีที่มีความจาเป็ นเร่ งด่ วน หาก
ปล่ อยให้ ล่ าช้ าไปจะเสี ยหายต่ อประโยชน์ สาธารณะ
หรื อสิ ทธิของบุคคล จะเสี ยหายโดยไม่ มีทางแก้ ไขได้
หรือไม่ มีเจ้ าหน้ าที่อนื่ ปฏิบัติหน้ าที่แทน ผู้น้ันได้
มาตรา 19
ถ้ าปรากฏภายหลังว่ าเจ้ าหน้ าที่หรือกรรมการ ใน
คณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครองใดขาด
คุ ณสมบัติหรื อมีลักษณะต้ องห้ ามหรื อการแต่ งตั้ง ไม่
ชอบด้ ว ยกฎหมาย อั น เป็ นเหตุ ใ ห้ ผ้ ู น้ั น ต้ อ งพ้ น จาก
ต า แ ห น่ ง ก า ร พ้ น จ า ก ต า แ ห น่ ง เ ช่ น ว่ า นี้
ไม่ กระทบกระเทื อ นถึ ง การใดที่ ผ้ ู นั้ นได้ ปฏิ บั ติ
ไปตามอานาจหน้ าที่
มาตรา 20
ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึน้ ไปชั้นหนึ่ง ตาม
มาตรา 14 และมาตรา 16 ให้ หมายความรวมถึง ผู้
ซึ่ งก ฎห มายก าหน ดใ ห้ มี อ านาจก ากั บ หรื อ
ควบคุมดูแลสาหรับกรณีของเจ้ าหน้ าที่
ที่ไม่
มีผู้บังคับบัญชาโดยตรง และนายกรัฐมนตรีสาหรับ
กรณีทเี่ จ้ าหน้ าทีผ่ ู้น้ันเป็ นรัฐมนตรี
มาตรา 21
บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล
อาจเป็ นคู่กรณีในการพิจารณาทางปกครองได้
ตามขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือน
หรื ออาจถู ก กระทบกระเทื อ นโดยมิ อ าจ
หลีกเลีย่ งได้
มาตรา 22
ผู้มคี วามสามารถกระทาการในการพิจารณา ทาง
ปกครองได้ จะต้ องเป็ น
(1) ผู้ซึ่งบรรลุนิตภิ าวะ
(2)
ผู้ซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกาหนดให้ มีความสามารถ
กระทาการในเรื่ องที่กาหนดได้ แม้ ผู้น้ันจะยังไม่ บรรลุ
นิ ติ ภ าวะหรื อ ความสามารถถู ก จ ากัด ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
(3) นิ ติ บุ ค คลหรื อ คณะบุ ค คลตามมาตรา 21
โดยผู้แทนหรือตัวแทนแล้วแต่ กรณี
(4) ผู้ ซึ่ ง มี ป ระกาศของนายกรั ฐ มนตรี ห รื อ
ผู้ ซึ่ง นายกรั ฐมนตรี มอบหมายในราชกิจจานุ เ บกษา
ก าหนดให้ มี ค วามสามารถกระท าการในเรื่ อ งที่
ก าหนดได้ แม้ ผู้ นั้ นจะยั ง ไม่ บรรลุ นิ ติ ภ าวะหรื อ
ความสามารถถู ก จ ากั ด ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง
และพาณิชย์
มาตรา 23
ในการพิจารณาทางปกครองที่คู่กรณีต้องมาปรากฏ
ตัวต่ อหน้ าเจ้ าหน้ าที่ คู่กรณีมีสิทธินาทนายความหรือ ที่
ปรึ กษาของตนเข้ ามาในกระบวนการพิจารณา ทาง
ปกครองได้ การใดที่ทนายหรื อที่ปรึ กษาได้ ทาลง ต่ อหน้ า
คู่ ก รณี ใ ห้ ถื อ ว่ า เป็ นการกระท าของคู่ ก รณี เว้ น แต่
คู่กรณีจะได้ คดั ค้ านเสี ยแต่ ในขณะนั้น
มาตรา 24
คู่กรณีอาจมีหนังสื อแต่ งตั้งให้ บุคคลหนึ่งบุคคลใด ซึ่ง
บรรลุนิติภาวะ กระทาการอย่ างหนึ่งอย่ างใดตามที่กาหนด
แทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใดๆ ได้ ในการ
นีเ้ จ้ าหน้ าที่จะดาเนินกระบวนการพิจารณา ทางปกครอง
กับตัวคู่กรณีได้ เฉพาะเมื่อเป็ นเรื่องทีผ่ ู้น้ัน มีหน้ าที่โดยตรง
ที่จะต้ อ งทาการนั้ นด้ วยตนเองและต้ องแจ้ ง ให้ ผู้ ได้ รับการ
แต่ งตั้งให้ กระทาการแทนทราบด้ วย
การแต่ ง ตั้ ง ให้ ก ระท าการแทนไม่ ถื อ ว่ า สิ้ น สุ ด ลง
เพราะความตายของคู่กรณีหรื อการที่ความสามารถ หรื อ
ความเป็ นผู้แทนของคู่กรณีเปลี่ยนแปลงไป
เว้ นแต่ ผู้
สื บสิ ทธิตามกฎหมายของคู่ กรณีจะถอน
การแต่ งตั้ง
ดังกล่ าว
มาตรา 26
เอกสารที่ ยื่ น ต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ ใ ห้ จั ด ท าเป็ น
ภ า ษ า ไ ท ย ถ้ า เ ป็ น เ อ ก ส า ร ที่ ท า ขึ้ น เ ป็ น
ภาษาต่ างประเทศ ให้ คู่ กรณีจัด ทาคาแปลเป็ น
ภาษาไทยที่ มี ก ารรั บ รองความถู ก ต้ อ งมาให้
ภายในระยะเวลาทีเ่ จ้ าหน้ าทีก่ าหนด
มาตรา 27
ให้ เจ้ าหน้ าที่แจ้ งสิ ทธิและหน้ าที่ในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครองให้ คู่กรณีทราบตามความจาเป็ น
แก่กรณี
ถ้ าคาขอหรื อคาแถลงมีข้อบกพร่ องหรื อ
