การบรรยาย ครั้งที่ ๓ นางสาวอินทิรา ฉิวรัมย์ รองอธิบดีผู้พพิ ากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง กรณี ทางแก้ของจาเลยที่ขาดนัดยืน่ คาให้การ แล้วจะมีทางแก้อย่างไร มีทางแก้ ๒ ทาง คือ ๑.

Download Report

Transcript การบรรยาย ครั้งที่ ๓ นางสาวอินทิรา ฉิวรัมย์ รองอธิบดีผู้พพิ ากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง กรณี ทางแก้ของจาเลยที่ขาดนัดยืน่ คาให้การ แล้วจะมีทางแก้อย่างไร มีทางแก้ ๒ ทาง คือ ๑.

การบรรยาย ครั้งที่ ๓
นางสาวอินทิรา ฉิวรัมย์
รองอธิบดีผู้พพิ ากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
กรณี ทางแก้ของจาเลยที่ขาดนัดยืน่ คาให้การ
แล้วจะมีทางแก้อย่างไร มีทางแก้ ๒ ทาง คือ
๑. ก่อนที่ศาลพิพากษา ถ้าก่อนศาลพิพากษา
จาเลยก็ตอ้ งยืน่ คาขออนุญาตยืน่ คาให้การ
๒. หลังจากศาลพิพากษาแล้วศาลพิพากษา
ให้ จ าเลยที่ ข าดนั ด ยื่ น ค าให้ ก ารแพ้ค ดี แล้ว จะ
แก้อย่างไร
หั ว ข้ อ ที่ ๒ เ มื่ อ จ า เ ล ย ข า ด นั ด
ยื่นคาให้การแล้วศาลพิพากษาให้จาเลยแพ้คดี
จ าเลยจะแก้ ไ ขอย่ า งไร กรณี นี้ เป็ นเรื่ อง
ของการขอพิจารณาคดีใหม่
กฎหมายจึงได้บญั ญัติทางแก้ให้แก่จาเลยที่
มิ ได้จงใจขาดนัดยื่นคาให้การ และมาทราบว่า
ถูกฟ้ องหลังจากศาลพิพากษาให้แพ้คดี แล้วโดย
ให้มีสิทธิ ขอให้พิจารณาคดี ใหม่ตามหลักเกณฑ์
ในประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ่ ง
มาตรา ๑๙๙ ตรี มาตรา ๑๙๙ จั ต วา และ
มาตรา ๑๙๙ เบญจ ซึ่ ง มี ห ลัก การเช่ น เดี ย วกับ
การขอให้พิจารณาคดีใหม่กรณี ขาดนัดพิจารณา
การพิจารณาคดี ใหม่เนื่ องจาก
จาเลยขาดนัดยื่นคาให้การนี้ สามารถ
แบ่งเป็ น ๔ หัวข้อดังต่อไปนี้
หัวข้อที่ ๑ หลักเกณฑ์การขอให้พิจารณาคดีใหม่
มาตรา ๑๙๙ ตรี บั ญ ญั ติ ว่ า จ าเลยซึ่ ง ศาลมี
คาพิพากษาหรื อคาสั่ งชี้ขาดให้ แพ้ คดีโดยขาดนัดยื่น
คาให้ การ ถ้ ามิได้ ยนื่ อุทธรณ์ คาพิพากษาหรือคาสั่ งนั้น
จาเลยนั้นอาจมีคาขอให้ พจิ ารณาคดีใหม่ ได้ เว้นแต่
๑. ศาลเคยมี ค าสั่ ง ให้ พิ จ ารณาคดี น้ั น ใหม่ ม า
ครั้งหนึ่งแล้ว
๒. คาขอให้ พิจารณาคดีใหม่ น้ั นต้ องห้ า มตาม
กฎหมาย
จากบทบัญญัติมาตรา ๑๙๙ ตรี สามารถ
แบ่งแยกหลักเกณฑ์ออกได้ ๕ ประการ คือ
ประการที่ ๑ จ าเลยที่ จ ะขอพิ จ ารณาคดี
ใหม่ ต้อ ง เป็ นจ าเลยที่ แ พ้ค ดี โ ดยขาดนั ด ยื่ น
คาให้การหมายความว่าต้องเป็ นจาเลยที่ แพ้คดี
เท่านั้น ถ้าขาดนัดยื่นคาให้การแต่ศาลพิพากษา
ยกฟ้ องโจทก์ จาเลยจะขอพิจารณาคดี ใหม่ตาม
