Peer review - โรงพยาบาลสระบุรี

Download Report

Transcript Peer review - โรงพยาบาลสระบุรี

PEER REVIEW
Transportation in
critical pediatric
patient
พญ.ชุ ษณา ข่ ายม่ าน
พญ.ธนภสร คู สุ วรรณ
9-2-2011
อุบัตกิ ารณ์ ปัญหาการส่ งต่ อผู้ป่วยNICU
1 ตุลาคม 2553-1มกราคม 2554
จานวน 20ราย
• ETT ความลึกหรื อขนาดไม่เหมาะสม
• ห่อลาไส้ไม่เหมาะสม
• ตัวเย็น
• เขียวหรื อ arrest
• ไม่ได้ fluid หรื อ IV fluid overload
• ขาดการประสานงานก่อนส่ งต่อ intern/RN ไม่รับทราบcase ก่อน
มาถึง ward
อุบัตกิ ารณ์ ปัญหาการส่ งต่ อผู้ป่วย PICU
• ETT หลุดเลื่อนระหว่างทาง
• ขาดการประสานงานก่อนส่ งต่อ intern/RN ไม่รับทราบcase
ก่อนมาถึง ward
• cyanosis
เป้ าหมายหลัก
สามารถส่ งต่อให้ผปู้ ่ วยถึงจุดหมายได้อย่าง
ปลอดภัย และ มีประสิ ทธิ ภาพ
องค์ ประกอบ
1. การติดต่อสื่ อสาร และรวบรวมข้อมูลเป็ นระบบดูแลผูป้ ่ วยแบบองค์รวม
ระหว่าง แพทย์ - แพทย์
พยาบาล - พยาบาล
แพทย์ - พยาบาล
2. ความพร้อมของอุปกรณ์
3. Good monitoring ระหว่าง refer
1. การติดต่ อสื่ อสาร และรวบรวมข้ อมูลเป็ นระบบดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม
 ข้ อมูลของผู้ป่วย
 History,
physical exam, lab, previous treatment,
progress note
 Further specific treatment และการคาดการณ์ complication
ที่จะเกิดขึ้นระหว่างเดินทาง และมาตรการการป้ องกันและรักษา
หน้ าที่แพทย์เจ้ าของไข้
“Evaluate patient status and stabilization”
 รวบรวมข้ อมูลและวางแผน
 ติดต่ อแลกเปลีย่ นข้ อมูลกับปลายทาง
 รวบรวมเอกสารทั้งหมดทีเ่ ป็ นข้ อมูลผู้ป่วยเพือ่ การส่ งต่ อ
Evaluate patient status and
stabilization
ทีมแพทย์ ผ้ ูทจี่ ะไป refer ประเมิน และ stabilize ผู้ป่วยตาม
ระบบอีกครั้งก่ อนออกเดินทาง และโทรบอกข้ อมูลโรงพยาบาล
ปลายทาง
พยาบาลโทรส่ งเวรพยาบาลปลายทาง
การติดต่ อสื่ อสาร
เนือ้ หาหลัก
ข้อมูลผูป้ ่ วยและเอกสารต่างๆรวมทั้งเวลาและจุดนัดพบ การติดต่อ
ระหว่างเดินทาง (เบอร์โทรศัพท์)
Review of
systems of
patient
CNS
Gasgrow coma score
สังเกตอาการการเคลื่อนไหวผิดปกติ เช่น jitteriness หรื อชัก
ทบทวนประวัติการใช้ยาที่มีผลต่อระบบประสาท
ระดับน้ าตาลในเลือด และ electrolyte
seizure: เตรี ยมยาหยุดชักไปด้วย เช่น diazepam,
dilantin, phenobarb
Respiratory system
 Evaluate ภาวะ respiratory failure
- cyanosis, O2saturation
- retraction, grunting, nasal flaring
- RR, air entry