มี
ข้ อความที่อ่านไม่ เข้ าใจหรือผิดหลงอันเห็นได้ ชัดว่ าเกิด
จากความไม่ รู้ ห รื อ ความเลิน เล่ อ ของคู่ ก รณี
ให้
เจ้ าหน้ าทีแ่ นะนาให้ คู่กรณีแก้ไขเพิม่ เติมให้ ถูกต้ อง
มาตรา 28
ในการพิจ ารณาทางปกครอง เจ้ า หน้ า ที่
อาจตรวจสอบข้ อเท็ จ จริ งได้ ตามความ
เหมาะสมในเรื่ องนั้นๆ โดยไม่ ต้องผูกพัน อยู่
กับคาขอหรือพยานหลักฐานของคู่กรณี
มาตรา 29
เจ้ าหน้ าที่ต้องพิจารณาพยานหลักฐาน ที่
ตนเห็นว่ าจาเป็ นแก่ การพิสูจน์ ข้อเท็จจริ ง ใน
การนี้ ใ ห้ รวมถึ ง การด าเนิ น การแสวงหา
พยานหลักฐานทุกอย่ างทีเ่ กีย่ วข้ อง
มาตรา 30
ในกรณีที่คาสั่ งทางปกครองอาจกระทบถึง
สิ ทธิของคู่ กรณี เจ้ าหน้ าที่ต้องให้ คู่ กรณี มี
โอกาสที่จะได้ ทราบข้ อเท็จจริ งอย่ างเพียงพอ
และมีโอกาสได้ โต้ แย้ งและแสดงพยานหลักฐาน
ของตน
ความในวรรคหนึ่ ง มิ ใ ห้ น ามาใช้ บั ง คั บ ในกรณี
ดังต่ อไปนี้ เว้ นแต่ เจ้ าหน้ าที่จะเห็นสมควรปฏิบัติ เป็ น
อย่ างอืน่
(1)
เมื่อมีความจาเป็ นรี บด่ วนหากปล่ อยให้ เนิ่ นช้ าไปจะ
ก่ อให้ เกิดความเสี ยหายอย่ างร้ ายแรงแก่ ผู้หนึง่ ผู้ใดหรือ
จะกระทบต่ อประโยชน์ สาธารณะ
(2) เมื่ อ จะมี ผ ล
ทาให้ ระยะเวลาที่กฎหมายหรื อกฎกาหนดไว้ ในกระทา
คาสั่ งทางปกครองต้ องล่าช้ าออกไป
(3) เมือ่ เป็ นข้ อเท็จจริงทีค่ ู่กรณีน้ันเองได้ ให้ ไว้ ใน
คาขอ คาให้ การหรือคาแถลง
(4)
เมื่อโดยสภาพเห็นได้ ชัดในตัวว่ าการให้ โอกาสดั งกล่ าว
ไม่ อาจกระทาได้
( 5 ) เ มื่ อ
เป็ นมาตรการบังคับทางปกครอง
( 6 ) ก ร ณี อื่ น
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ห้ า ม มิ ใ ห้
เจ้ า หน้ า ที่ ใ ห้ โ อกาสตามวรรคหนึ่ ง ถ้ า จะก่ อ ให้ เ กิ ด ผล
เสี ยหายอย่ างร้ ายแรงต่ อประโยชน์ สาธารณะ
กรณี อื่ น ตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
ขณะนี้มีกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2540)
ก าหนดให้ ค าสั่ งทางปกครองดั ง ต่ อไปนี้
เป็ นคาสั่ งทางปกครองตามมาตรา
30
วรรคสอง (6) กล่ าวคือ เป็ นคาสั่ งทางปกครอง
ที่ ไ ม่ ต้ อ งแจ้ ง ให้ คู่ ก รณี ท ราบในการท าค าสั่ ง
ทางปกครอง
(1) การบรรจุ การแต่ งตั้ ง การเลื่ อ น
ขั้นเงินเดือน การสั่ งพักงานหรื อสั่ งให้ อ อกจากงาน
ไว้ ก่อน หรือการให้ พ้นจากตาแหน่ ง
(2) การแจ้ งผลการสอบหรื อวัดผลความรู้ หรื อ
ความสามารถของบุคคล
(3) การไม่ ออกหนั ง สื อเดิ น ทาง ส าหรั บ
การเดินทางไปต่ างประเทศ
(4) การไม่ ตรวจลงตราหนังสื อเดินทางของ
คนต่ างด้ าว
(5) การไม่ ออกใบอนุญาตหรือการไม่ ต่ออายุ
ใบอนุญาตทางานของคนต่ างด้ าว
(6) การสั่ งให้ เนรเทศ
กรณี (1) ครอบคลุ ม ถึ ง ข้ า ราชการ พนั ก งาน
และลูกจ้ างของรัฐวิสาหกิจหรือกิจการอืน่ ของรัฐด้ วย
และหมายความรวมถึ ง ค าสั่ ง ย้ า ยของข้ า ราชการ
ค าสั่ ง ให้ ข้ า ราชการประจ ากระทรวง ประจ ากรม
ประจากองหรือประจาจังหวัด และคาสั่ งให้ ข้าราชการ
ม า ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ส า นั ก น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ต า ม
มาตรา 11(4) แห่ ง พ.ร.บ.ระเบี ย บบริ ห ารราชการ
แผ่ นดิน พ.ศ.2534 ด้ วย
มาตรา 31
คู่ ก รณีมี สิ ท ธิ ข องตรวจดู เอกสาร
ที่
จ าเป็ นต้ อ งรู้ เพื่ อ การโต้ แ ย้ ง หรื อ ชี้ แ จงหรื อ
ป้ องกั น สิ ท ธิ ข องตนได้ แต่ ถ้ า ยั ง ไม่ ไ ด้ ท าค าสั่ ง
ทางปกครองในเรื่ อ งนั้ น คู่ ก รณี ไ ม่ มี สิ ท ธิ ข อง
ตรวจดูเอกสารอันเป็ นต้ นร่ างคาวินิจฉัย
มาตรา 32
เจ้ า หน้ า ที่ อ าจไม่ อ นุ ญ าตให้ ต รวจดู
เอกสารหรือพยานหลักฐานได้ ถ้ าเป็ นกรณี
ที่ต้องรักษาไว้ เป็ นความลับ
มาตรา 34
คาสั่ งทางปกครองอาจทาเป็ นหนังสื อหรือ
วาจาหรื อโดยการสื่ อความหมาย ใน
รู ป แบบอื่ น ก็ ไ ด้ แต่ ต้ อ งมี ข้ อ ความหรื อ