มาตรานี้ไม่ได้
หลัก เกณฑ์ป ระการที่ ๒ จ าเลยต้อ งไม่
ยืน่ อุทธรณ์คดั ค้านคาพิพากษาหรื อคาสั่งที่ให้ตน
แพ้คดี เหตุผลก็คือว่า ให้จาเลยเลื อกเอาทางใด
ทางหนึ่ งจะขอพิ จ ารณาคดี ใ หม่ ห รื ออุ ท ธรณ์
คัดค้านคาพิพากษาศาลชั้นต้น มิ ฉะนั้นแล้วจะ
กลายเป็ นว่าเรื่ องเดียวได้รับการวินิจฉัยสองศาล
ในเวลาเดียวกันและต่างชั้นกัน
หลักเกณฑ์ประการที่ ๓ คาขอต้องอ้างเหตุว่า
การขาดนั ด มิ ไ ด้ เ ป็ นไปโดยจงใจหรื อมี เ หตุ
อัน สมควร ได้ บ ัญ ญัติ อ ยู่ ใ นมาตรา ๑๙๙ เบญจ
วรรคสอง โดยเขียนหลักเกณฑ์ในกรณี ที่จะอนุ ญาต
ให้พิ จ ารณาคดี ใ หม่ ว่า การขาดนัด ของจ าเลยนั้น
จะต้อ งเป็ นไปโดยไม่ จ งใจหรื อ มี เ หตุ อ ัน สมควร
ถ้าจงใจหรื อไม่มีเหตุอนั สมควรศาลก็ตอ้ งยกคาร้อง
ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ ถื อ ว่ า จ าเลยจงใจขาดนั ด ยื่ น
คาให้การคือ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๓๔๐/๒๕๔๕
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๒๖/๒๕๓๐
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๘๘/๒๕๓๑
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๕๒๗/๒๕๔๑
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๐๔๐/๒๕๔๓
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๔๖/๒๕๒๑
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๑๓/๒๕๒๒
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๒๑/๒๕๓๕
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๔๔/๒๕๓๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๑๖/๒๕๔๕
มี ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ เ ป็ นกรณี ที่ ถื อ ว่า มี
เหตุอนั สมควรที่จะให้พิจารณาคดีใหม่ได้คือ
ค า พิ พ า ก ษ า ฎี ก า ที่ ๔ ๖ ๘ / ๒ ๕ ๓ ๙
เข้า หลัก เกณฑ์ไ ม่ ไ ด้จ งใจหรื อ มี เ หตุ ส มควร
อย่างใดอย่างหนึ่งก็พอแล้ว
หลักประการที่ ๔ เหตุ ผลที่ อา้ งมาในค าขอนั้น
ต้องได้ความว่า ผูข้ ออาจมีทางชนะคดีได้หลักข้อนี้ อยู่
ในมาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคสอง เช่ น เดี ย วกัน โดย
มาตรา ๑๙๙ เบญจ วรรคสอง บัญญัติวา่ ในการพิจารณา
ค าขอให้ พิ จ ารณาคดี ใ หม่ ถ้า มี เ หตุ ค วรเชื่ อ ว่ า การ
ขาดนัดยื่นคาให้การนั้นมิได้เป็ นไปโดยจงใจหรื อมีเหตุ
อันสมควรและศาลเห็นว่ าเหตุผลที่อ้างมาในคาขอนั้น
ผู้ขออาจมีทางชนะคดีได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๙๖๒/๒๕๒๕