- CXR, blood gas
 Stabilize airway: endotracheal intubation
 Assist ventilation: bagging, transport ventilator
newborn
ET tube
GA (wk)
นา้ หนักตัว
< 28
< 1000 gram
28-34
1000-2000 gram
34-38
2000-3000 gram
> 38
> 3000 gram
ขนาด ET-tube
child
2.5
3
3.5
3.5 - 4
ความลึกของท่ อช่ วยหายใจ
นา้ หนัก
(กรัม)
ความลึก
(ซม.จากริมฝี ปาก)
1*
7
2
8
3
9
4
10
*ทารกทีน่ า้ หนักน้ อยกว่ า 750
กรัม อาจใส่ ท่อช่ วยหายใจลึก 6
ซม. ก็เพียงพอ
Size the age-based formula
4 + (age in years /4)
Depth = size x 3
ET tube
ประเมินขนาดและความลึกของ ET tube ให้เหมาะสม โดยใช้การฟังปอด
หรื อ chest x-ray เพื่อดูตาแหน่งให้ชดั เจน
10 cm
7 cm
ยึด ET tube ให้ ตดิ แน่ น ดูตาแหน่ งให้ ชัดเจน
ตัดท่ อให้ เหลือความยาวประมาณ 3-4 ซม.จากมุมปากเพือ่ ลด dead space
ET tube fixation
ดูตาแหน่งความลึกที่มุมปาก
การตัดปลาสเตอร์ stab tube
ET tube fixation
ติดปลาสเตอร์ แผ่นที่หนึ่ ง
พันรอบท่อช่วยหายใจติดมุมปาก
ET tube fixation
ติดปลาสเตอร์ แผ่นที่หนึ่ งเสร็ จ
ติดปลาสเตอร์ แผ่นที่สองแบบเดียวกับอัน
แรกแต่พนั สลับ บน-ล่าง
ET tube fixation
ติดปลาสเตอร์ แผ่นที่สองแบบเดียวกับอันแรก
แต่พนั สลับ บน-ล่าง
ติดปลาสเตอร์ แผ่นที่สองเสร็ จ
จับบริเวณนีต้ ลอด
การเคลือ่ นย้าย
และขณะบีบ ambu bag
ระวังไม่ ให้ ET tube เลือ่ นหลดุ หรื อเลือ่ นลึก เมือ่ มีการเคลือ่ นย้ายตัวทารก
และดูตาแหน่ งมุมปากให้ ชัดเจนทุกครั้ง
วิธีการบีบ bag ทีถ่ ูกต้ อง
จับบริเวณนีต้ ลอด
การเคลือ่ นย้ าย
และขณะบีบ ambu bag
Atelectasis
ภาวะแทรกซ้อน ถ้า tube ลึกหรื อหลุดเลื่อน
Tension Pneumothorax
ดูแลตลอดการเดินทาง
ป้องกันไม่ ให้ ท่อหักพับ
ParaPAC
Transport ventilator
Neopuff
Assist ventilation
Ambu bag
Self inflating bag with pressure gauge
Self inflating bag with pressure gauge
ช่วยไม่ให้เกิด barotrauma/ pneumothorax
Cardiovascular system
 Early detect of shock
- mottering skin, มือเท้าเย็น ซึมลง
- ประเมิน perfusion ของผิวหนัง capillary refill ควร < 3 วินาที
- วัดความดันโลหิ ตโดยใช้ cuff ขนาดที่เหมาะสม มีความกว้างของ cuff
อย่างน้อย 2 ใน 3 ของต้นแขนหรื อขา
- นับ อัตราการเต้นของหัวใจ และฟังเสี ยง heart sound
 Vascular access ควรมี IV line อย่างน้อย สองเส้น
 IV Fluid with infusion pump
 Inotropic drugs
cuff มีความกว้ างของ cuff อย่างน้ อย 2
ใน 3 ของต้ นแขนหรือขา
Vascular access