ความหมายที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้ าใจได้
มาตรา 35
ในกรณีที่คาสั่ งทางปกครองเป็ นคาสั่ ง ด้ วย
วาจา ถ้ าผู้รับคาสั่ งนั้นร้ องขอและการร้ องขอได้
กระทาโดยมีเหตุอนั สมควรภายใน 7 วัน นับแต่
วันที่มีคาสั่ งดังกล่ าว เจ้ าหน้ าที่ผ้ ู ออกคาสั่ งต้ อง
ยืนยันคาสั่ งนั้นเป็ นหนังสื อ
มาตรา 36
คาสั่ งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื อ อย่ าง
น้ อยต้ องระบุ วัน เดือน และปี
ที่ทาคาสั่ ง
ชื่ อ และต าแหน่ ง ของเจ้ า หน้ า ที่ ผู้ ท าค าสั่ ง
พร้ อมทั้งมีลายมือชื่ อของเจ้ าหน้ าที่ ผู้ทาคาสั่ ง
นั้น
มาตรา 37
คาสั่ งทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสื อและการยืนยันคาสั่ ง
ทางปกครองเป็ นหนังสื อต้ องจัดให้ มีเหตุผลไว้ ด้วย และ
เหตุผลนั้นอย่ างน้ อยต้ องประกอบด้ วย
(1) ข้ อเท็จจริงอันเป็ นสาระสาคัญ
(2) ข้ อกฎหมายที่อ้างอิง
(3) ข้ อพิจารณาและข้ อสนับสนุนในการใช้ ดุลพินิจ
มาตรา 39
การออกค าสั่ ง ทางปกครองเจ้ า หน้ า ที่ อ าจก าหนด
เงื่อนไขใดๆ ได้ เท่ าที่จาเป็ นเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ของ
กฎหมาย เว้ น แต่ ก ฎหมายจะก าหนดข้ อ จ ากั ด ดุ ล พิ นิ จ
เป็ นอย่ างอืน่
การกาหนดเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ ง ให้ หมายความ
รวมถึงการก าหนดเงื่อนไขในกรณีดัง ต่ อไปนี้ ตามความ
เหมาะสมแก่ กรณีด้วย
(1) การกาหนดให้ สิทธิหรื อภาระหน้ าที่เริ่ มมีผลหรื อสิ้ นผล
ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
(2) การก าหนดให้ ก ารเริ่ ม มี ผ ลหรื อ สิ้ น ผลของสิ ท ธิ ห รื อ
ภาระหน้ าทีต่ ้ องขึน้ อยู่กบั เหตุการณ์ ในอนาคตทีไ่ ม่ แน่ นอน
(3) ข้ อสงวนสิ ทธิทจี่ ะยกเลิกคาสั่ งทางปกครอง
(4) การก าหนดให้ ผู้ ได้ รั บ ประโยชน์ ต้ องกระท าหรื อ
งดเว้ นกระทาหรื อต้ องมีภาระหน้ าที่หรื อยอมรั บภาระหน้ าที่หรื อ
ความรั บ ผิด ชอบบางประการ หรื อ การก าหนดข้ อ ความในการ
จัดให้ มเี ปลีย่ นแปลง หรือเพิม่ ข้ อกาหนดดังกล่ าว
มาตรา 40
คาสั่ งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์ หรื อโต้ แย้ งต่ อไปได้ ให้ ระบุ
กรณีทอี่ าจอุทธรณ์ หรือโต้ แย้ ง การยืน่ คาอุทธรณ์ หรือคาโต้ แย้ ง และ
ระยะเวลาสาหรับการอุทธรณ์ หรือโต้ แย้ งดังกล่ าวไว้ ด้วย
ในกรณีที่มีการฝ่ าฝื นบทบัญญัติตามวรรคหนึ่งให้ ระยะเวลา
สาหรั บการอุทธรณ์ หรื อการโต้ แย้ งเริ่ มนับใหม่ ต้ังแต่ วันที่ได้ รับแจ้ ง
หลัก เกณฑ์ ต ามวรรคหนึ่ ง แต่ ถ้ า ไม่ มีก ารแจ้ ง ใหม่ แ ละระยะเวลา
ดังกล่ าวมีระยะเวลาสั้ นกว่ า 1 ปี ให้ ขยายเป็ น 1 ปี นับแต่ วันที่ได้ รับ
คาสั่ งทางปกครอง
มาตรา 41
คาสั่ งทางปกครองที่ออกโดยการฝ่ าฝื นหรื อ ไม่
ปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์ ดัง ต่ อไปนี้ ไม่ เป็ นเหตุ ให้ คาสั่ ง
ทางปกครองนั้นไม่ สมบูรณ์
(1) การออกคาสั่ งทางปกครองโดยยังไม่ มีผู้ยื่น คา
ขอในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่จะดาเนินการเองไม่ ได้ นอกจากจะ
มี ผู้ ยื่ น ค าขอ ถ้ า ต่ อ มาในภายหลั ง ได้ มี ก ารยื่ น ค าขอ
เช่ นนั้นแล้ ว
(2) คาสั่ งทางปกครองที่ต้องจัดให้ มีเหตุผล ตาม
มาตรา 37 วรรคหนึ่ง ถ้ าได้ มีการจัดให้ มีเหตุผลดังกล่ าวใน
ภายหลัง
(3) การรั บ ฟั ง
คู่กรณีที่จาเป็ นต้ องกระทาได้ ดาเนินการมาโดยไม่ สมบูรณ์
ถ้ าได้ มีการรับฟัง
ให้ สมบูรณ์ ในภายหลัง
(4) ค าสั่ ง ทางปกครองที่ ต้ อ งให้
เจ้ าหน้ าที่อื่น ให้ ความเห็นชอบก่ อน ถ้ าเจ้ าหน้ าที่น้ันได้
ให้
ความเห็นชอบในภายหลัง
เมื่อมีการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง (1)(2)(3) หรือ (4) แล้ ว และ
เจ้ าหน้ าที่ผู้มีคาสั่ งทางปกครองประสงค์ ให้ ผลเป็ นไปตาม คาสั่ งเดิม
ให้ เจ้ าหน้ าที่ผู้น้ันบันทึกข้ อเท็จจริ งและความประสงค์ ของตน ไว้ ใน