ต่ อ ไปเป็ นหลักประการที่ ๕ จาเลยที่ ข อ
พิ จ า ร ณ า ค ดี ใ ห ม่ จ ะ ต้ อ ง มิ ใ ช่ จ า เ ล ย ต า ม
มาตรา ๑๙๙ ตรี (๑) หรื อ (๒) หัวข้อย่อย คือ
๕.๑ กรณี ตามมาตรา ๑๙๙ ตรี (๑)
๕.๒ กรณี ตามมาตรา ๑๙๙ ตรี (๒)
มี ๒ กรณี คือ
กรณี ที่ ๑ จาเลยขาดนัดยื่นคาให้การและ
มาศาลก่อนศาลวินิจฉัยชี้ขาดคดี และแจ้งต่อศาล
ในโอกาสแรกว่ า ตนประสงค์ จ ะต่ อ สู้ ค ดี
ขออนุ ญ าตยื่ น ค าให้ ก าร ศาลเห็ น ว่ า จ าเลย
ไม่ จ งใจขาดนั ด ก็ อ นุ ญ าตแต่ จ าเลยก็ ข าดนั ด
ยื่ น ค าให้ ก ารอี ก เป็ นครั้ งที่ ส อง จ าเลยจะขอ
อนุ ญาตยื่นคาให้การตามมาตรา ๑๙๙ วรรคหนึ่ ง
อีกไม่ได้
กรณี ที่ ๒ เป็ นจ าเลยประเภทที่ ศ าลไม่
อนุญาตให้ยนื่ คาให้การตามมาตรา ๑๙๙ วรรคสอง
มาแล้ว คือจาเลยที่มิได้แจ้งต่อศาลในโอกาสแรก
ที่ ม าศาลว่ า ประสงค์จ ะสู้ ค ดี ห รื อ จ าเลยที่ ศ าล
ไม่ อ นุ ญ าตเพราะเห็ น ว่ า จงใจขาดนัด หรื อ ไม่ มี
เหตุ สมควร จาเลยนี้ จะขออนุ ญาตยื่นคาให้การ
ตามมาตรา ๑๙๙ วรรคหนึ่งอีกไม่ได้
ข้ อ สั ง เกตในการขอพิ จ ารณาคดี ใ หม่
มีท้ งั หมด ๕ ประการ
ประการที่ ๑ คาขอพิจ ารณาคดี ใหม่ ตาม
มาตรา ๑๙๙ ตรี ถือว่าเป็ นคาฟ้ อง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๒๑/๒๕๑๑
ถ้าหากศาลมี คาสั่งยกคาร้ องขอพิจารณา
คดี ใหม่จาเลยอุทธรณ์คาสั่งระหว่างนี้ ถ้าจาเลย
มายื่ น ค าร้ อ งขอให้ พิ จ ารณาคดี ใ หม่ อี ก เป็ น
ฉบับที่ ๒ ก็ตอ้ งเป็ นฟ้ องซ้อนเพราะถือว่าคาขอ
พิจารณาคดีใหม่เดิมนั้นอยูร่ ะหว่างอุทธรณ์จึงยัง
ไม่ถึงที่สุด
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๖๐๓/๒๕๔๘
ประการที่ ๒ คาขอให้พิจารณาคดีใหม่น้ นั
ต้ อ งยื่ น ต่ อ ศาลชั้ นต้ น ที่ ตั ด สิ นคดี นั้ นตาม
มาตรา ๗ (๑) จะยื่ น ขอต่ อ ศาลอุ ท ธรณ์ ห รื อ
ศาลฎี การวมมากั บ อุ ท ธรณ์ ฎี กาที่ ค ั ด ค้ า น
คาพิพากษาศาลชั้นต้นไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๖/๒๕๒๓
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๑๑๔/๒๕๓๘
ประการที่ ๓ ค าขอให้พิ จ ารณาคดี ใ หม่
ไม่ใช่ สิทธิ เฉพาะตัว หากจาเลยถึงแก่ความตาย
ไปก่อน ทายาทสามารถร้ องขอให้พิจารณาคดี
ใหม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๙๐/๒๕๓๖
คดีน้ ี เป็ นคดีที่เกี่ ยวกับทรัพย์สินไม่ใช่คดีที่สิทธิ
เฉพาะตัวของผูต้ าย ถ้าเป็ นเรื่ อ งสิ ทธิ เ ฉพาะตั ว ของ
ผู ้ต ายก็ ต ้ อ งจบไปพร้ อ มกั บ ความตายของจ าเลย
แต่ เรื่ องนี้ เป็ นเรื่ องทรั พย์สินซึ่ งตกทอดแก่ ทายาทได้