 ปรับอัตราการไหลของ IV fluid ให้เหมาะสม
 วิธีที่ดีที่สุดคือ ใช้ infusion pump หรื อ syringe pump
 บันทึกปริ มาณสารละลายที่เหลือในขวดก่อนเดินทาง
 Label ชนิ ด ปริ มาณ ของสารน้ าและยา drip
Infusion pump
label
Syringe pump
Vascular access
• ตรวจสอบตาแหน่งที่ให้ IV fluidว่ายังใช้ได้ดี ไม่บวม
ไม่มีเลือดไหลซึมบริ เวณข้อต่อของสายต่างๆไม่หลวมหลุดง่าย
IV line
stabilization
Umbilical cath
fixation
Gastrointestinal system
 ป้ องกัน secondary respiratory distress จากภาวะ
ท้องอืดมาก นาไปสู่การอาเจียน สาลัก และaspirate
pneumonia
 NG or OG tube
 อย่าลืมเปิ ดฝา NG/OG เพื่อป้ องกันการสาลัก และสามารถ
ประเมิน fluid loss ทาง GI ได้
Renal system
 Prevent dehydration and volume overload
 Retain Foley catheter
 Keep urine output 0.5-1 ml/kg/h
 I/O record ใน case dengue hemorrhagic
fever
Hematologic system
 ทบทวนประวัติการเสี ยเลือด และตรวจหาอาการของการเสี ยเลือด เช่น
หัวใจเต้นเร็ ว ความดันโลหิ ตต่า ซีด
 ตรวจร่ างกายหาตาแหน่งเลือดออกที่ active โดยเฉพาะจากขั้วสะดือที่
ใส่ umbilical catheter ในทารกแรกเกิด หรื อข้อต่อ IV fluid
หลุด แล้วมีเลือดออกจากเส้นเลือดที่ยงั เปิ ดอยู่
 ระวัง conceal bleeding ใน DHF
 Serial Hct ในผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ ยง
 พิจารณาให้ blood component
Thermal system
 Newborn, drowning, sepsis (cold shock stage)
 เด็กจมน้ า ต้องถอดเสื้ อผ้าเปี ยกออก
 คลุมผ้าให้เด็ก
 ตรวจสอบอุณหภูมิในรถ refer
ปิ ดแอร์ใน ER เวลาที่เด็กมาถึง
อุณหภูมิในห้องและในรถ
Thermal system
 Newborn
- ผ้าอุ่นหลายผืน + ถุงพลาสติก / incubator
- ขวด IV fluid ต้องไม่เย็น
- เช็ดตัวให้แห้ง
- ถุงถัว่ เขียว
- ผ้าอ้อมแห้ง
- gastroschisis
Plastic wrap
Prematurity
Gastroschisis
Plastic box
Transport incubator
เปิ ดตูใ้ ห้นอ้ ยที่สุดเพื่อให้อุณหภูมิคงที่
Transport incubator
ตั้ง temp ตู้ และ temp probe
Skin probe
ตั้งอุณหภูมิในตู้เท่ ากับ neutral thermal environment
ควรมี ตารางนี้ ติดไว้ที่ transport incubator ทุกตัว
Metabolic
 ตรวจระดับนา้ ตาลในเลือด (dextrostix) ถ้าต่า
(DTX<40mg%) ต้องให้การรักษา และตรวจซ้ าทุกครึ่ งชัว่ โมง
ในระหว่างเดินทางจนกว่าจะปกติ
 ตรวจระดับ electrolyte ก่อนการส่ งต่อ (ถ้ามีขอ้ บ่งชี้)
 เตรี ยมเครื่ องตรวจ DTX และ dextrose fluid ไว้ในอุปกรณ์ดว้ ย
Vital signs : Temp.
