คนไทยกับการใช้พลังงาน - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

Download Report

Transcript คนไทยกับการใช้พลังงาน - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

Slide 1

โดย นายบรรพต ดิสกุล
กลุ่มกากับการอนุรักษ์ พลังงาน 1

1


Slide 2

2


Slide 3

3


Slide 4

ภาคพลังงานของประเทศไทยปล่ อยก๊ าซเรือน
กระจก 56%แบ่ งออกเป็ น:การผลิตไฟฟ้า 42 %

ภาคขนส่ ง 32%
ภาคอุตสาหกรรม 23 %

4


Slide 5

ความเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ วของ
ประเทศไทยส่ งผลให้ประเทศ มีความต้องการใช้
พลังงานสู งขึ้นเป็ นจานวนมากในทุกภาคอุตสาหกรรม
และธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคขนส่ งและคมนาคม

5


Slide 6

พลังงาน ... ประเทศไทยเป็ น net importer !!!

ปี พ.ศ. 2549
ผลิตภายในประเทศ
นาเข ้าจากต่างประเทศ

55,761 ktoe
58,410 ktoe (567,464 ล ้านบาท)

6


Slide 7

2543

2544

2545

2546

2547

ปี พ.ศ 2547 ประเทศไทยมีความต้องการใช้พลังงานประมาณ
เก้ าแสนเจ็ดหมื่นล้ านบาทหรื อเท่ากับ 15,290 บาทต่อคนต่อปี คิดเป็ น
ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานกว่าร้อยละ 14 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของ
ประเทศ โดยมีอตั ราการขยายตัวของการใช้พลังงานที่ร้อยละ 14.5 ซึ่งถือ
เป็ นภาระค่ าใช้ จ่ายที่สูงมากของประเทศ
7


Slide 8

การนาเข้าพล ังงานของประเทศ,ล้านบาท
2543

2544

2545

2546

2547

2548
599,000

้ ล ังงานของประเทศ,ล้านบาท
ความต้องการใชพ

8


Slide 9

ส ถิ ต ิ ก า รส่ ง อ อ ก ข อ ง ภ า ค เก ษ ต รเที ย บ ก ับ ก า รนา เข้ า พ ล ง
ั งาน
ล้า น บ า ท
700,000

600,000

500,000

400,000
ก าร ส่ งอ อ ก ภ าค เก ษ ต ร
ก าร นา เข า้ พ ลั งงาน
300,000

200,000

100,000

2543

2544

2545

2546

2547

ปี พ .ศ .

9


Slide 10

ประกอบก ับการผลิตพล ังงานภายในประเทศย ังไม่สามารถผลิตให้
้ ล ังงานได้ ทาให้ประเทศไทยต้องพึง่ พาการนาเข้า
เพียงพอต่อการใชพ
พล ังงานจากกลุม
่ ประเทศผูผ
้ ลิตนา้ ม ันในปริมาณแต่ละปี ทีส
่ ูงมากถึงกว่า

ห้าแสนล้านบาท

ในขณะทีป
่ ระเทศไทยสามารถสง่ ออกภาคการเกษตร
ได้ประมาณสามแสนล้านบาทต่อปี

10


Slide 11

มูลค่าการนาเข้าพลังงาน

450
400
350

พันล้านบาท

300
250
200
150
100
50
0

2542
นา้ มันดิบ

2543
ก๊าซธรรมชาติ

2544
นา้ มันสาเร็จรู ป

2545

2546
ถ่ านหิน

ไฟฟ้า

11


Slide 12

สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า
4%

5%

4%

16%

71%

ก๊าซธรรมชาติ

ลิกไนต์ / ถ่ านหิน

พลังนา้

นาเข้ าและอืน่ ๆ

นา้ มันเตา

12


Slide 13

การใช้พลังงานจาแนกตามชนิดพลังงานของประเทศปี 2549
73,465 ล้านลิตรเทียบเท่าน้ามันดิบ
ถ่านหิน
พลังงานใหม่และหมุนเวียน

