บรรยายเรื่อง ไอซ์ และอาการทางจิตเวช พญ.บุญศิริ จันศิริมงคล

Download Report

Transcript บรรยายเรื่อง ไอซ์ และอาการทางจิตเวช พญ.บุญศิริ จันศิริมงคล

พญ. บุญศิริ จันศิริมงคล
สถาบันจิตเวชศาสตร์
สมเด็จเจ้าพระยา
สถานการณ์สารเสพติดที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย
เอ็กซ์ตาซี
ย ุโรป
ยาบ้า/ไอซ์
ประเทศเพื่อนบ้าน
เอ็กซ์ตาซี
อเมริกาเหนือ
โคเคน
กัญชา
ประเทศเพื่อนบ้าน
อเมริกาใต้
เคตามีน
ฮังการี
ATS - ออกฤทธิใ์ ห้สมองตืน่ ตัว
ยาบา้
ยาไอซ ์
กระทอม
่
โคเคน
ยาอี/ยาเลิฟ*
*มีฤทธิห
์ ลอน
ประสาทดวย
้
TYPE OF STIMULANTS DRUGS
Category
Cocaine
Example
MOA
Reuptake
Inhibition
Amphetamines Ice, CAT, Release
Ritalin
Reuptake
Nicotine
Tobacco Nicotinic
Receptors
Methylxanthines Caffeine Adenosine
Receptors
Usage
Crack
ADHD,
Obesity, …
OTC
Beverages
AMPHETAMINE AND RELATED
COMPOUNDS
 The d isomer is more potent than
amphetamine
 Schedule II drugs
Kitchen lab
สารกระตุนประสาท
้
Amphetamine -Type -Stimulants
• สารกระตุนประสาทออกฤทธิ
ก์ ระตุนให
้
้
้
สมองตืน
่ ตัว
• ถ้าใช้ในปริมาณไมมาก
ผู้เสพจะรูสึ้ ก
่
กระชุ่มกระชวย มีสมาธิด ี และไมหิ
่ วไม่
เหนื่อย
• ถ้าใช้ในปริมาณมาก จะทาให้อุณหภูมใิ น
รางกายสู
งขึน
้ มาก กระสั บกระส่าย ตืน
่
่
ตระหนก หัวใจเตนเร็
้ วมาก
เมทแอมเฟตามีนที่พบการแพร่ ระบาดอยู่ใน 4 รูปแบบ
1) เมทแอมเฟตามีนชนิดเม็ด (methamphetamine
tablet) ในประเทศไทยรู้จกั กันในนาม “ยาบ้า”
2) เมทแอมเฟตามีนชนิดเกร็ด (crystal
methamphetamine) เป็ น
methamphetamine hydrochloride หรือ
ไอซ์
3) เมทแอมเฟตามีนชนิดผง
4) เมทแอมเฟตามีนเบส (methamphetamine base)
สาหรับในประเทศไทยพบ 2 รูปแบบ รูปแบบแรก คือ ชนิดเม็ดและชนิดเกร็ด
ซึ่งในการศึกษานี้ จะเน้ นเฉพาะชนิดเกร็ดที่เรียกว่า ไอซ์ เท่านัน้
เมทแอมเฟตามีนชนิดเม็ด (methamphetamine
tablet) หรื อ “ยาบ้ า”
 เป็ นรูปแบบที่แพร่หลายมากในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (กัมพูชา ลาว ไทยและ
เวียดนาม)
 มีลกั ษณะเป็ นยาเม็ดกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร หนา
ประมาณ 3 มิลลิเมตร น้าหนักประมาณ 80-100 มิลลิกรัมมีสีต่าง ๆ กัน เช่น
สีส้ม สีม่วง สีเขียว สีเหลือง และสีชมพู เป็ นต้น
 ในแต่ละเม็ดยาประกอบด้วยเมทแอมเฟตามีนและคาเฟอีนเป็ นหลัก ตามปกติ
บนแต่ละเม็ดยาจะมีเครือ่ งหมายเป็ นสัญลักษณ์ เช่น มงกุฎ อักษร WY หรือ