system
CNS
RR
BP
PR
O2sat
status
Conscious
Seizure
Positive neuro exam
Lungs sign
CXR
Blood gas
treatment
Sedation
Anticonvulsant
Others
Maintain airway with…
O2 therapy
Ventilator setting
CVS
BP,PR, PP
CVP
Inotrope
Vascular line access
IV fluid
rate
GI
Bile content , coffee ground
NPO/Feeding/TPN
RS
F/E
Volume status( eu/hypo/hypervolumia)
Urine output
ml/kg/h
I/O
positive/negative/balance
BUN
Cr
Electrolyte
hemato
CBC : WBC
Hct
Plt
Infection Source
H/C
others
metabolic DTX
cortisol
Retain foley cath
Others
Blood component
Others
Antibiotics
จุดนัดพบ การติดต่ อระหว่ างเดินทาง
 โทรบอกโรงพยาบาลปลายทางล่วงหน้า ก่อนออกเดินทาง
 นัดหมายเวลาที่จะไปถึง
 นัดหมายสถานที่ : ER , NICU, WARD (เส้นทางการเดินทาง)
่ นรถ refer
 มีโทรศัพท์มือถือติดต่อกันเป็ นระยะได้ ระหว่างอยูบ
เอกสารสาคัญ
 ใบส่ งตัวที่มีรายละเอียดของข้อมูลผูป้ ่ วยครบถ้วน
 เอกสารสิ ทธิ์ การรักษา
 Film X-RAY
จัดรวบรวมเอกสารให้ครบถ้วน
Equipments
Basic check & preparedness
prompt to transfer
เตรี ยม และ ตรวจสอบ อุปกรณ์ต่างๆให้พร้อมอยูเ่ สมอ
อุปกรณ์เผื่อใช้กรณี ฉุกเฉิ น เก็บในกล่องอุปกรณ์ & พร้อมใช้
ยา สารน้ าต่างๆ คานวณขนาดยาตามน้ าหนักเด็ก
อุปกรณ์ monitoring
- O2Sat, BP, HR, (EKG monitor ถ้ามี)
- DTX
อุปกรณ์ transfer incubator
รถ refer check suction, O2tank
Check list อุปกรณ์ refer
Self inflating bag with reservoir
Face mask
Oral airway
สายต่อออกซิ เจน
Laryngoscope + ถ่านไฟฉายสารอง + blade ขนาดเหมาะสม
ET tube ขนาดเท่าของผูป้ ่ วย 2 อัน และขนาดเบอร์ใหญ่และเล็กกว่าอีกอย่างละ 1 อัน
Guidewire ขนาดเหมาะสม
ไม้กดลิ้น
Plaster stab tube
Syringe, cuff pressure manometer
Stethoscope
Lubricant
สาย suction No.6, 8, 10
Check list อุปกรณ์ refer
Needle: Medicut /jelco
Syring dispossible 50, 20,10, 5, 3 mlอย่างละ 1, 1, 5, 5, 5
Set IV, microdrip, infusion pump
สาลี แอลกอฮอลล์ สายรัดแขน
ตัว S แขวน IV, ถุงขยะติดเชื้อ
กรรไกรตัดปลาสเตอร์ , ปลาสเตอร์ ที่ตดั ไว้แล้วสาหรับ IV หรื อ stab ET tube
Resuscitation drugs แพทย์ คานวณ dose ตามนา้ หนักเตรียมไว้ ก่อน
ชื่อ......................................................................................................... HN...............................................
น้ าหนัก..........................................กิโลกรัม
วันที่.................................................
ชื่อยา
ขนาด
ขนาดคานวณ
หมายเหตุ
Adrenaline (1mg/ml) dilute 1:10,000
IV/IO
Adrenaline (1mg/ml)dilute 1:10,000 ET
0.1-0.3 ml/kg
IV/IO q 3-5 min
0.3-1 ml/kg
ET q 3-5 min
8.4% NaHCO3 (10mEq/10 ml)
1 mEq/kg
IV/IO dilute 1:1 with sterile water
Atropine 0.5mg base /1 ml
0.01-0.03mg/kg
Max รวม < 0.04mg/kg IV นาน >1 min
10% Ca gluconate (1000mg/10ml)
1 ml/kg
IV slowly
Amiodarone (150mg/3ml)
5 mg/kg
IV slowly 30-60 min
Adenosine(6mg/2ml)
ผสมยา 1 ml +NSS 9 ml = 300 mcg/ml
0.05 mg/kg
(50 mcg/kg)
IV rapid push q 2 min
(max total 250mcg/kg)
Naloxone (0.4mg/ml)
0.1 mg/kg
IV slowly (max 1 ml)
10% Glucose
0.25 gm/kg (2ml/kg)
IV push
DC cardioversion
0.5 J/kg
Then 1 and 2 J/kg
Defibrillation
2 J/kg
Then 4 and 4 J/kg
ตัวอย่ างการเตรียมอุปกรณ์ ใช้ กรณีฉุกเฉินในเด็กทารกแรกเกิด
เตรียมอุปกรณ์ พร้ อมใช้ งาน
laryngoscope
Set
intraosseous
UAC,UVC
ET
Tub
e
fluid
Plastic
wrap
Set IV
forcep
Syringe
needle
อุปกรณ์ ใช้ กรณีฉุกเฉิน
ใส่ อุปกรณ์ในกล่อง
หยิบถือไปได้สะดวก