หรื อแนบไว้ กับคาสั่ งเดิมและต้ องมีหนังสื อแจ้ งความประสงค์ ของตน
ให้ คู่กรณีทราบด้ วย
กรณี ต าม (2) (3)
และ (4) จะต้ องกระทาก่ อนสิ้ นสุ ดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ ตาม
ส่ วนที่ 5 ของหมวดนี้ หรื อตามกฎหมายเฉพาะว่ าด้ วยการนั้น หรื อถ้ า
เป็ นกรณีที่ไม่ ต้องมีการอุทธรณ์ ดังกล่ าวก็ต้องก่ อนมีการนาคาสั่ งทาง
ปกครองไปสู่ การพิจ ารณาของ ผู้ มี อ านาจพิจ ารณาวินิ จ ฉั ย ความ
ถูกต้ องของคาสั่ งทางปกครองนั้น
มาตรา 42
คาสั่ งทางปกครองให้ มีผลใช้ ยันต่ อบุคคลตั้งแต่ ขณะทีผ่ ู้น้ันได้ รับแจ้ ง
เป็ นต้ นไป
คาสั่ งทางปกครองย่ อมมีผลตราบเท่ าที่ยังไม่ มีการเพิกถอนหรือ สิ้น
ผลลงโดยเงือ่ นเวลาหรือโดยเหตุอนื่
เมือ่ คาสั่ งทางปกครองสิ้นผลลง ให้ เจ้ าหน้ าที่ที่มีอานาจเรียก ผู้ซึ่ง
ครอบครองเอกสารหรื อวัตถุ อื่นใดที่ได้ จัดทาขึ้นเนื่ องในการมีคาสั่ ง ทาง
ปกครองดังกล่ าว ซึ่ งมีข้อความหรื อเครื่ องหมายแสดงถึงการมีอยู่ของคาสั่ ง
ทางปกครองนั้ น ให้ ส่งคืนสิ่ งนั้ นหรื อให้ นาสิ่ งของดังกล่ าว
อันเป็ น
กรรมสิ ทธิ์ของผู้น้ันมาให้ เจ้ าหน้ าที่จัดทาเครื่ องหมายแสดงการสิ้ นผลของ
คาสั่ งทางปกครองดังกล่ าว
มาตรา 43
คาสั่ งทางปกครองที่มีข้อผิดพลาดเล็กน้ อยหรือผิดหลง
เล็กน้ อยนั้น เจ้ าหน้ าที่อาจแก้ ไขเพิม่ เติมได้ เสมอในการแก้ ไข
เพิ่มคาสั่ งทางปกครองตามวรรคหนึ่ ง ให้ แจ้ งผู้ที่เกี่ยวข้ อง
ทราบตามควรแก่ ก รณี ในการนี้เ จ้ า หน้ า ที่ อ าจเรี ย กให้ ผู้ ที่
เกี่ยวข้ องจัดส่ งคาสั่ งทางปกครอง เอกสารหรือวัตถุอื่นใด ที่
ได้ จัดทาขึน้ เนื่องในการมีคาสั่ งทางปกครองดั งกล่ าวมาเพื่อ
การแก้ ไขเพิม่ เติมได้ ดังกล่ าวมาเพือ่ แก้ ไขเพิม่ เติมได้
มาตรา 44
ภายใต้ บังคับ ม.48 ในกรณีที่คาสั่ งทางปกครองใดไม่ ได้ ออกโดย
รัฐมนตรี และไม่ มีกฎหมายกาหนดขั้นตอนอุทธรณ์ ภายในฝ่ ายปกครอง
ไว้ เป็ นการเฉพาะ ให้ คู่กรณีอุทธรณ์ คาสั่ ง ทางปกครองนั้น โดยยื่นต่ อ
เจ้ าหน้ าที่ผู้คาสั่ งทางปกครองภายใน 15 วันนับแต่ วันที่ ตนได้ รับแจ้ ง
คาสั่ งดังกล่ าว
คาอุทธรณ์ ต้องทาเป็ นหนังสื อโดยระบุข้อโต้ แย้ งและข้ อเท็จจริ ง
หรือข้ อกฎหมายอ้ างอิงประกอบด้ วย
การอุทธรณ์ ไม่ เป็ นเหตุให้ ทุเลาการบังคับตามคาสั่ งทางปกครอง
เว้ นแต่ จะมีการสั่ งให้ ทุเลาการบังคับตามม. 56 วรรคหนึ่ง
มาตรา 45
ให้ เจ้ าหน้ าที่ตามมาตรา 44 วรรคหนึ่ง พิจารณา
คาอุทธรณ์ และแจ้ งผู้อุทธรณ์ โดยไม่ ชักช้ า แต่ ต้อง ไม่
เกิน 30 วันนับแต่ วนั ที่ได้ รับอุทธรณ์ ในกรณี ที่เห็น
ด้ วยกับคาอุทธรณ์ ไม่ ว่าทั้งหมดหรื อบางส่ วน ก็ให้
ดาเนิ น การเปลี่ย นแปลงค าสั่ ง ทางปกครอง ตาม
ความเห็นของตนภายในกาหนดเวลาดังกล่าวด้ วย
ถ้ า เจ้ า หน้ า ที่ ต ามมาตรา 44 วรรคหนึ่ ง ไม่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ
คาอุทธรณ์ ไม่ ว่าทั้งหมดหรื อบางส่ วน ก็ให้ เร่ งรายงานความเห็น
พร้ อมเหตุ ผ ลไปยั ง มี ผ้ ู อ านาจพิ จ ารณาค าอุ ท ธรณ์ ภายใน
ก าหนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง ให้ ผ้ ู มี อ านาจพิ จ ารณาค าอุ ท ธรณ์
พิจารณาให้ แล้ วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่ วนั ที่ตนได้ รับรายงาน ถ้ า
มีเหตุจาเป็ นไม่ อาจพิจารณาอุทธรณ์ ให้ แล้ วเสร็จภายในระยะเวลา
ดังกล่ าว ให้ ผ้ ูมีอานาจพิจารณาอุทธรณ์ มีหนังสื อแจ้ งให้ ผ้ ูอุทธรณ์
ทราบก่ อนครบกาหนดเวลาดังกล่ าว ในการนี้ให้ ขยายระยะเวลา
พิ จ ารณาอุ ท ธรณ์ ออกไปได้ ไม่ เกิ น 30 วั น นั บ แต่ วั น ที่ ค รบ
กาหนดเวลาดังกล่ าว
เจ้ าหน้ าที่ผู้ใดจะเป็ นผู้มีอานาจพิจารณาอุทธรณ์ ตาม
วรรคสองให้ เป็ นไปตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัติมาตรานี้ไม่ ใช้ กับกรณีที่กฎหมายเฉพาะ
กาหนดไว้ เป็ นอย่ างอืน่