เพราะฉะนั้ นทายาทของจ าเลยก็ ม ายื่ น ค าร้ อ งขอ
พิจารณาคดี ใหม่ได้ แต่ก่อนจะยื่นคาร้ องขอพิจารณา
คดีใหม่ก็ตอ้ งยืน่ คาร้องขอเข้าเป็ นผูร้ ับมรดกความตาม
มาตรา ๔๒ และ ๔๓ ก่อน เมื่ อศาลอนุ ญาตแล้วก็มา
ร้องขอพิจารณาคดีใหม่
ประการที่ ๔ คาขอให้พิจารณาคดีใหม่เป็ น
กิ จ การที่ ต้อ งระบุ ไ ว้เ ป็ นพิ เ ศษตามมาตรา ๖๒
เพราะฉะนั้ นในใบแต่ ง ทนายจะต้อ งระบุ ใ ห้
อานาจทนายความที่ จะยื่นคาขอให้พิจารณาคดี
ใหม่ ไ ว้ด้ว ย ถ้า ใบแต่ ง ทนายความไม่ ไ ด้ใ ห้
อานาจไว้ถือว่าคาร้องไม่ชอบ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๕๐/๒๕๓๓
ประการที่ ๕ การสั่งคาร้องขอพิจารณา
คดีใหม่ไม่ถือว่าเป็ นการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท
แห่ งคดี ผู ้ พิ พ ากษาคนเดี ยวสั่ ง ได้ ต าม
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๒๔ (๒)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๕๒/๒๕๒๔
ต่ อ ไ ป เ ป็ น หั ว ข้ อ ที่ ๒ เ กี่ ย ว กั บ
ก าหนดเวลายื่ น ค าขอให้ พิ จ ารณาคดี ใ หม่
กฎหมายบั ญ ญั ติ ใ ห้ เ ป็ นไปตามประมวล
กฎหมายวิธี พิ จ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๙๙
จัตวา วรรคหนึ่ง
ตามบทบั ญ ญั ติ ด ั ง กล่ า วแบ่ ง ก าหนด
เวลาในการยื่นคาขอพิจารณาคดี ใหม่ ได้เป็ น
๒ กรณี คือ
๑. กาหนดเวลาตามปกติ
๒. กาหนดเวลาที่มีพฤติการณ์นอกเหนื อ
ไม่อาจบังคับได้
ส าหรั บ ก าหนดเวลาตามข้อ ๑ ที่ ว่า เป็ น
กาหนดเวลาตามปกติน้ นั ยังแบ่งได้เป็ น ๒ กรณี
คื อ ต้ อ งยื่ น ภายใน ๑๕ วัน นั บ จากวัน ที่ ส่ ง
ค าบัง คับ ให้ แ ก่ จ าเลยที่ ข าดนั ด ยื่ น ค าให้ ก าร
หมายความว่า การส่ ง ค าบัง คับ ให้จ าเลยมี ผ ล
เมื่ อ ใดก็ ใ ห้ นั บ ไป ๑๕ วัน จ าเลยจะต้อ งยื่ น
คาขอให้พิจารณาคดีใหม่
มีข้อสั งเกตดังนี้
๑. ระยะเวลา ๑๕ วัน ตามมาตรา ๑๙๙ จัตวา
วรรคหนึ่ง จะเริ่ มนับต่อเมื่อการส่ งคาบังคับนั้นเป็ น
การส่ งโดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้าการส่ งคาบังคับ
เป็ นไปโดยไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย ระยะเวลา
๑๕ วัน ยัง ไม่ เ ริ่ มนั บ เป็ นไปโดยไม่ ช อบด้ว ย
กฎหมายก็เปรี ยบเสมื อนกับไม่มีการส่ งคาบังคับ
เพราะฉะนั้นระยะเวลายังไม่เริ่ มนับ
ข้อสังเกตที่ ๒ ถ้ายังไม่มีการส่ งคาบังคับ
เลย กาหนดเวลา ๑๕ วันยังไม่เริ่ มนับ จาเลยมี