อย่าลืม check laryngoscpe ว่าใช้งานได้
List อุปกรณ์ในกล่องเพื่อตรวจเช็ค
ก่อน transfer ทุกครั้ง
อุปกรณ์ transportation
 Incubator for newborn
Tank Oxygen
Infusion
pump
Check O2 tank : Meter scale ต้องอยูข่ ีด full
หรื อคานวณ oxygen ที่เหลืออยูว่ า่ ใช้ได้อีกกี่ชวั่ โมง เทียบเวลาเดินทาง
รถ refer
ควรตรวจสอบอุปกรณ์ก่อนการใช้รถทุกครั้ง
ทางศูนย์ refer ตรวจเช็คอุปกรณ์บน รถอีกครั้งก่อน refer
จานวน oxygen tank และคานวณปริ มาณ oxygen,
test เครื่ อง suction
Check oxygen tank
ปริ มาณเพียงพอที่จะเดินทาง ไป-กลับ
Check Suction
ใช้งานได้จริ ง
เฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้ อนทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหว่ าง refer
• ET tube displacement/ leakage/obstruction
pneumothorax
IV leak, displacement
shock
cardiac arrest
seizure
hypothermia
hypoglycemia
• Equipments
• Early detection
แพทย์หวั หน้าทีมคิดไว้ก่อนว่าจะมี
เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นได้บา้ ง
และสัง่ การเตรี ยมอุปกรณ์เพิ่ม เช่น set
ใส่ ICD
ยาที่ตอ้ งเตรี ยมเพิม่ เช่น salbutamol
เตรี ยมอุปกรณ์และยาไว้กรณี ฉุกเฉิ น
monitoring !!!!
Monitoring
SpO2, PR
EKG monitor
BP monitoring
BP, SpO2, HR monitoring
เครื่ องวัด BP บนรถ refer
Check ขนาด cuff ที่
เหมาะสมกับผูป้ ่ วย
dextrostix
เตรี ยมไว้ในกล่องอุปกรณ์ดว้ ย
บันทึกระหว่าง refer
IV solution and rates
#1
#2
#3
#4
Equipment use
Cardiorespiratory monitor
Transport ventilator
Oxygen hood
IV pumps
Total fluid per kg
Glucose meter
pt ID#
tim B P B R O2s clinical
intervention
e
T R P R at
สรุป
• การสื่ อสาร : แพทย์เวร-แพทย์ ward
พยาบาลER - พยาบาลward
พยาบาลER - คน transfer และ aid
• Equipment: ระหว่างทาง Monitor SpO2, HR, ETT
care, tank O2, Ambu bag, IV+infusion pump,
Keep warm, incubator
• Technique การดูแลผูป้ ่ วย: ETT, ambubag, ดูแล IV,
คาดการณ์ล่วงหน้า
Hx, PE, problem สิ่ งที่คาดว่ามีปัญหาและแนวทางแก้ไข
Call
ETT NO., depth
center
รพช.
กรณี drowning/ARDS อาจใช้ ambu with PEEP (ถ้ามี)
O2/ventilator
IV fluid+infusion pump
Monitor spO2, HR, temp
SpO2 HR
Keep warm , incubator
Keep warm
O2 tank
ER
X-ray
echo
SpO2 HR
Keep warm
O2 tank
Call
center
ward
NICU
/PICU
SpO2 HR
Keep warm
O2 tank
X-ray
echo
*ตามแบบ form
Tel 2324
รพ.อื่นๆ
**โทร consult กรณี V/S ไม่ stable, shock , cyanosis , seizure
รง าบา ทส่ง.............................................................. ัง ัด................................................. ทร.............................................................
ันทส่ง......................................... าทออก ดนทาง.................................... าท าด ่า ะถึง...........................
อ ะ บอร ทร ั ท ท / าบา ทส่งต่อ………………………………………………………………………………………………..
อ-สก ป .................................................................อา ( รอ ัน กด).............................................นา นัก …………………………….
ประ ัตการ อด อด.....................................................................................................................................
A S……………….
History and Physical Examination
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
Diagnosis………………………………………………………………………………………………………………………………………
การรัก าทไดรับ
............................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................................