17.4%

12.1%

น้ามันสาเร็จรูป

50.0%

ไฟฟ้ า

17.2%
ก๊าซธรรมชาติ

3.3%
13


Slide 14

การใช้พลังงานจาแนกตามสาขาเศรษฐกิจของประเทศปี 2549
73,465 ล้านลิตรเทียบเท่าน้ามันดิบ
เหมือง
แร่

เกษตรกรรม
ขนส่ง 36.0%

ธุรกิจการค้า

6.2%

5.3%

0.2%

อุตสาหกรรมการผลิต

37.8%

บ้านอยู่อาศัย

14.3%

ก่อสร้าง
14


Slide 15

มูลค่ าการใช้ พลังงานแยกตามสาขาเศรษฐกิจปี 2549
1,374,648 ล้ านบาท
เหมืองแร่

615,246 ล้านบาท

เกษตรกรรม

0.3%

335,145 ล้านบาท

5.9% อุตสาหกรรมการผลิต
24.3%

การขนส่ง

44.8%

ธุรกิจการค้า

8.9%

บ้านอยู่อาศัย

15.5%

การก่อสร้าง

0.3%

213,456 ล้านบาท
122,043 ล้ านบาท
15


Slide 16

การใช้ พลังงานในภาคอุตสาหกรรม ปี 2549
27,734 ล้านลิตรเทียบเท่าน้ามันดิบ
พลังงานใหม่และหมุนเวียน

23.3%

ไฟฟ้ า 21.0%
ก๊าซธรรมชาติ

ถ่านหิน 32.1%
น้ามันสาเร็จรูป

15.3%

8.3%

16


Slide 17

ผลกระทบการใช้พลังงาน










พลังงานส่วนใหญ่ของโลก (90%) เป็ นพลังงาน fossil
เช่น ถ่านหิน, ก๊าซธรรมชาติ, น้ามัน (Hydrocarbon)
กาลังจะหมดไป
เมื่อใช้จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน
การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ภัยธรรมชาติ ฟ้ าผ่า,
พายุลม, พายุฝน, สึนามิ รุนแรงขึน้
พืน้ ที่เพาะปลูกน้ อยลง
17
พืน้ ที่ป่าน้ อยลง … O2 น้ อยลง


Slide 18

ผลกระทบใกล้ตวั








พลังงานหมดไป ... พลังงานแพงขึน้
สินค้าแพงขึน้
สงครามจากการแย่งชิงพลังงาน
โลกร้อนขึน้ .....เปิดแอร์มากขึน้ ..... โลกยิ่งร้อน
ขึน้ ...ยิ่งเปิดแอร์มากขึน้
ตอนเราเรียนหนังสือน้ามันลิตรละเท่าไร ? จา
ได้ไหม ?
ทรัพยากรทางทะเลลดลง
ป่ าไม้ลดลง (เพราะไฟป่ ามากขึน้ )

18


Slide 19

ทางเลือกสุ ดท้ าย
หากคุณลดการใช้ นา้ มันไม่ ได้

19


Slide 20

สถานการณ์ด้านพลังงานประเทศไทย
ประเทศไทยเป็ นผูซ้ ื้อพลังงาน
 ขาดความสนใจด้านการประหยัด
เพราะไม่ทราบข้อมูล


20


Slide 21

ทาไมส่ วนราชการจึงต้องลดการใช้พลังงาน

21


Slide 22

คาถาม
1)

2)
3)

พลังงานจะหมดจากโลกนี้ เมื่อไหร่
พวกเราจะเป็ นอย่างไร
พวกเราช่วยเหลืออะไรได้บา้ ง

22


Slide 23

คาตอบ
1)

2)
3)

น้ามัน .... น่ าจะอีก 40 ปี
ใช้ของแพงขึน้ ชีวิตไม่สะดวกเท่าปัจจุบนั
ประหยัด, ใช้ทรัพยากรให้ค้มุ ค่าและฉลาดใช้

23


Slide 24

จิตสานึ ก เกิดได้อย่างไร ?