สิ ทธิพิจารณาคดีใหม่เมื่อใดก็ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๕๗๑/๒๕๓๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๖๙๘/๒๕๔๑
ข้อสังเกตข้อที่ ๓ คือกาหนดเวลา ๑๕ วัน
นับ แต่ ว นั ส่ ง ค าบัง คับ จะน าระยะเวลาที่ ต้อ ง
ปฏิบตั ิตามคาบังคับมารวมด้วยไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๘๑๒/๒๕๓๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๔๔๔/๒๕๔๒
ข้อสังเกตข้อที่ ๔ ถ้ามีจาเลยหลายคนต้อง
แยกพิ จ ารณาจ าเลยแต่ ล ะคน เพราะการส่ ง
คาบังคับให้จาเลยแต่ละคนอาจจะไม่เหมือนกัน
กรณี ที่สอง (๑.๒) ต้องยืน่ ภายใน ๑๕ วัน
นับ แต่ ร ะยะเวลาที่ ศ าลก าหนดเพื่ อ ให้ ก ารส่ ง
ค าบัง คับ นั้น มี ผ ล ข้อ นี้ ในทางปฏิ บ ัติ แ ทบจะ
ไม่ เ คยพบ (เป็ นเรื่ อ งที่ ศ าลต้อ งก าหนดไว้เ ป็ น
พิเศษนอกเหนือจาก มาตรา ๗๙ เช่น จาเลยไป
ท างานในเรื อ ประมงนาน ๆ จะกลับ มาบ้า น
สั ก ครั้ ง ศาลอาจสั่ ง ให้ ปิ ดค าบั ง คั บ ไว้ ที่
บ้า นก านัน ผู้ใ หญ่ มี ก าหนด ๓๐ / ๕๐ วัน
ก่อนการส่ งคาบังคับมี ผล (ต้องให้ระยะเวลา
นั้นล่วงพ้นไปก่อนแล้วจึงสามารถยืน่ ได้ภายใน
๑๕ วัน)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๕๒/๒๕๓๖
ข้อสังเกตข้อที่ ๔ ถ้ามีจาเลยหลายคนต้อง
แยกพิ จ ารณาจ าเลยแต่ ล ะคน เพราะการส่ ง
คาบังคับให้จาเลยแต่ละคนอาจจะไม่เหมือนกัน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๕๒/๒๕๓๖
๒. กาหนดเวลาที่มีพฤติการณ์นอกเหนื อ
ไม่ อ าจบัง คับ ได้ ที่ ว่ า พฤติ ก ารณ์ น อกเหนื อ
ไม่ อ าจบัง คับ ได้น้ ัน หมายถึ ง เหตุ ใ ด ๆ ที่ ท าให้
จ าเลยที่ ข าดนั ด ยื่ น ค าให้ ก ารไม่ ส ามารถยื่ น
ค าขอให้ พิ จ ารณาคดี ไ ด้ ท ั น ภายในก าหนด
กฎหมายจึ งได้กาหนดเวลาให้สิทธิ แก่จาเลยใน
การยื่นคาขอให้พิจารณาคดี ใหม่เป็ นกรณี พิเศษ
แยกได้เป็ นสองกรณี คือ
๒.๑ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วนั ที่พฤติการณ์
นอกเหนือไม่อาจบังคับได้น้ นั สิ้ นสุ ดลง
๒.๒ หรื ออย่างช้าที่สุดต้องไม่เกิน ๖ เดือน
นับ แต่ ว นั ที่ ไ ด้ยึด ทรั พ ย์ห รื อ ได้มี ก ารบัง คับ ตาม
คาพิพากษาหรื อคาสัง่ โดยวิธีอื่น
คาว่าพฤติ การณ์นอกเหนื อไม่อาจบังคับได้
นั้นสามารถยกตัวอย่างได้ เช่น
๑. จาเลยไม่ทราบว่าถูกฟ้ อง กรณี ที่จาเลยถูก
ฟ้ องแล้วแต่จาเลยไม่ทราบเลย เพราะว่าไม่อยูบ่ า้ น
จาเลยไม่ทราบว่าถูกฟ้ องเป็ นพฤติการณ์นอกเหนื อ
ไม่อาจบังคับได้ อาจเนื่ องมาจากจาเลยเดินทางไป
ต่างประเทศ หรื อการส่ งคาบังคับไปยังภูมิลาเนาที่