TG เป็ นต้น
ิ ดในรูปแบบนี้ จะเสพโดยการกิน หรือนาไปบดให้เป็ นผงเพื่อ
 โดยทัวไปยาเสพต
่
เผาไฟและสูบควัน ปัจจุบนั พบการผสมน้าฉี ดเข้าทางเส้นเลือดดา
เมทแอมเฟตามีนชนิดเกร็ด (crystal
methamphetamine hydrocholide)
หรือไอซ์
 เป็ นเมทแอมเฟตามีนที่มีความบริสท
ุ ธ์ ิ ค่อนข้างสูง และอยู่ในรูปที่สามารถ
สูบควันได้
 มีฤทธ์ ิ เสพติดรุนแรงกว่าเมทแอมเฟตามีนในรูปแบบอื่น ๆ
 ไอซ์จากแหล่งผลิตอยู่ในเอเชียมักมีลกั ษณะเป็ นผลึกขนาดใหญ่ใสถึงสีขาว หรือ
เป็ นเกล็ดผงหยาบ ๆ
 นิยมเสพโดยวิธีสบู ควัน สูดผงเข้าทางจมูก (นัตถุ)์ กิน หรือฉี ด
 The 'high' experienced from ice and base is much more intense, and
with intense reactions come powerful responses including
comedown, the potential for dependence (addiction) and chronic
physical and mental problems.
STREET NAMES FOR Methamphetamine
METH
 Beannies
 Brown
 Chalk
 Batu
 Blade
 Crank
 Cristy
 Chicken feed
 Crystal
 Cinnamon
 Crystal glass
 Crink
 Crypto

ICE : น้าแข็ง, ขนม ,ไฮ
 Crystal meth
 Fast
 Glass
 Get
 Hot ice
 Methlies Quik
 Quartz
Pervitin (Czech Republic)
 Redneck cocaine
 Speed
 Tweak
 Wash
 Yaba (Southeast Asia)
 Yellow powder
 Shabu
 Shards
 Stove top
 Tina
 Ventana
ความรุนแรงของฤทธิ์สารกระตุน้ ประสาท (ATS)
ขึ้นอยูก่ บั
• ชนิดของแอมเฟตามีนที่เป็ น active ingredient และสารอื่นที่เป็ นส่วนผสม
• กรณี ไอซ์ เป็ น อนุพนั ธ์ ค่อนข้างบริสุทธิ์
•
•
•
•
•
•
•
จานวนเกร็ดและปริมาณแอมเฟตามีนต่อเกร็ด
วิธีการเสพ เช่น ฉีดเข้าเส้น > สูบ > กิน
ความแตกต่างแต่ละบุคคล ทั้งขนาด รูปร่าง และความไวในการตอบสนอง
การมีประสบการณ์ใช้สารเสพติดนั้นหรือสารที่มีฤทธิ์ใกล้เคียงมาก่อน
สภาวะขณะเสพ เช่น เสพคนเดียวที่บา้ น หรือเสพกับกลุ่มเพื่อน
การใช้สารเสพติดอื่นร่วมด้วย เช่น ดื่มแอลกอฮอล์
การผสมสารกระตุน้ ประสาทอื่น หรือใช้รว่ มกัน
อ้างอิ งจากเอกสารนาเสนอ BEMA-3 Management of ATS and Related Disordersศูนย์วิชาการสารเสพติ ดภาคเหนื อ
ลักษณะพฤติกรรมการเสพ ไอซ์
• กลุม
่ ทดลองใช้
• กลุม
่ ที่เสพเพื่อความสนุกสนาน
• กลุม
่ ที่เสพตามสถานการณ์
• กลุม
่ เสพหนักเป็ นครั้งคราว
• กลุม
่ เสพประจา
• กลุม
่ เสพติดหลายชนิด
วัยรุน่
ปาร์ต้ ี รักร่วมเพศ
เพื่อน คอนเสิรท์
เทศการณ์วนั หยุด
ทดแทนยาเสพติดอื่น
ติด
เพื่อฤทธิ์มากขึ้น
ยาเข้าไปออกฤทธิ์ในร่างกายได้อย่างไร