การมีข้อมูลที่ถกู ต้อง
การเข้าใจการทางานของธรรมชาติ
การมองการณ์ไกล
ความเชื่อมันในความสามารถตนเอง


24


Slide 25

ใช้ของให้ค้มุ ค่าทาอย่างไร

25


Slide 26

หลักการพิจารณา
ั ว
่ นพล ังงานทีใ่ ชใ้ นอาคาร
สดส
ประเภทอาคาร

ระบบปรับอากาศ

ระบบแสงสว่ าง

อืน่ ๆ

อาคารสานักงาน

60%

30%

10%

อาคารโรงพยาบาล

60%

30%

10%

อาคารสถานศึกษา

45%

50%

5%
26


Slide 27

หลักการพิจารณา
ล ักษณะการทางานของอุปกรณ์ไฟฟ้า
ทางานอย่างต่อเนือ
่ ง
หลอดไฟ พ ัดลม อุปกรณ์ทไี่ ม่มต
ี ัวต ัดการทางาน

่ งๆ
ทางานเป็นชว

แอร์ กาต้มนา้ กะทะไฟฟ้า เตารีด เครือ
่ งทานา้ อุน


ต ัวต ัดการทางาน จะต ัดหรือไม่
้ อยูก
ขึน
่ ับอุณหภูมข
ิ ณะนนๆ
ั้ ...

27


Slide 28

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

เครื่องปรับอากาศ
ปิ ดเมื่อไม่ใช้งาน
เปิ ดแอร์ตอน 9:00 หรือ 9:30
ปิ ดแอร์ตอนพ ักเทีย
่ ง
และก่อนเลิกงาน 15 นาที

ล้างใหญ่ 6 เดือนครั้ง ล้างแผ่นกรองอากาศเดือนละครั้ง

28


Slide 29

2

1

3

7

1
4
4

2

5

3

ปรับแอร์ท ี่ 20 องศา กับที่ 25 องศา
แบบไหนเย็นเร็วกว่ากัน ?

6

29


Slide 30

หลักการพิจารณา
เครื่องปรับอากาศ
พิจารณาจาก ค่ าประสิทธิภาพ (EER : Energy Efficiency Ratio)

EER =

ความสามารถในการทาความเย็นของเครื่องปรับอากาศ(BTU ต่ อชั่วโมง)

พลังไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ (Watt)

EER ยิ่งสูงยิ่งดี
หมายเหตุ : 1 ต ันความเย็น = 12,000 BTU ต่อชว่ ั โมง)
30


Slide 31

เปรี ยบเทียบฉลากประหยัดไฟกับค่า EER
ระดับค่ า EER

มาตรฐานการใช้ ไฟฟ้ าเทียบเท่ า

10.6 ขึน้ ไป

เบอร์ 5

ช่ วง 9.6-10.6

เบอร์ 4

ช่ วง 8.6-9.6

เบอร์ 3

ช่ วง 7.6-8.6

เบอร์ 2

ต่ากว่ า 7.6

เบอร์ 1

31


Slide 32

หลักการพิจารณา
เครื่องปรับอากาศ
หรื อ

เลือกเครื่องปรับอากาศทีม่ ีระบบระบายความร้ อนทีด่ กี ว่ า
มีคอยล์ ร้อน (Condensing Unit) ใหญ่
หรื อ

เลือกใช้ Electronic Thermostat

32


Slide 33

หลักการพิจารณา
เครื่องปรับอากาศ

สิ่งสาคัญที่สดุ คือ
ขนาดของเครื่ องปรับอากาศต้ องเหมาะสมกับขนาดพื ้นที่ใช้ งานของห้ อง และ
ภาระความร้ อนความชื ้นในห้ องนันๆ

มวลอากาศเย็นที
เครือ
่ งปร ับอากาศทา
ได้มค
ี า่ เป็นต ัวเงิน

33


Slide 34

หลักการพิจารณา
เครื่องปรับอากาศ

ขนาดเครื่องปรับอากาศทีเ่ หมาะสมทีค่ วามสู งห้ องไม่ เกิน 3 เมตร
2

พื้นที่ ห้อง (m )

ขนาดเครือ่ งปรับอากาศ (Btu/hr)