มาตรา 46
ในการพิจ ารณาอุ ท ธรณ์ ให้ เ จ้ า หน้ า ที่พิจ ารณาทบทวน
คาสั่ งทางปกครองได้ ไม่ ว่าจะเป็ นปัญหาข้ อเท็จจริง ข้ อกฎหมาย
หรื อ ความเหมาะสมของการท าคาสั่ งทางปกครอง และอาจมี
คาสั่ งเพิกถอนคาสั่ งทางปกครองเดิม หรือเปลี่ยนแปลงคาสั่ งนั้น
ไปในทางใด ทั้งนี้ ไม่ ว่าจะเป็ น การเพิ่มภาระหรื อลดภาระหรื อ
ใช้ ดุ ล พิ นิ จ แทนในเรื่ อ งความเหมาะสมของการท าค าสั่ ง
ทางปกครองหรือมีข้อกาหนดเป็ นเงือ่ นไขอย่ างไรก็ได้
มาตรา 47
การใดที่กฎหมายกาหนดให้ อุทธรณ์
ต่ อ
เจ้ า หน้ า ที่ ซึ่ ง เป็ นคณะกรรมการ ขอบเขต การ
พิจารณาอุทธรณ์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่ าด้ วย การ
นั้ น ส าหรั บ กระบวนการพิจ ารณาให้ ป ฏิ บั ติ ตาม
บทบัญญัติ หมวด 2 เท่ าที่ไม่ ขัดหรื อแย้ งกับกฎหมาย
ดังกล่าว
มาตรา 48
คาสั่ งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการต่ างๆ ไม่ ว่าจะ
จั ด ตั้ งขึ้ น ตามกฎหมายหรื อไม่ ให้ คู่ กรณี มี สิ ทธิ โ ต้ แย้ งต่ อ
คณะกรรมการวินิจฉัยร้ องทุกข์ ตามกฎหมายว่ าด้ วยคณะกรรมการ
กฤษฎีกาได้ ท้ังในปั ญหาข้ อเท็จจริ งและข้ อกฎหมายภายใน 90 วัน
นับแต่ วันที่ได้ รับแจ้ งคาสั่ งนั้ น แต่ ถ้าคณะกรรมการดังกล่ าวเป็ น
คณะกรรมการวินิจฉัยข้ อพิพาท สิ ทธิการอุทธรณ์ และกาหนดเวลา
อุทธรณ์ ให้ เป็ นไปตามที่บัญญัติในกฎหมายว่ าด้ วยคณะกรรมการ
กฤษฎีกา
มาตรา 49
เจ้ าหน้ าที่หรื อผู้บังคับบัญชาของเจ้ าหน้ าที่อาจ
เพิกถอนคาสั่ งทางปกครองได้ ตามหลักเกณฑ์ ในมาตรา
51 มาตรา 52 และมาตรา 53 ไม่ ว่าจะพ้ นขั้นตอน การ
กาหนดให้ อุทธรณ์ หรื อให้ โต้ แย้ งตามกฎหมายนี้หรื อ
กฎหมายอืน่ มาแล้วหรือไม่
การเพิ ก ถอนค าสั่ ง ทางปกครองที่ มี ลั ก ษณะ
เป็ นการให้ ประโยชน์ ต้องกระทาภายใน 90 วัน
นั บ แ ต่ ไ ด้ รู้ ถึ ง เ ห ตุ ที่ จ ะ ใ ห้ เ พิ ก ถ อ น ค า สั่ ง
ทางปกครองนั้น เว้ นแต่ คาสั่ งทางปกครองจะได้ ทาขึน้
เพราะการแสดงข้ อ ความอั น เป็ นเท็ จ หรื อ ปกปิ ด
ข้ อความจริง ซึ่งควรบอกให้ แจ้ งหรือการข่ มขู่หรือ การ
ชั กจูงใจโดยการให้ ทรั พย์ สินหรื อประโยชน์ อื่นใด ที่มิ
ชอบด้ วยกฎหมาย
มาตรา 50
คาสั่ งทางปกครองที่ไม่ ชอบด้ วยกฎหมายอาจถูก
เพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่ วน โดยจะให้ มีผลย้ อ นหลัง
หรื อ ไม่ ย้ อ นหลั ง หรื อ มี ผ ลในอนาคตไปถึ ง ขณะใด
ขณะหนึ่งตามที่กาหนดได้ แต่ ถ้าคาสั่ งนั้นเป็ นคาสั่ ง ซึ่ง
เป็ นการให้ ป ระโยชน์ แก่ ผู้ รั บ การเพิกถอน ต้ อง
เป็ นไปตามบทบัญญัตมิ าตรา 51 และมาตรา 52
มาตรา 51
การเพิก ถอนค าสั่ ง ทางปกครองที่ ไ ม่ ช อบด้ วย
กฎหมายซึ่งเป็ นการให้ เงิน หรื อให้ ทรั พย์ สิน หรื อ ให้
ประโยชน์ ที่อาจแบ่ งแยกได้ ให้ คานึงถึงความเชื่อ โดย
สุ จริ ตของผู้รับประโยชน์ ในความ คงอยู่ของคาสั่ งทาง
ปกครองนั้นกับประโยชน์ สาธารณะประกอบกัน
ความเชื่ อโดยสุ จริ ตตามวรรคหนึ่ง จะได้ รับ ความ
คุ้มครองต่ อเมื่อผู้รับคาสั่ งทางปกครองได้ ใช้ ประโยชน์ อัน
เกิ ด จากค าสั่ ง ทางปกครองหรื อ ได้ ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ
ทรัพย์ สินไปแล้ ว โดยไม่ อาจแก้ ไขเปลี่ยนแปลงได้ ห รือ การ
เปลีย่ นแปลงจะทาให้ ผู้น้ันต้ องเสี ยหายเกินควรแก่ กรณี
ในกรณี ดัง ต่ อ ไปนี้ ผู้ รั บ ค าสั่ ง ทางปกครองจะอ้ า ง
ความเชื่อโดยสุ จริตไม่ ได้
(1) ผู้ น้ั น ได้ แ สดงข้ อ ความอั น เป็ นเท็ จ หรื อ ปกปิ ด
ข้ อความจริงซึ่งควรบอกให้ แจ้ งหรื อข่ มขู่ หรือชั กจูงใจ โดย
การให้ ท รั พ ย์ สิ น หรื อ ให้ ป ระโยชน์ อื่น ใดที่ มิ ช อบ ด้ ว ย
กฎหมาย
(2) ผู้น้ันได้ ให้ ข้อความซึ่ งไม่ ถูกต้ องหรื อ
ครบถ้ วนในสาระสาคัญ
ไม่
(3) ผู้ น้ั น ได้ รู้ ถึ ง ความไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมายของ
คาสั่ งทางปกครองในขณะได้ รับคาสั่ งทางปกครองหรื อ
การไม่ รู้น้ันเป็ นไปโดยความประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง
ในกรณี ที่ เ พิ ก ถอนโดยให้ มี ผ ลย้ อนหลั ง การคื น เงิ น
ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์ ที่ ผ้ ู รั บ ค าสั่ ง ทางปกครองได้ ไ ปให้ น า
บทบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยลาภมิ ค วรได้ ใ นประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิชย์ มาใช้ บังคับโดยอนุโลม โดยถ้ าเมื่อใดผู้รับคาสั่ ง ทาง
ปกครองได้ ร้ ู ถึ ง ความไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมายของค าสั่ ง ทาง
ปกครอง หรื อควรได้ ร้ ู เช่ นนั้นหากผู้น้ันมิได้ ประมาทเลินเล่ ออย่ าง
ร้ ายแรงให้ ถือว่ าผู้น้ันตกอยู่ในฐานะไม่ สุจริตตั้งแต่ เวลานั้นเป็ นต้ น
ไป และในกรณีตามวรรคสามผู้น้ันรับผิดในการคืนเงิน ทรัพย์ สิน
หรืประโยชน์ ทไี่ ด้ รับไปเต็มจานวน
มาตรา 52
คาสั่ งทางปกครองที่ไม่ ชอบด้ วยกฎหมายและ ไม่
อยู่ในบังคับของมาตรา 51 อาจถู กเพิกถอนทั้งหมดหรื อ
บางส่ วนได้ แต่ ผู้ได้ รับผลกระทบจากการเพิกถอนคาสั่ ง
ทางปกครองดังกล่ าว มีสิทธิได้ รับค่ าทดแทนความเสี ยหาย
เนื่องจากความเชื่ อโดยสุ จริ ตในความคงอยู่ของคาสั่ งทาง
ปกครองได้
และให้ นาความในมาตรา 51 วรรคหนึ่ง วรรคสอง และ
วรรคสาม มาใช้ บั ง คั บ โดยอนุ โ ลม แต่ ต้ องร้ องขอ
ค่ าทดแทนภายใน 180 วันนับแต่ ได้ รับแจ้ งให้ ทราบถึง
การเพิกถอนนั้น
ค่ าทดแทนความเสี ยหายตามมาตรานี้จะต้ อง ไม่
สู ง กว่ า ประโยชน์ ที่ ผู้ น้ั น อาจได้ รั บ หากค าสั่ ง
ทาง
ปกครองดังกล่ าวไม่ ถูกเพิกถอน
มาตรา 53
คาสั่ งทางปกครองที่ชอบด้ วยกฎหมายซึ่ งไม่ เป็ นการ ให้
ประโยชน์ แก่ ผ้ ูรับคาสั่ งทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรื อ
บางส่ วน โดยให้ มีผลตั้งแต่ ขณะที่เพิกถอนหรือมีผลในอนาคต ไป
ถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กาหนดได้ เว้ นแต่ เป็ นกรณี
ที่ คง
ต้ องทาคาสั่ งทางปกครองที่มีเนื้อหาทานองเดียวกัน นั้นอีก หรื อ
เป็ นกรณีที่การเพิก ถอนไม่ อ าจกระทาได้ เพราะเหตุ อื่น ทั้งนี้ ให้
คานึงถึงประโยชน์ ของบุคคลภายนอกประกอบด้ วย
คาสั่ งทางปกครองที่ชอบด้ วยกฎหมาย
ซึ่ งเป็ น
การให้ ประโยชน์ แก่ ผู้รับคาสั่ งทางปกครอง อาจถูกเพิก
ถอนทั้งหมดหรือบางส่ วนโดยให้ มีผลตั้งแต่ ขณะที่ เพิกถอน
หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กาหนดได้
เฉพาะเมื่อมีกรณี ดังต่ อไปนี้
(1) มีกฎหมายกาหนดให้ เพิกถอนได้ หรื อมีข้อสงวน
สิ ทธิให้ เพิกถอนได้ ในคาสั่ งทางปกครองนั้นเอง
(2) ค าสั่ งทางปกครองนั้ นมี ข้ อก าหนดให้ ผู้ รั บ
ประโยชน์ ต้องปฏิบัติ แต่ ไม่ มีการปฏิบัติภายในเวลา ที่
กาหนด
(3) ข้ อเท็จจริงและพฤติการณ์ เปลี่ยนแปลงไป ซึ่ ง
หากมีข้อเท็จจริ งและพฤติการณ์ เช่ นนี้ในขณะทาคาสั่ งทาง
ปกครองแล้ วเจ้ าหน้ าที่คงจะไม่ ทาคาสั่ งทางปกครองนั้ น
และหากไม่ เพิกถอนจะก่ อให้ เกิดความเสี ยหายต่ อประโยชน์
สาธารณะได้
(4) บทกฎหมายเปลีย่ นแปลงได้ ซึ่งหากมี บท
กฎหมายเช่ นนี้ ใ นขณะท าค าสั่ ง ทางปกครองแล้ ว
เจ้ า หน้ าที่ คงจะไม่ ท าคาสั่ ง ทางปกครองนั้ น แต่ การ
เพิกถอนในกรณีนี้ใ ห้ ก ระท าได้ เ ท่ า ที่ผ้ ู รั บประโยชน์
ยั ง ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ประโยชน์ หรื อ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์
ตามคาสั่ งทางปกครองดังกล่ าว และหากไม่ เพิกถอน
จะก่อให้ เกิดความเสี ยหายต่ อประโยชน์ สาธารณะได้
(5) อาจเกิดความเสี ยหายอย่ างร้ ายแรงต่ อประโยชน์
สาธารณะหรื อต่ อประชาชน อันจาเป็ นต้ องป้ องกันหรื อ
ขจัดเหตุดงั กล่ าว
ในกรณีที่มีการเพิกถอนคาสั่ งทางปกครองเพราะเหตุ
ตามวรรคสอง (3) (4) และ (5) ผู้ได้ รับประโยชน์ มีสิทธิ