นัตถ์/สูดดม
จมูก
เลือด
1-3 นาที
เลือด
ยาเข้าไปออกฤทธิ์ในร่างกายได้อย่างไร
ฉีด
เลือด
เลือด
วินาที
ยาเข้าไปออกฤทธิ์ในร่างกายได้อย่างไร
กิน/ดื่ม
ลาไส้
เลือด
30 นาที
เลือด
ระยะเวลาในการออกฤทธิ ์
อ้างอิ งจากเอกสารนาเสนอ BEMA-3 Management of ATS and Related Disordersศูนย์วิชาการสารเสพติ ดภาคเหนื อ
มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ 2008
ปั ญหาและความเสี่ยงจากการเสพสารกระตุน้ ประสาท
ความเสี่ยงทั ่วไป
การเสพหนัก
การเสพนาน
เศรษฐกิจ สังคม
เสพหนักเป็ นพัก ๆ
เสพติด
เพศสัมพันธ์อย่างไม่
ปลอดภัย
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
ขาดสารอาหาร
อุบตั เิ หตุ
พิษต่อระบบประสาท
ปั ญหาสุขภาพจิต
เสพสารเสพติดหลายชนิด
ภาวะเป็ นพิษ
โรคจิต ซึมเศร้า
ระหว่างตั้งครรภ์
เสพเกินขนาด
ความผิดปกติความจา
ความคิดอ่าน
ฤทธิข
์ องสารกระตุนประสาท
้
• Mild effects ส่วนใหญเกิ
่ ตัว
่ ดผลทางบวก เช่น ตืน
อารมณดี
์ มีเพียงบางรายอาจมีผลทางลบ
เช่น นอนไมหลั
่ อาหาร ซึง่ เกิดในช่วงสั้ น ๆ
่ บ เบือ
• Moderate effects เช่น รู้สึ กดี มีความตองการทางเพศเพิ
ม
่ ขึน
้
้
และมักตามมาดวยอาการวิ
ตกกังวล หรือรูสึ้ กเพลีย เมือ
่ ยลา้
้
ซึมลงหลังหยุดเสพ
• Severe or toxic effects อารมณครื
้ เครง รวมกั
บอาการ
่
์ น
กระสั บกระส่าย อยูไม
่ มีอาการสงสั ย ระแวดระวัง
่ นิ
่ ่ง เริม
ระแวง ไข้ขึน
้
อ้างอิ งจากเอกสารนาเสนอ BEMA-3 Management of ATS and Related Disordersศูนย์วิชาการสารเสพติ ดภาคเหนื อ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ 200
ATS Intoxication (เมายาบา)
้
– ความมึนเมาและการใช้ยาเกินขนาด
ปริมาณ
น้อย
ปริมาณปาน
กลาง
ปริมาณ
มาก
หากใช้เกินขนาด - อาการยาเกิน
ขนาดทางรางกาย
- จิตเตลิด
่
ภาวะเมาสารกระตุนประสาท
้
•
•
•
•
•
•
อาการชีบ
้ งทางร
างกาย
่
่
ความดันโลหิตสูง
ชีพจรเตนเร็
้ ว
ชัก
กัดฟัน
เกร็งกราม
คลืน
่ ไส้
อาการชีบ
้ งทางพฤติ
กรรม
่
• สั บสน
• วิตกกังวลอยางมาก
่
• ความคิด ความจา
เปลีย
่ นไป
• พฤติกรรมกาวร
าว
้
้
• ความคิดทีร่ ะแวง หลง
ผิด
อ้างอิ งจากเอกสารนาเสนอ BEMA-3 Management of ATS and Related Disordersศูนย์วิชาการสารเสพติ ดภาคเหนื อ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่
The signs and symptoms of using ice
can include:
 Increased heart and
breathing rate
 Trembling hands and
fingers
 High blood pressure
 Overheating and
excessive
 sweating
