การจัดการขยะอันตรายชุมชน - ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

Download Report

Transcript การจัดการขยะอันตรายชุมชน - ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

การจัดการขยะอันตรายชุมชน
ผศ.ดร.สมศักดิ์ พิทกั ษานุรัตน์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่ งแวดล้อม
คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
[email protected]
089 7116455
บรรยายที่ ศูนย์อนามัย ที่7 (โรงแรม อุบลบุรี )
28 เมษายน 2553
ขยะอันตราย......
กาจัดเองด้วยวิธีง่ายๆ
จริ งหรื อ ????????
ขยะ ขยะ ขยะ
ขยะ คือ อะไร?
“ขยะ คือ ของทีไ่ ม่ ใช้ ไม่ เห็นคุณค่ า ทิง้ ไป”
ย่ านธุรกิจ
ย่ านอุตสาหกรรม
ย่ านทีอ่ ยู่อาศัย
ขยะ มาจากไหน?????
ขยะ
แหล่งท่ องเที่ยว
และพักผ่ อนหย่ อนใจ
หน่ วยงานราชการ
ย่ านเกษตรกรรม
ขยะทำให้เกิดปั ญหำอะไร?
เชื้อโรค
กลิน่ เหม็น
ขยะ
สุ ขภาพ
สิ่ งแวดล้ อม
เศรษฐกิจ
สุ นทรี ยภาพ
หนู,
แมลงสาบ
นา้ เสี ย
ใคร? ทำขยะ
ปั จจัย 4
ทีอ่ ยู่อาศัย
อาหาร
มนุษย์
ยารักษาโรค
ขยะ
เครื่องแต่ งกาย
ขยะมีก่ีประเภท
ขยะ
ขยะจากชุมชน
ขยะอุตสาหกรรม
ขยะทัว่ ไป
ย่ อยสลายง่ าย
•เศษอาหาร
•เศษผัก,ผลไม้
ขยะอันตราย
•ถ่ านไฟฉาย
•หลอดไฟฟ้ า
•สารเคมี
ขยะอันตราย
ย่ อยสลายยาก
•แก้ว
•ผ้ า
•โลหะ
•หนัง
•พลาสติก
•ฯลฯ
ขยะทัว่ ไป
•เป็ นพิษ
•เศษอาหาร
•กระดาษ
•ติดไฟง่ าย
•พลาสติก
•มีฤทธิ์กดั กร่ อน
•มูลฝอยสานักงาน
•ปฏิกริ ิยารุนแรง
•ฯลฯ
•มีเชื้อโรค
•สารกัมมันตภาพรังสี
ขยะเกษตรกรรม
ขยะอันตราย
ขยะทัว่ ไป
• สารเคมีปราบศัตรูพชื • เศษหญ้ า,ฟาง
• เศษวัชพืช
และสัตว์
• เศษไม้ ,ใบไม้
• ปุ๋ ย
• ภาชนะบรรจุ
• ฯลฯ
การจัดการ ณ แหล่ งเกิด
ขยะรีไซเคิล
ขยะเปี ยก
ขยะทัว่ ไป
ต้องคัดแยกขยะ
ขยะอันตราย
ความหมายของขยะอันตราย
ขยะอันตราย หมายถึง ขยะและภาชนะบรรจุเหลือใช้
ของสารทีม่ ีคุณสมบัตติ ่ อไปนี้
• สารถูกชะล้ างได้ ง่าย
• สารติดไฟง่ าย
• สารทาปฏิกริ ิยาได้ ง่าย • มีเชื้อโรคปะปนอยู่
• เป็ นตัวกาเนิดรังสี
• สารกัดกร่ อน
• มีความเป็ นพิษ
แหล่ งที่มาของขยะอันตราย
• บ้ านเรือน เช่ น ถ่ านไฟฉาย ยาหมดอายุ หลอดไฟฟ้ า ยา
ฆ่ าแมลง สารเคมีอนื่ ๆ
• สถานบริการด้ านสุ ขภาพ เช่ น โรงพยาบาล คลินิก ร้ าน
ขายยา
• เขตอุตสาหกรรม เช่ นกากของเสี ยอุตสาหกรรม
• เขตเกษตรกรรม เช่ นยาปราบศัตรูพชื และสั ตว์ ยารักษา
โรคพืชและสั ตว์ ปุ๋ ย และสารเคมีอนื่ ๆ
ในบ้านมีขยะอันตรายอยูท่ ี่ไหนบ้าง
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ
 ดูฉลาก หรื อ สั ญญลักษณ์
สารเป็ นพิษ พบบนภาชนะประเภท
น้ ายาล้างห้องน้ า สารฆ่าแมลง
สารไวไฟ,ติดไฟง่ าย พบเห็นบน ภาชนะ
บรรจุแก๊สหุ งต้ม น้ ามันเชื้อเพลิง
สารกัดกร่ อน พบบนภาชนะประเภท
น้ ายาทาความสะอาด ล้างห้องน้ า น้ ากรด