13-14

7,000-9,000

16-17

9,000-11,000

20

11,000-13,000

23-24

13,000-16,000

30

18,000-20,000

40

24,000
34


Slide 35

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

35


Slide 36

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

36


Slide 37

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

เครื่องปรับอากาศ

37


Slide 38

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

เครื่องปรับอากาศ

38


Slide 39

มาตรการตัวอย่ าง

หล ังปร ับปรุง

ก่อนปร ับปรุง

39


Slide 40

มาตรการตัวอย่ าง

หล ังปร ับปรุง

ก่อนปร ับปรุง

40


Slide 41

หลักการพิจารณา
อุปกรณ์ไฟฟ้ าแสงสว่าง
อุปกรณ์ หลักของระบบแสงสว่ างทีใ่ ช้ ในอาคารและทีอ่ ยู่อาศัย สามารถแยกออกเป็ น
ประเภทได้ ดงั นี้
 หลอดไฟ
 บัลลาสต์
 โคมไฟ

 การควบคุม

41


Slide 42

หลักการพิจารณา
อุปกรณ์ไฟฟ้ าแสงสว่าง
ชนิดของหลอดไฟ

ก. หลักการเผาไส้ ให้ ร้อน (Incandescent )


หลอดไส้ ทังสเตน (Tungsten Filament)


ประสิ ทธิภาพต่า 95% ของพลังงานสู ญเสี ยไปกับความร้ อน





อายุการใช้งานสั้นประมาณ 1,000 ชัว่ โมง.
ขนาดกาลังไฟสู งสุ ด 300 วัตต์ โดยทัว่ ไป 150 วัตต์

หลอดไส้ ทังสเตนฮาโลเจน (Tungsten Halogen)



เหมาะสาหรับการใช้ เฉพาะที่หรือที่มีพนื้ ที่กว้ าง (Floodlighting)
และใช้ แสงสว่ างน้ อยกว่ า 300 ชั่วโมงต่ อปี หรือมีการเปิ ด-ปิ ดไฟบ่ อยครั้ง
42


Slide 43

หลักการพิจารณา
อุปกรณ์ไฟฟ้ าแสงสว่าง
ชนิดของหลอดไฟ

ข. หลักการปล่ อยประจุในก๊ าซ


ฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent)




ให้ แสง 80% ความร้ อน 20%

หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดประหยัดไฟ)

43


Slide 44

หลักการพิจารณา
อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง

เลือกใช้หลอดไฟที่มีประสิ ทธิผลการส่ องสว่างสู ง

ลูเมน (Lumen)

วัตต์
(Watt)

ความสว่างทีโ่ ต๊ะทางานควรเป็ น 300-400 Lux

พิจารณาจาก ตารางแสดงคุณสมบัตขิ องหลอดไฟ

44


Slide 45

หลักการพิจารณา
อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง
เลือกใช้ โคมไฟประสิ ทธิภาพสู ง หรื อ
โคมสะท้อนแสง(Reflector)

45


Slide 46

หลักการพิจารณา
อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง
เลือกใช้ บัลลาสต์ ประหยัดพลังงาน

ี ของบัลลาสต์แกนเหล็ก
กาลังสูญเสย
เท่ากับ 9-12 วัตต์ สาหรับหลอด
ฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์

บัลลาสต์ กาลังสูญเสียต่า

บัลลาสต์ อิเลกทรอนิคส์

(Low Loss Ballast)

(Electronic Ballast)

ี พลังงานน ้อยเพียง 5 วัตต์
สูญเสย
ี พลังงาน
ชนิด Super Low Loss จะสูญเสย
เพียง 3.2 วัตต์

ี พลังงานเพียง 2 วัตต์ และชว่ ยเพิม
สูญเสย
่ อายุ
46
ของหลอดไฟถึง 50%


Slide 47

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

แสงสว่าง

ปิ ดเมื่อไม่ใช้

47


Slide 48

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี
แสงสว่ำง

ปิดส่วนที่ไม่จำเป็น

48


Slide 49

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง
• บารุงร ักษาอยูเ่ สมอ

49


Slide 50

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

สานักงานและอื่นๆ

๊ ่อเลิกใช้งาน
ปิ ด/ถอดปลักเมื

50


Slide 51

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

อุปกรณ์ สานักงาน
้ น
1. ปิ ดคอมพิวเตอร์เวลาพักเทีย
่ ง และปิ ดจอภาพเมือ
่ ไม่ใชเกิ
15 นาที