 Stomach cramps
 Blurred vision
 Bad headaches
 Dizziness
 Difficulty sleeping
 Reduced appetite
 Irritability and hostility
 Hallucinations
 Paranoia
 Psychosis
 Panic attacks
 Out of control
aggression
 Itching, picking,
scratching skin
The consequences of using
ice may include:
 Paranoia
 Anorexia
 Increased risk of stroke
 High risk of dependence
 Malnutrition
 Heart and lung problems
 (addiction)
 Increased risk of kidney
 Chronic sleep problems
 Memory loss
 Blood-borne infections
(like hepatitis C and HIV)
through needle-sharing
 problems
 Depression
 Loss of ability to make
decisions
ภาวะถอนพิษสารกระตุนประสาท
้
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
อารมณเศร
์ า้ ซึมลง สมาธิเสี ย
เคลือ
่ นไหวช้า เฉื่ อย
กระสั บกระส่าย โกรธ เสี ยใจ ฉุ นเฉี ยวงาย
่
มีความรูสึ้ กอยากยา (cravings) ไอซ ์
อยากกลับไปเสพซา้
ปวดศี รษะ ปวดเมือ
่ ยตามตัว
นอนมาก แตหลั
่ บไมสนิ
่ ท
ออนเพลี
ย หมดเรีย
่ วแรง
่
นอนไมหลั
กินจุ
่ บ หิวบอย
่
ซึมเศรา้ อาจมีความคิดฆาตั
่ วตาย
รู้สึ กวิตกกังวลอยางมาก
(คลาย
panic)
่
้
ภาวะถอนพิษสารกระตุนประสาท
้
ช่วงอาการรุนแรงทีส
่ ุด
(2-10 วัน)
•
•
•
•
•
•
•
•
ซึมเศรา้ เสี ยสมาธิ
ไมมี
่ แรง
ความอยากอาหารเพิม
่ ขึน
้
ปวดเมือ
่ ยตามตัว
วิตกกังวล
นอนไมหลั
่ บ
อยากยา โกรธฉุ นเฉี ยว
อาจเริม
่ มีอาการเริม
่ ต้ น
ของโรคจิตได้
•
•
•
•
ช่วงอาการหลงเหลือ
(1-8 สั ปดาห)์
มีความอยากยาเป็ นพัก ๆ
นอนไมหลั
่ บ
อารมณเปลี
่ นแปลงงาย
่
์ ย
หงุดหงิด กระสั บกระส่าย
อยูไม
่ ติ
่ ดที่
• สลับกับซึมเศรา้ เบือ
่
หน่าย ไมมี
่ วแรง ไม่
่ เรีย
อยากทาอะไร
• มีความคิดฆ่าตัวตาย
อ้างอิ งจากเอกสารนาเสนอ BEMA-3 Management of ATS and Related Disordersศูนย์วิชาการสารเสพติ ดภาคเหนื อ
ความรุนแรงของอาการจากสารกระตุน้ ประสาท
ผลตอระบบประสาท
่
• การศึ กษาในสั ตวทดลอง
์
การให้เมทแอมเฟตามีนขนาดสูงในหนู 
การตายอยางถาวรของเซลล
ประสาทที
ส
่ รางโดปามี
น
่
์
้
เมทแอมเฟตามีนกระตุน้ การหลั ่งสารโดปามีน
กระตุน้ การหลั ่งสารสื่อนาประสาท
ในสมอง ที่เรียกว่า Dopamine ที่
สมองส่วน Mesolimbic
ทาให้เกิดผลที่พอใจเสมือนได้รบั
รางวัล (Rewarding effect) เกิด
การกระตุน้ ให้แสวงหาและกลับไป
ใช้แอมเฟตามีนอีก
Dopamine Transmission
Dopamine
Crystal
Meth
Dose-dependent effects
Outbursts
Stereotypy