สั งเกต คาเตือนทีภ่ าชนะบรรจุ เช่ น อันตราย ห้ามรับประทาน ห้ามเผาไฟ ระวังติดไฟง่าย
ขยะอันตรายเข้าสู่ ร่างกายได้อย่างไร
ทางปากโดยการกิน
ทางผิวหนังโดยการสัมผัส
ทางจมูกโดยการหายใจ
ทางการฉี ดเข้าร่ างกาย
อาการเมื่อได้รับสารพิษ
1)แบบเฉี ยบพลัน
 เกิดผดผืน
่
 ผิวหนังไหม้
อักเสบ
 หายใจไม่ออก
 หน้ามืดวิงเวียน
2) แบบเรี้ อรัง
 มะเร็ ง
 อัมพาต
 มีผลต่อทารก
 ตาย
ตัวอย่ างขยะอันตรายจาก
บ้ านเรือน และวิธีจัดการ
แบตเตอรี่ก้อน(ถ่ านไฟฉาย)
• ส่ วนประกอบที่เป็ นอันตราย ปรอท ลิเธียม แคดเมี่ยม
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกที่เกิดพิษน้ อยกว่ า ถ่ านชนิดชาร์ ตใหม่
พลังงานแสงอาทิตย์
นาฬิ กาไขลาน
• วิธีจัดการ
รีไซเคิล แยกเก็บรอส่ งกาจัด
นา้ ยาทาความสะอาดสุขภัณฑ์
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย แคลเซียมไฮโปคลอไรต์ ฯลฯ
• ความเป็ นอันตราย
กัดกร่ อน, เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ใช้ นา้ มะนาวผสมบอแร็กซ์
• วิธีจัดการ
ใช้ ให้ หมด แยกเก็บรอส่ งกาจัด
นา้ ยาฆ่ าเชื้อโรค
• ส่ วนประกอบที่เป็ นอันตราย เมธิลนี ไกลคอน, โซเดียมไฮโป
คลอไรต์ , ฟี นอล
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ,กัดกร่ อน
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า บอแร็กซ์ 1/2 ถ้ วยละลายใน
นา้ เดือด 5 ลิตร
วิธีจัดการ
ใช้ ให้ หมด
นา้ ยาล้ างท่ อ
• ส่ วนประกอบที่เป็ นอันตราย โซเดียมไฮโปครอไรต์ ,กรด
ไฮโดรคลอริก
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ,กัดกร่ อน
• วิธีจัดการ
แยกเก็บรอส่ งกาจัด
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า เกลือ 1/2 ถ้ วยละลายใน
นา้ ส้ มสายชู 1/2 ถ้ วย ราดลงท่ อ ปล่อยไว้ 5 นาที เทนา้ เดือดลง
ไป
น้ำยำขัดเครื่องเรือน
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย ไดเอธิลนี ไกลคอล
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ,ไวไฟ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ใช้ นา้ มันมะกอก 3 ส่ วน ต่ อ
นา้ ส้ มสายชู 1 ส่ วน
• วิธีจัดการ
แยกเก็บรอส่ งกาจัด
นำ้ ยำฟอกขำว
• ส่ วนประกอบที่เป็ นอันตราย โซเดียมไฮดรอกไซด์ ,ไฮโดรเจน
เปอร์ ออกไซด์
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ,กัดกร่ อน
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า สาหรับการซักผ้ าให้ ใช้ นา้ ส้ ม
สายชู กลัน่ 12 ถ้ วย หรือเกลือ
โซดา หรือบอแรกซ์
น้ำยำขัดผิวโลหะ
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย แอมโมเนีย,เอธานอล
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ,กัดกร่ อน,ระคายเคือง
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ใช้ นา้ มะนาวผสมบอแรกซ์ 1:1
• วิธีจัดการ
ใช้ ให้ หมด แล้วปฏิบัติตามฉลาก
ข้ างขวด
สารฆ่ าเชื้อรา