Vital signs ป บัน T…………………P……………………...BP……………………RR……………………….O 2 Sat……………….
On ET tube No……..depth………… On O 2 Box……………………l/min
Ventilator Setting…………………………………………………………………………………………………………………………….
ท รทรับตดต่อ............................................................................ บอร ทร ั ท........................................................................................
อบดา /มารดา……………………………………………………… บอร ทร ั ท........................................................................................
ตัวอย่ าง case 1
แพทย์จะให้คาแนะนาในการstabilize
ผูป้ ่ วยรายนี้อย่างไรบ้าง
Critical neonatal transportation
Newborn female
GA 30 wk by date BW 1000 g คลอด NL
APGAR 5,7 มารดาไม่ได้ dexamethasone และ ampicillin
หายใจ grasping on ETT แล้วขอ refer มา ร.พ.สระบุรี
Problems
•Preterm
•Birth asphyxia
•Respiratory distress
Hx,PE ,problem สิ่ งที่คาดว่ามีปัญหาและแนวทางแก้ไข
รพช.
Call
center
ER
X-ray
echo
ETT NO., depth
กรณี dronwing/ARDS อาจใช้ ambu with PEEP (ถ้ามี)
O2/ventilator
IV fluid+infuson pump
Monitor SpO2, HR, temp.
Keep warm , incubator
ward
NICU
/PICU
X-ray
echo
Call
center
รพ.อื่นๆ
**โทร consult กรณี V/S ไม่ stable, shock , cyanosis , seizure
คาแนะนาในการstabilize ผู้ป่วย






Check ETT , no 3.0 depth 7 cm
บีบ bag just chest move
Monitor SpO2 , cyanosis
Check circulation: perfusion, HR , BP
เปิ ดเส้น IV fluid ถ้าทาได้ check DTX เก็บเลือดไว้ 1 tube
ให้ IV fluid เป็ น 10%DW maintenance 60 ml/kg/day ใช้
infusion pump ตลอดการเดินทาง
 ถ้า DTX < 60 mg% push 10%DW 2 ml/kg IV และ repeat
DTX ทุก 30 นาที
 Keep warm : ผ้าอุ่น ปิ ดแอร์ บนรถ /ถุงถัว่ เขียว
 เตรี ยม Valium 0.1-0.3 mg/kg/dose ขณะเดินทาง
Guideline refer
รพช.
Staff กุมารรับโทรศัพท์ สอบถามข้อมูล
1.Problem
2.V/S : HR,SpO2, temp.
3.ETT NO., depth
4.IV fluid strength, rate, infusion pump
5.Monitor :SpO2, HR, color
6. เวลาที่จะมาถึง
7. นาญาติมากับผูป้ ่ วยด้วย
8. วิธี Keep warm
Staff โทรบอก
1.Intern ER – check ETT ,HR,IV fluid
2.RN NICU - problem, อุปกรณ์ ทตี่ ้ องเตรียม, เวลาทีจ่ ะมาถึง
3.Intern 2-3
ER
NICU
Intern ER check
- ETT NO., depth
- IV rate, strength+ infusion pump
- keep warm : ถุงพลาสติก ถุงถัว่ เขียว
RN ER
-ส่งญาติทา admission, โทรแจ้ง staff กุมาร
-บันทึก ETT NO., depth, IV rate
-โทรส่งเวร RN NICU
-ส่งเด็ก admit ได้ทนั ที
RN NICU
เมื่อได้รับโทรศัพท์จาก RN ER จะโทรศัพท์บอก staff กุมาร และ intern กุมารทันที
ตัวอย่ าง case 2
แพทย์ผไู้ ป refer จะประเมินและ stabilize
ผูป้ ่ วยก่อนไป refer อย่างไรบ้าง
เด็กหญิง อายุ 3 เดือน
Dx : - Cornelia de Lange syndrome
- severe laryngomalacia
- PDA with CHF
- pneumonia Rt lung
มีปัญหา fail extubation 4 ครั้ง เนื่องจากเหนื่อย มี CHF จึง refer
ไปร.พ.ธรรมศาสตร์ เพื่อผ่าตัดปิ ด PDA
รพช.