Paranoia
Insomnia
Agitation
Increase BP
Lower appetite
Improve mood
Alertness
Low
Medium
Dosage/Method
High
Dopamine
Pleasure
Movement
Coordination
ผลจากการเสพATSเป็ นเวลานาน
• ผอม ขาดสารอาหาร น้าหนักลด
• มีปญ
ั หาความจา หลงลืมงาย
มึน งง
่
• ในผู้หญิงพบประจาเดือนผิดปกติ
เช่นปวดทองประจ
าเดือน
้
ประจาเดือนมาไมสม
่ า่ เสมอ หรือขาดหายไป
• อาจเกิดอาการชักได้
• การเสพติด
• ความสามารถในการนึกคิดเสี ยไป
• อารมณเปลี
่ นแปลงงาย
วิตกกังวล หวาดระแวง
่
์ ย
• สั บสน ซึมเศร้า อาการโรคจิต
• ปัญหาการนอนหลับเรือ
้ รัง
อ้างอิ งจากเอกสารนาเสนอ BEMA-3 Management of ATS and Related Disordersศูนย์วิชาการสารเสพติ ดภาคเหนื อ มหาวิ ทยาลัยเชียงใหม่ 2008
ผลของแอมเฟตามีนต่อสมองในระยะยาว
ในสัตว์ทดลอง
ให้เมทแอมเฟตามีนขนาดสูง
ในหนู
 การตายอย่างถาวรของ
เซลล์ประสาทที่สร้างโดปามีน
ในคน
ผลจากการเสพไอซเป็
์ น
เวลานาน
 Aged appearance
 Damaged teeth“Meth Mouth”
 Lesions on skin“Crank Bugs”
 ชัก
 Risk of stroke
 Decreased lung function หายใจสัน้
 Poor cognitive function – memory and decision
making issues
 Exposure to blood-borne virus
กระบวนการทางความคิด
ที่ทาให้เกิดความอยากยา
ตัวกระตุน้
ความคิด
ความอยากยา
เสพยา
ตัวกระตุน้ เร้า หรือกระดิ่ง
ตัวกระตุน้ เร้าภายนอก
 อุปกรณ์การเสพ
 สถานที่เสพ
 เพื่อนที่เสพ
 แหล่งขาย ผูค้ า้ ผูซ้ ้ ือยา
 สถานบันเทิง งานเลี้ยง
 วัน เวลาที่เคยเสพ
 เงิน โทรศัพท์มือถือ
 เครือข่าย App Line
ตัวกระตุน้ เร้าภายใน
 อารมณ์เป็ นทุกข์ เช่น เหงา
เบื่อเซ็ง โกรธ หงุดหงิด
ซึมเศร้า เหนื่อยล้า
 อารมณ์เป็ นสุข
 อารมณ์ทางเพศ
ตัวอย่างความคิดที่เกิดขึ้นฉับพลันและไม่เหมาะสม
 นิดเดียวไม่เป็ นไร
 ขอครั้งนี้เป็ นครั้งสุดท้าย
 ให้รางวัลกับตนเองบ้าง เลิกมาตั้งนาน
 เบียร์เย็นๆ สักแก้วน่าจะดี ยาบ้าซักตัวน่าจะดี
 อยากทดสอบดูว่าเลิกได้หรือยัง
 คนอื่นดื่ม เสพหนักกว่าเรา ไม่เห็นเป็ นอะไร
 ยาไอซ์อนั ตรายน้อยกว่ายาบ้า เพราะบริสุทธิ์
 บรรยากาศดีแบบนี้ ถ้ามี......ด้วยน่าจะดี
 ผอม หุ่นดี หน้าใส
 ช่วยให้มีเพศสัมพันธ์ดีข้ ึน
ขั้นตอนการบาบัดรักษาผูต้ ดิ ไอซ์
1.
2.
3.
4.
ขั้นเตรียมการ
การสร้างแรงจูงใจ
ขั้นตอนการบาบัดรักษา
ภาวะทางกายฉุกเฉิน
ขั้นตอนการฟื้ นฟูสมรรถภาพ
สมอง อารามณ์ การใหคาปรึกษารายบุคคล
ขั้นติดตามผลและการดูแลการรักษา
ระยะยาว ซับซ้อนกว่ายาเสพติดตัวอื่น
ขอบคุณ
แผนงานวิชาการสารเสพติดชุมชน