2. ตัง้ เวลาปิ ดจอคอมพิวเตอร์อต
ั โนมัตเิ มือ
่ ไม่มก
ี ารใชงานเกิ

3 นาที

3. ต่อ Printer 1 เครือ
่ งให ้สามารถใชงานกั
บคอมพิวเตอร์ได ้
อย่างน ้อย 3 เครือ
่ ง

4. ใชงาน
Ink-Jet Printer มากกว่า Laser Printer
5. ตัง้ เวลาเครือ
่ งถ่ายเอกสารให ้เข ้า Save Mode เมือ
่ ไม่มก
ี าร

ใชงานเกิ
น 3 นาที และควรตัง้ ไว ้นอกห ้องทีป
่ รับอากาศ

6. เลือกใชคอมพิ
วเตอร์ทป
ี่ ระหยัดพลังงาน (Energy Star)
51


Slide 52

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

อุปกรณ์ สานักงาน

ปิดช่วงพักกลำงวัน

52


Slide 53

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี
เครื่ องคอมพิวเตอร์

ปิดช่วงพักกลำงวัน
53


Slide 54

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

อุปกรณ์ สานักงาน

ปิดช่วงพักกลำงวัน

54


Slide 55

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

กระติกนา้ ร้ อน

ปิดเมื่อไม่ใช้ หรือน้ำน้อย
กว่ำครึง่ กระติก

55


Slide 56

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

ลิฟท์

่ ลดชวั่ โมงการใชลิ้ ฟท์ตอ
1.จัดตารางเวลาการเปิ ดปิ ดให ้เหมาะสม เชน
่ วัน
2.ปิ ดลิฟท์บางตัวชว่ ง On Peak

3.ปิ ด A/C ห ้องเครือ
่ งลิฟท์ เวลาไม่ใชงาน
้ ดลมระบายอากาศในห ้องเครือ
4.ใชพั
่ งลิฟท์แทนการใช ้ A/C
ั ้ เว ้นชน
ั ้ หรือเฉพาะบางชน
ั้
5.โปรแกรมให ้ลิฟท์จอดชน
ั้
6.ติดสติ๊ กเกอร์ขอความร่วมมือให ้ใชบั้ นไดแทนลิฟท์เมือ
่ ขึน
้ ลง 1 ชน

7.ติดตัง้ Timer เพือ
่ ปิ ดพัดลมและไฟแสงสว่างในลิฟท์ เมือ
่ ไม่มก
ี ารใช ้
งานเกิน 2 นาที
ั พันธ์กน
8.โปรแกรมควบคุมการจัดการลิฟท์ให ้ทางานสม
ั ทุกตัว
56


Slide 57

พฤติกรรมการใช้ พลังงานที่ดี

ลิฟท์

57


Slide 58

58


Slide 59

มาตรการทีจ่ ะช่วยอนุ รกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม
ทีท่ าได้ทุกวัน
1.
2.
3.
เร็ว
4.
5.
6.
7.
8.
9.

ปิ ดไฟทีไ่ ม่ตอ้ งการใช้
วางแผนการเดินทาง
ใช้เครือ่ งปรับอากาศอย่างประหยัดด้วยการเปิ ดให้ชา้ ปิ ดให้
ตั้งอุณหภูมิเครือ่ งปรับอากาศที่ 25 C หรือสูงกว่า
ใช้น้ าอย่างเหมาะสม
ประหยัดกระดาษด้วยการทาสาเนาเท่าทีจ่ าเป็ น
ปิ ดจอคอมพิวเตอร์เมือ่ ไม่ใช้งาน
ถุงใส่ของ ใช้ซ้ าหรือใช้รวม
หมันล้
่ างแผงกรองอากาศของเครือ่ งปรับอากาศ

59


Slide 60

60


Slide 61

61


Slide 62

62


Slide 63

63


Slide 64

 การกล้ าคิด กล้ าทา ไม่ ใช่ เรื่องยาก
 ลองทาดูแล้ วจะภูมใิ จในตนเอง

64


Slide 65

65


Slide 66

66


Slide 67

67


Slide 68

68


Slide 69

69


Slide 70

70


Slide 71

71