ไม่ใช่ที่อยูท่ ี่แท้จริ งของจาเลย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๒/๒๕๐๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๓๓๑/๒๕๔๐
๒. ความเจ็บป่ วยของจาเลยเป็ นพฤติการณ์
นอกเหนือที่ไม่อาจบังคับได้เช่นเดียวกัน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๒๘/๒๕๑๙
๓. เจ้าหน้าที่ศาลถ่ายเอกสารในสานวนให้จาเลย
ล่าช้าเกินไป ทาให้จาเลยตรวจคาฟ้ องและคาพิพากษา
ไม่ทนั ถือว่าเป็ นพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๖๓๓/๒๕๓๒
การเดินทางไปต่างจังหวัดไม่ถือว่าเป็ นพฤติการณ์
นอกเหนื อที่ไม่อาจบังคับได้ เพราะว่าเป็ นธุ ระส่ วนตัว
ของจาเลยเอง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๘๔/๒๕๔๑
น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ข้ อ สั ง เ ก ต ที่ เ กี่ ย ว กั บ
พฤติการณ์นอกเหนื อไม่อาจบังคับได้อีกหลายข้อ
เช่ น พฤติ ก ารณ์ น อกเหนื อ ไม่ อ าจบัง คับ ได้น้ ัน
จะต้ องไม่ ได้ เกิดขึน้ เพราะความผิดของจาเลย
เอง หากเป็ นความผิ ด ของจ าเลยก็ จ ะยื่น ขอให้
พิจารณาคดีใหม่เกิน ๑๕ วัน นับแต่วนั ส่ งคาบังคับ
ไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๐๕๐/๒๕๓๙
ข้อ สั ง เกตอี ก ข้อ หนึ่ ง ก็ คื อ พฤติ ก ารณ์ น อกเหนื อ
ไม่ อ าจบัง คับ ได้จ ะต้อ งสิ้ น สุ ด ลงเมื่ อ พ้น ก าหนดเวลา
ขั้น ตอนที่ ๑ แล้ว และจ าเลยไม่ ส ามารถยื่ น ค าขอให้
พิ จ ารณาใหม่ ไ ด้ต ามปกติ หากพฤติ ก ารณ์ น อกเหนื อ
ดังกล่าวสิ้ นสุ ดลงก่อนกาหนดเวลาในขั้นตอนที่ ๑ จาเลย
ก็ตอ้ งยื่นคาขอตามปกติคือภายใน ๑๕ วัน นับแต่วนั ส่ ง
คาบังคับ ถ้าเวลาเหลื อน้อยเกิ นไปไม่ เพียงพอจาเลยก็
ต้องยืน่ คาขอขยายระยะเวลายืน่ คาขอพิจารณาคดีใหม่
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๓๘๒/๒๕๓๙
จาเลยต้องบรรยายให้ชดั เจนว่าพฤติการณ์
นอกเหนื อ ไม่ อ าจบัง คับ ได้เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ ใดและ
สิ้ นสุ ดลงเมื่ อใด เพื่อให้เห็ นว่าจาเลยยื่นคาขอ
ภายในกาหนด ๑๕ วัน นับแต่พฤติการณ์น้ ันได้
สิ้ น สุ ดลงหรื อไม่ ถ้ า ไม่ บ รรยายถื อ ว่ า เป็ น
คาขอให้พิจารณาคดีใหม่ที่ไม่ชอบ
มีตัวอย่ าง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๑๗/๒๕๔๗
๒.๒ อย่า งช้า ที่ สุ ด ต้อ งไม่ เ กิ น ๖ เดื อ น
นับแต่วนั ที่ได้ยึดทรั พย์หรื อได้มีการบังคับตาม
ค าพิ พ ากษาหรื อค าสั่ ง โดยวิ ธี อื่ น ที่ ผ่ า นมา
เป็ นเรื่ อง ๒.๑ ก็คือกาหนดเวลาปกติ จะต้องยื่น