ได้ รับค่ าทดแทนความเสี ยหายอันเกิดจากความเชื่อ โดย
สุ จริ ตในความคงอยู่ของคาสั่ งทางปกครองได้ และให้
นามาตรา 42 มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
คาสั่ งทางปกครองที่ชอบด้ วยกฎหมาย ซึ่ ง
เป็ นการให้ เงินหรื อให้ ทรั พย์ สินหรื อให้ ประโยชน์ ที่
อาจแบ่ งแยกได้ อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่ วน
โดยให้ มีผลย้ อนหลังหรื อไม่ มีผลย้ อนหลังหรื อมีผล
ในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง ตามที่กาหนดได้
ในกรณีดงั ต่ อไปนี้
(1) มิได้ ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้ าในอันที่จะดาเนินการ
ให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของคาสั่ งทางปกครอง
(2) ผู้ ไ ด้ รับประโยชน์ มิ ไ ด้ ป ฏิบัติห รื อ ปฏิ บัติล่ าช้ า
ในอั น ที่ จ ะด าเนิ น การให้ เ ป็ นไปตามเงื่ อ นไขของค าสั่ ง
ทางปกครอง
ทั้ งนี้ ให้ น าความในมาตรา 51 มาใช้ บั ง คั บ
โดยอนุโลม
มาตรา 54
เมื่อคู่กรณีมีคาขอ เจ้ าหน้ าทีอ่ าจเพิกถอนหรือ แก้ ไข
เพิม่ เติมคาสั่ งทางปกครองทีพ่ ้นกาหนดอุทธรณ์ ตามส่ วน
ที่ 5 ได้ ในกรณีดังต่ อไปนี้
(1) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทาให้ ข้อเท็จจริงที่ฟัง
เป็ นยุตแิ ล้ วนั้นเปลีย่ นแปลงไปในสาระสาคัญ
(2) คู่ กรณี ที่ แ ท้ จริ ง มิ ไ ด้ เข้ ามาในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครองหรือได้ เข้ ามาในกระบวนการพิจารณา
ครั้งก่ อนแล้ วแต่ ถูกตัดโอกาสโดยไม่ เป็ นธรรมในการมีส่วน
ร่ วมในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
( 3 ) เ จ้ า ห น้ า ที่ ไ ม่ มี อ า น า จ ที่ จ ะ ท า ค า สั่ ง
ทางปกครองในเรื่องนั้น
(4) ถ้ าคาสั่ งทางปกครองได้ ออกโดยอาศัยข้ อเท็จจริง
หรื อข้ อกฎหมายใดและต่ อมาข้ อเท็จจริ งหรื อ
ข้ อ
กฎหมายนั้นเปลีย่ นแปลงไปในสาระสาคัญ ในทางที่จะ
เป็ นประโยชน์ แก่ คู่กรณี
การยื่นคาขอตามวรรคหนึ่ง (1) (2) หรื อ (3) ให้
กระทาได้ เฉพาะเมื่อคู่กรณีไม่ อาจทราบถึงเหตุน้ันในการ
พิจ ารณาครั้ ง ที่ แ ล้ ว มาก่ อ นโดยไม่ ใ ช่ ค วามผิด ของผู้ น้ั น
การยื่ น ค าขอให้ พิ จ ารณาใหม่ ต้ อ งกระท าภายใน
90 วันนับแต่ ผู้น้ันได้ รู้ถงึ เหตุซึ่งอาจขอให้ พจิ ารณาใหม่ ได้
มาตรา 55
การบังคับทางปกครองไม่ ใช้ กับเจ้ าหน้ าที่ด้ วยกัน
เว้ นแต่ จะมีกฎหมายกาหนดไว้ เป็ นอย่ างอืน่
มาตรา 56
เจ้ าหน้ าที่ผู้ทาคาสั่ งทางปกครองมีอานาจ ที่
จะพิจารณาใช้ มาตรการบังคับทางปกครอง เพื่อให้
เป็ นไปตามคาสั่ งของตนได้ ตามบทบัญญัติ ในส่ วนนี้
เ ว้ น แ ต่ จ ะ มี ก า ร สั่ ง ใ ห้ ทุ เ ล า ก า ร บั ง คั บ ไ ว้ ก่ อ น
โดยเจ้ า หน้ า ที่ ผู้ ท าค าสั่ ง นั้ น เอง ผู้ มี อ านาจพิจ ารณา
ค าอุ ท ธรณ์ ห รื อ ผู้ มี อ านาจพิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ความ
ถูกต้ องของคาสั่ งทางปกครองดังกล่าว
เจ้ าหน้ าที่ตามวรรคหนึ่งจะมอบอานาจให้ เจ้ าหน้ าที่
ซึ่งอยู่ใต้ บังคับบัญชาหรือเจ้ าหน้ าที่อนื่ เป็ นผู้ดาเนินการ ก็
ได้ ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวงใ ห้
เจ้ าหน้ าที่ตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสอง
ใช้ มาตรการ
บังคับทางปกครองเพียงเท่ าที่จาเป็ น เพื่อให้ บรรลุตาม
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ค า สั่ ง ท า ง ป ก ค ร อ ง โ ด ย
กระทบกระเทื อ นผู้ อ ยู่ ใ นบั ง คั บ ของค าสั่ ง
ทาง
ปกครองน้ อยทีส่ ุ ด
มาตรา 57
คาสั่ งทางปกครองที่กาหนดให้ ผู้ใดชาระเงิน ถ้ า
ถึงกาหนดแล้ วไม่ มีการชาระโดยถูกต้ องครบถ้ วน ให้
เจ้ าหน้ าทีม่ หี นังสื อเตือนให้ ผู้น้ันชาระภายในระยะเวลา
ที่กาหนดแต่ ต้องไม่ น้อยกว่ า 7 วัน ถ้ าไม่ มีการปฏิบัติ
ตามค าเตื อ น เจ้ า หน้ า ที่ อ าจใช้ มาตรการบั ง คั บ ทาง