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย แคปแทน, โฟลเพท ฯลฯ
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า อย่ าให้ มีความชื้น, ทาให้ พนื้ ที่
แห้ งและไม่ มสี ิ่ งปกคลุม
• วิธีจัดการ
กระป๋ องล้างนา้ หลายๆครั้ง นา
ไปกาจัดเชื้อรา ไม่ เทลงแหล่งนา้
สารกาจัดแมลงศัตรูพชื
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย มาลาไธออน, คาร์ บารีล
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ผสมนา้ ยาล้างจาน 2 ช้ อนโต๊ ะ
ต่ อนา้ 2 ถ้ วย ฉีดพ่นใบไม้
• วิธีจัดการ
กระป๋ องล้างนา้ หลายๆครั้ง นา
ไปฉีดพ่นพืช ไม่ เทลงแหล่งนา้
สารหนู
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย สารประกอบอาร์ เซนิก
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า สาหรับมดให้ เทกรดบอริกลง
ปากทางเข้ ารู มด
• วิธีจัดการ
กระป๋ องล้างนา้ หลายๆครั้ง นา
ไปกาจัดศัตรู พชื หรือสั ตว์ ไม่ เท
ลงแหล่งนา้
สารฆ่ าแมลงที่สกัดจากพืช
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย ไพลีทริน, โรดโนน,นิโคติน
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ใช้ สบู่กาจัดแมลง หรือใช้ ตวั หา้
• วิธีจัดการ
กระป๋ องล้างนา้ หลายๆครั้ง ฝัง
ลงดิน นานา้ ไปกาจัดแมลง ไม่ เท
ลงแหล่งนา้
คาร์ บาเมต
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย คาร์ บาริล,อัลดิคาร์ บ ฯลฯ
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ใช้ สบู่กาจัดแมลง หรือใช้ ตวั หา้
• วิธีจัดการ
กระป๋ องล้างนา้ หลายๆครั้ง ฝัง
ลงดิน นานา้ ไปกาจัดแมลง ไม่ เท
ลงแหล่งนา้
สารฆ่ าแมลงสาบและมด
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย ไพลีทริน,ออการ์ โนฟอสเฟต
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ใช้ กรดบอริก นา้ ส้ มควันไม้
• วิธีจัดการ
กระป๋ องล้างนา้ หลายๆครั้ง ฝัง
ลงดิน นานา้ ไปกาจัดแมลง ไม่ เท
ลงแหล่งนา้
สารเบื่อหนู
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย สตริกนิน,วาร์ ฟาริน
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ใช้ กบั ดักหนู,คลืน่ อุลตร้ าโซนิก
• วิธีจัดการ
กระป๋ องล้างนา้ หลายๆครั้ง ฝัง
ลงดิน
แบตเตอรี่รถยนต์
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย กรดซัลฟูริก,ตะกัว่
• ความเป็ นอันตราย
กัดกร่ อน,เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ไม่ มี
• วิธีจัดการ
รีไซเคิล
หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์
• ส่ วนประกอบทีเ่ ป็ นอันตราย ปรอท
• ความเป็ นอันตราย
เป็ นพิษ
• ทางเลือกทีเ่ กิดพิษน้ อยกว่า ไม่ มี
• วิธีจัดการ
ใช้ พลาสติกหุ้มหลอด ระวังอย่ า
ให้ แตก รอส่ งกาจัด
ั หลอด
อปท. จัดการกบ
ฟลูออเรสเซนต์อยา่ งไร
ประเด็นคาถามหลัก
เรื่ อง
หลอดฟลูออเรสเซนต์