ค าขอพิ จ ารณาคดี ใ หม่ ภ ายใน ๑๕ วัน นับ แต่
วัน ที่ พฤติ การณ์ น อกเหนื อ ไม่ อ าจบังคับ ได้น้ ัน
สิ้ นสุ ดลง
มาตรา ๑๙๙ จัต วา วรรคหนึ่ งที่ ต อนท้า ย
บัญญัติวา่ แต่ กรณีจะเป็ นอย่ างไรก็ตามห้ ามมิให้ ยื่น
คาขอเช่ นว่ านี้เมื่อพ้ นกาหนด ๖ เดือน นับแต่ วันที่
ได้ ยึดทรั พย์ หรื อได้ มีการบังคับตามคาพิพากษา
หรือคาสั่ งโดยวิธีอื่น หมายความว่าจาเลยจะขอให้
พิ จ ารณาคดี ใ หม่ ไ ด้อ ย่ า งช้า ที่ สุ ด ต้อ งขอภายใน
๖ เดือน นับแต่วนั ที่ถูกยึดทรัพย์หรื อได้มีการบังคับ
ตามคาพิพากษาหรื อคาสั่งโดยวิธีอื่นหากพ้นเวลา
ดังกล่าวจาเลยหมดสิ ทธิ
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๑๕๓/๒๕๓๓
ค าพิ พ ากษาฎี ก านี้ หมายความว่ า ถ้า ส่ ง
คาบังคับโดยชอบมีการยึดทรัพย์ มีการบังคับคดี
ตามคาพิพากษาเรี ยบร้อยเกิน ๖ เดือนแล้วไม่วา่ จะ
เป็ นพฤติการณ์นอกเหนื อไม่อาจบังคับได้อย่างไร
ก็ต ามถ้า เกิ น ๖ เดื อ นแล้ว ถื อ ว่า คดี สิ้ น สุ ด จะมา
ยืน่ คาร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ไม่ได้เด็ดขาด
๑. ต้ อ งมี พ ฤติ ก ารณ์ น อกเหนื อ ไม่ อ าจ
บังคับได้ ทาให้ไม่อาจยืน่ คาขอได้ภายใน ๑๕ วัน
นั บ จากวัน ที่ ไ ด้ ส่ ง ค าบัง คับ ให้ แ ก่ จ าเลยตาม
ขั้ นตอนที่ ๑ ถ้ า จ าเลยสามารถยื่ น ค าขอใน
ก าหนดเวลาตามขั้น ตอนที่ ๑ จ าเลยก็ ต้อ งยื่ น
จะรอให้มีการยึดทรัพย์แล้วค่อยมายื่น โดยอาศัย
กาหนด ๖ เดือนนี้ไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๕๒๖/๒๕๓๒
๓. ผูท้ ี่จะใช้สิทธิกรณี ๖ เดือนนี้จะต้องเป็ น
จ า เ ล ย ที่ ถู ก ยึ ด ท รั พ ย์ ห รื อ ไ ด้ มี ก า ร บั ง คั บ
ตามค าพิ พ ากษาหรื อค าสั่ ง โดยวิ ธี อื่ น เท่ า นั้ น
ไม่รวมถึ งจาเลยคนอื่ น ๆ ในคดี เดี ยวกันที่ ไม่ถูก
ยึด ทรั พ ย์ห รื อ บัง คับ ตามค าพิ พ ากษาหรื อ ค าสั่ง
โดยวิธีอื่นด้วย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๕๒/๒๕๓๖
๔. ในกรณี ที่มีการบังคับตามคาพิพากษา
โดยวิธีอื่นที่ไม่มีการบังคับคดีโดยการยึดทรัพย์
เช่ น ค าพิ พ ากษาที่ บ ั ง คั บ ให้ จ าเลยโอน
กรรมสิ ทธิ์ที่ดินให้แก่โจทก์ หากไม่ปฏิบตั ิตาม
ให้ ถื อ เอาค าพิ พ ากษาแทนการแสดงเจตนา
แทนจาเลย โจทก์จึงสามารถบังคับคดีโดยการ
น าค าพิ พ ากษาไปแสดงต่ อ เจ้า พนัก งานที่ ดิ น
เพื่ อ จดทะเบี ย นโอนกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ให้ แ ก่
โจทก์ได้ ดังนั้น กาหนดเวลา ๖ เดือน จึงให้
นับตั้งแต่วนั ที่โจทก์นาคาพิพากษาไปแสดงต่อ