Call
center
ER
X-ray
echo
ward
NICU
/PICU
Call
center
Tel 2324
*ตามแบบ form
รพ.อื่นๆ
X-ray
echo
แพทย์ ประเมินผู้ป่วยก่อนไป refer
 CNS : ตื่นดี ไม่เคยมีชกั
 RS : - on ETT no. 3.5, depth 9 cm.
- ventilator setting ล่าสุ ด IMVmode RR 20, PIP 15/ PEEP 4,
FiO2 0.3, O2sat 96%
lung sign- crepitation BLL
 CVS: - มี PDA with CHF
- CXR – cardiomegaly with pulmonary congestion




- on Dobutamine 10 mcg/kg/min BP 80/50 mmHg
- lasix 1 mg/kg/day
Feed นม panenteral 30 kcal/onz. TF 100 ml/kg/day
F/E : I/O 180/200 ml/เวร urine output 8 ml/kg/hr, Electrolyte ปกติ
Infection : on ceftriaxone 75 ml/kg/day ไม่มีไข้ BT 370C
Metabolic : DTX ล่าสุ ด 80 mg%
สิ่ งทีแ่ พทย์ ควรคานึงถึงก่ อนเดินทางว่ าอาจเกิดภาวะแทรกซ้ อน
1. Pneumothorax, ET tube เลื่อนหลุด
2. Dobutamine drip ถ้าปริ มาณที่เข้าไม่สม่าเสมอ BP อาจ
drop ได้
3. Aspirate นมขณะ transfer
แพทย์ stabilize ผู้ป่วยก่อนไป refer
 ก่อนไป ฟั ง lung , check ETT , check stab tube
 เตรี ยม bag with pressure gauge, บีบ pressure ประมาณ 15 cmH2O
 Check IV line ไม่ leak ไม่บวม และมี IV line >2 เส้น
 Infusion or syringe pump
 Monitor SpO2, HR, BP
 กระเป๋ าอุปกรณ์ฉุกเฉิ นพร้อมใช้
 เตรี ยมยาที่ตอ้ งใช้ + ยา resuscitation เช่น adrenaline
 โทรติดต่อสื่ อสารกับรพ.ธรรมศาสตร์ อีกครั้งก่อนเดินทาง ขอเส้นทางการส่ งตัวเมื่อถึง
โรงพยาบาล และ เบอร์ โทรที่ติดต่อได้และชื่อแพทย์ที่รับผูป้ ่ วย
รพช.
SpO2 HR
Keep warm
O2 tank
ER
X-ray
echo
SpO2 HR
Keep warm
O2 tank
ward
NICU
/PICU
SpO2 HR
Keep warm
O2 tank
รพ.อื่นๆ
X-ray
echo
ร .
น Refer ประสาน
1. ง RNร .
ทรส่ งรา ะ อ ด
ใ ICU
2. ทร ง Intern ท
ER (ขอม )
ER
ICU
Staff กมารรับ ทร ั ท สอบถามขอม
1.List problem and plan management
2.V/S: HR, SpO2, Temp.
3.ETT No. ,depth
4.IV fluid: strength, rate, infusion pump
5.Monitor : SpO2, HR, color
6.บอกใ RN ตนทาง กับRN ท ICU (NICU 089-901-9652, PICU 089-901-9653)
Staff ทรบอก
1.Intern ER – check ETT, HR, IV fluid
2.RN ICU - problem, อปกรณทตอง ตร ม
3.Intern กมาร2-3
Intern ER check patient
- ETT No., depth
- IV rate, strength+ infusion pump
- Keep warm: ถง าสตก ถงถั ข transport incubator
RN ER
-ส่ งญาตทา admission
- ทร ง staff กมารทันทถา ป่ ดอาการไม่ด
- า pulses รอฟัง heart rate
-บันทึก ETT no, depth , IV rate
- ทรส่ ง ร RN ICU
-ถา ป่ ตั ดงดส่ ง ด็ก admit ไดทันท
(กรณ ป่ PICU ใ ดั vital sign มอนกรณ ใ ญ่)
RN ICU
มอไดรับ ทร ั ท าก RN ER ะ ทร ั ทบอก staff กมาร ะ intern กมารทันท
ประชุม PEER REVIEW จาก PCT กุมาร 9 กุมภาพันธ์ 2554
Thank you for your attention