ประเภทของหลอดไฟฟ้ า
หลอดไส้
หลอดฟลูออเรสเซนต์
ประเภทของหลอดไฟฟ้ า (ต่อ)
หลอดไส้
เป็ นหลอดที่ให้แสงออกมาได้โดยผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าที่
หลอดไส้ ซึ่งทาให้มนั ร้อนและให้แสงออกมา
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
หลอดไส้ แบบธรรมดา
หลอดทังสเตนฮาโลเจน เป็ นหลอดทีไ่ ม่ ค่อยนิยมใช้ กนั ในบ้ าน
หลอดฟลูออเรสเซนต์
มีประสิ ทธิภาพแสงและอายุการใช้งานมากกว่าหลอดไส้
หลอดฟลูออเรสเซนต์แท่งยาวที่ใช้แพร่ หลายมีขนาด 36 วัตต์
• ฟลูออเรสเซนต์ แบบกลม
 ฟลูออเรสเซนต์ ตรง ขนาด 18
และ 20 วัตต์
 ฟลูออเรสเซนต์ ตรง ขนาด 36
และ 40 วัตต์
ประเภทหลอดฟลูออเรสเซนต์ (ต่อ)
ฟลูออเรสเซนต์แบบคอมแพกต์
ประหยัดไฟร้อยละ 80 ของหลอดไส้
•หลอด SL แบบขั้วเกลียว มีบลั ลาสต์ในตัว
•หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ 4 แท่ ง ขั้วเกลียว มีบลั ลาสต์อีเล็กทรอนิกส์ในตัว
•หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ ตวั ยู 3 ขด
•หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ ข้วั เสี ยบ
•หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ 4 แท่ ง ขั้วเสี ยบ
องค์ประกอบที่สาคัญของหลอดฟลูออเรสเซนต์
อันตรายจากหลอดฟลูออเรสเซนต์
 เมื่อหมดอายุการใช้งานถือ
เป็ นของเสี ยอันตราย
 มีสารปรอทเป็ น
ส่ วนประกอบ ระเหยเป็ นไอ
ได้ง่าย และทาอันตรายต่อคน
เมื่อสู ดดมเข้าไป
 หากทิ้งรวมกับขยะชุมชนจะ
เกิดการแตกหัก สารปรอท
จะแพร่ กระจายสู่ สิ่งแวดล้อม
อันตรายจากสารปรอท
มีพิษอย่างรุ นแรงในภาวะที่เป็ นไอ
พิษเฉี ยบพลัน หากรับเข้าทางปาก
ปากเป็ นแผลพุพอง
อักเสบมีเลือดออก ระบบทางเดินอาหารถูกทาลาย อุจจาระ
เป็ นเลือด อาเจียน เป็ นลด หมดสติ และอาจตายได้
พิษเรื้ อรัง ทาลายระบบทางเดินหายใจและเนื้ อเยือ
่ ปอด
ผลกระทบต่อระบบขับถ่าย ทาลายไต ปั สสาวะไม่ออก
ผลต่อระบบประสาทส่ วนกลาง การได้ยน
ิ การมองเห็น
พฤติกรรมเปลี่ยนไป ความจาเสื่ อม
ค่ามาตรฐานที่เป็ นอันตรายต่อมนุษย์
สาหรับปรอทที่อยูใ่ นรู ปเมทิล (Me-Hg)
 คนทัว่ ไป
– ในเลือด 200-500 ng/ml
– ในเส้นผม 50-125 ug/g
 หญิงมีครรภ์
– ในเส้นผม 100 ng/ml
– ในเลือด 30-40 ug/g
(WHO, 1976 อ้างถึง UNEP, 1984)
เครื่ องบดย่อยฟลูออเรสเซนต์
 ใช้ในองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน
่
และชุมชน
 ต้นทุนการผลิตต่า เมื่อเทียบกับ
เครื่ องนาเข้าจากต่างประเทศ
 จัดเก็บง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย
และสามารถป้ องกันการแพร่ กระจาย
ของสารปรอทได้
หลักการทางานของเครื่ องบดย่อยหลอดฟลูออเรสเซนต์
 ใช้ถงั ปิ ดสนิ ทป้ องกันสารปรอทรั่ว
 รับหลอดฟลุออเรสเซนต์เข้าทางท่อ
 บดย่อยด้วยใบพัด และชุดมอเตอร์
 เก็บกักสารปรอทไว้ดว้ ยชุด
สารละลายโซเดียมซัลไฟด์ ควบคุม
การแพร่ กระจายของไอปรอท