เจ้าพนักงานที่ ดินเพื่อดาเนิ นการเปลี่ ยนแปลง
ทางทะเบียน
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๖๕/๒๕๓๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๔๓๓/๒๕๒๓
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๖๕/๒๕๓๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๓๓๐/๒๕๓๘
๕. ในคดี ที่ มีจ าเลยหลายคนก็ให้พิจ ารณา
เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ไ ป ต า ม ค า พิ พ า ก ษ า ฎี ก า ที่
๒๑๕๒/๒๕๓๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๔๓๓/๒๕๒๓
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๔๓/๒๕๓๙
หั วข้ อที่ ๓ แบบของคาขอให้ พิจารณา
คดี ใ หม่ กฎหมายบัญ ญัติ เ รื่ องแบบค าขอให้
พิ จ า ร ณ า ค ดี ใ ห ม่ ไ ว้ ใ น ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๙๙ จัตวา วรรคสอง
กาหนดแบบมีหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้
๑. ต้องระบุเหตุที่จาเลยขาดนัดยื่นคาให้ การโดย
ชัดแจ้ง
๒. ต้อ งมี ข ้อ คัด ค้า นค าตัด สิ น ชี้ ขาดของศาลที่
แสดงให้เห็นว่าหากศาลพิจารณาคดีใหม่แล้วตนอาจเป็ น
ฝ่ ายชนะคดี
๓. ในกรณี ยื่นคาขอล่าช้าต้องแสดงเหตุแห่ งการ
ล่าช้านั้นด้วย
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๕๙๕/๒๕๒๙
สาหรับกรณี ที่ยื่นคาขอล่าช้าตามหลักเกณฑ์
ข้อ ๓ นั้น หมายถึ ง จ าเลยยื่น ค าขอเกิ น ๑๕ วัน
นับจากวันที่ ได้มีการส่ งคาบังคับตามคาพิพากษา
หรื อค าสั่ ง ให้ แ ก่ จ าเลยเพราะมี พฤติ การณ์
นอกเหนื อไม่อาจบังคับได้ คาขอจึ งต้องบรรยาย
ถึงเหตุแห่งการล่าช้า
ดังนี้
หลักเกณฑ์ท้ งั ๓ ข้อ ดังกล่าวแยกอธิ บายได้
๑. เหตุ ที่จาเลยขาดนัดยื่นคาให้การ คาขอ
ของจาเลยต้องบรรยายให้เห็นว่าเหตุใดจาเลยจึงไม่
ยื่นคาให้การภายในกาหนด สาเหตุดงั กล่าวเป็ น
เหตุผลอยูใ่ นตัวว่าจาเลยจงใจขาดนัดยื่นคาให้การ
หรื อมีเหตุผลอันสมควรหรื อไม่ เช่น
ก. อ้ า งว่ า จ าเลยย้า ยไปอยู่ ที่ อื่ น แล้ ว จึ ง
ไม่ทราบว่าถูกฟ้ อง
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๒/๒๕๐๖
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๔๒/๒๕๑๐
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๖๐/๒๕๑๑
คาขอให้พิจารณาใหม่ ของจาเลยกล่าวว่า
จ าเลยไปอยู่ ที่ ประเทศอิ นเดี ยยั ง มิ ได้ ก ลั บ
ประเทศไทย จึ งไม่ ท ราบการถู ก ฟ้ องและ
การพิจารณาของศาลถือว่าได้กล่าวถึงเหตุที่ขาดนัด
โดยละเอียดชัดแจ้งแล้ว