ปกครองโดยยึดหรื ออายัดทรั พย์ สินของ ผู้น้ันและ
ขายทอดตลาดเพือ่ ชาระเงินให้ ครบถ้ วน
วิ ธี ก ารยึ ด การอายั ด และการขายทอดตลาด
ทรั พย์ สินให้ ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิ จารณา
ความแพ่ งโดยอนุโลม ส่ วนผู้มีอานาจสั่ งยึดหรื ออายัด
ห รื อ ข า ย ท อ ด ต ล า ด ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ ก า ห น ด
ในกฎกระทรวง
มาตรา 58
คาสั่ งทางปกครองที่กาหนดให้ กระทาหรื อ
ละเว้ นกระทา ถ้ าผู้อยู่ในบังคับของคาสั่ ง ทาง
ปกครองฝ่ าฝื นหรือไม่ ปฏิบัติตาม เจ้ าหน้ าที่อาจ
ใช้ มาตรการบังคับทางปกครองอย่ างหนึ่งอย่ าง
ใดดังต่ อไปนี้
(1) เจ้ าหน้ าที่ เ ข้ าด าเนิ น การด้ วยตนเองหรื อ
มอบหมายให้ บุคคลอื่นกระทาการแทน โดยผู้อยู่ในบังคับ
ของคาสั่ งทางปกครองจะต้ องชดใช้ ค่าใช้ จ่าย และเงินเพิม่ ใน
อัตราร้ อยละ 25 ต่ อปี ของค่ าใช้ จ่ายดังกล่ าวแก่ เจ้ าหน้ าที่
( 2 ) ใ ห้ มี ก า ร ช า ร ะ ค่ า ป รั บ ท า ง ป ก ค ร อ ง
ตามจานวนที่สมควรแก่ เหตุแต่ ต้องไม่ เกิน 20,000 บาท
ต่ อวัน
เจ้ าหน้ าที่ระดับใดมีอานาจกาหนดค่ าปรั บทางปกครอง
จ านวนเท่ า ใดส าหรั บ ในกรณี ใ ด ให้ เป็ นไปตามที่ ก าหน ด
ในกฎกระทรวง
ในกรณีที่มีความจาเป็ นที่จะต้ องบังคับการโดยเร่ งด่ วน
เพื่อป้องกันมิให้ มีการกระทาที่ขัดต่ อกฎหมายที่ มีโทษทางอาญา
หรื อมิให้ เกิดความเสี ยหายต่ อประโยชน์ สาธารณะ เจ้ าหน้ าที่
อาจใช้ ม าตรการบั ง คั บ ทางปกครอง โดยไม่ ต้ อ งออกค าสั่ ง
ทางปกครองให้ ก ระท าหรื อ ละเว้ น กระท าก่ อ นก็ไ ด้ แต่ ท้ั งนี้
ต้ องกระทาโดยสมควรแก่ เหตุและภายในขอบเขตอานาจหน้ าที่
ของตน
มาตรา 59
ก่อนใช้ มาตรการบังคับทางปกครองตาม มาตรา
58 เจ้ าหน้ าที่จะต้ องมีคาเตือนเป็ นหนังสื อ ให้ มีการ
กระทาหรื อละเว้ นกระทาตามคาสั่ ง ทางปกครอง
ภายในระยะเวลาที่กาหนด
ตามสมควรแก่ กรณี
ค าเตื อ นดั ง กล่ า วจะก าหนดไปพร้ อมกั บ ค าสั่ งทาง
ปกครองก็ได้
คาเตือนนั้นจะต้ องระบุ
(1) มาตรการบั ง คั บ ทางปกครองที่ จ ะใช้ ให้ ชั ด แจ้ ง
แต่ จะกาหนดมากกว่าหนึ่งมาตรการในคราวเดียวกันไม่ ได้
(2) ค่ าใช้ จ่ายในการที่เจ้ าหน้ าที่เข้ าดาเนินการด้ วยตนเอง
หรื อ มอบหมายให้ บุ ค คลอื่ น กระท าการแทน หรื อ จ านวน
ค่าปรับทางปกครองแล้วแต่ กรณี
การกาหนดค่ าใช้ จ่ายในคาเตือน ไม่ เป็ นการตัดสิ ทธิ ที่
จะเรียกค่าใช้ จ่ายเพิม่ ขึน้ หากจะต้ องเสี ยค่าใช้ จ่ายจริงมากกว่ าที่
ได้ กาหนดไว้
มาตรา 60
เจ้ า หน้ า ที่ จ ะต้ อ งใช้ มาตรการบั ง คั บ ทางปกครองตามที่
กาหนดไว้ ในคาเตือนตามมาตรา 59 การเปลีย่ นแปลงมาตรการ จะ
กระท าได้ ก็ ต่ อเมื่ อ ปรากฏว่ ามาตรการก าหนดไว้ ไม่ บรรลุ
ตามวัตถุประสงค์
ถ้ า ผู้ อ ยู่ ใ นบั ง คั บ ของค าสั่ ง ทางปกครองต่ อ สู้ ขั ด ขวาง
การบั ง คั บ ทางปกครอง เจ้ า หน้ า ที่ อ าจใช้ ก าลั ง เข้ า ด าเนิ นการ
เพื่อให้ เป็ นไปตามมาตรการบังคับทางปกครองได้ แต่ ต้องกระทา
โดยสมควรแก่ เหตุ ในกรณีจาเป็ นเจ้ าหน้ าที่อาจขอความช่ วยเหลือ
จากเจ้ าพนักงานตารวจได้
มาตรา 61
ใ น ก ร ณี ไ ม่ มี ก า ร ช า ร ะ ค่ า ป รั บ
ทางปกครอง ให้ เจ้ าหน้ าที่ดาเนินการต่ อไป
ตามมาตรา 57
มาตรา 62
ผู้ถูกดาเนิ นการตามมาตรการบังคับ
ทาง
ปกครองอาจอุ ท ธรณ์ ก ารบั ง คั บ ทางปกครองนั้ น ได้
การอุ ท ธรณ์ การบั ง คั บ ทางปกครองให้ ใช้
หลักเกณฑ์ แ ละวิธี การเดียวกันกับ การอุท ธรณ์ คาสั่ ง
ทางปกครอง
มาตรา 63
ถ้ าบทกฎหมายใดกาหนดมาตรการบังคับ
ทางปกครองไว้ โดยเฉพาะแล้ ว แต่ เจ้ าหน้ าที่ เห็น
ว่ ามาตรการบังคับนั้นมีลักษณะที่จะเกิ ดผลน้ อย
กว่ ามาตรการบังคับตามหมวดนี้ เจ้ าหน้ าที่ จะใช้
มาตรการบังคับทางปกครองตามหมวดนี้แทนก็
ได้
ส่วนคดี
สานักกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
0-2241-9034-5