The Best of LR Sai Yai Rak 2013 - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

Download Report

Transcript The Best of LR Sai Yai Rak 2013 - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

ประเมิน Labor Room คุณภาพ
นายแพทย์สุธิต คุณประดิษฐ์ พบ. วว. สูตศิ าสตร์-นรีเวชวิทยา
นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านเวชกรรม สาขาสูติ-นรีเวชกรรม)
กลุม่ งานสูต-ิ นรีเวชกรรม โรงพยาบาลลาพูน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาพูน
แนะนาตัว
ฐานะที่มา
ลักษณะการตรวจเยีย่ ม
การให้ขอ้ คิดเห็น-เสนอแนะ
ผลที่จะเกิด
ตารางปฏิบตั กิ ารตรวจเยี่ยม
สรุปปิ ดประชุม
กัลยาณมิตร
เรียนรูร้ ่วมกัน
เชิงบวก สร้างสรรค์
สุขใจ กาลังใจ การพัฒนา เคารพสิทธิ์
นาเสนอผล ตรวจเยี่ยม-สัมภาษณ์ ประชุม
ทีมประเมิน ประชุมปิ ด
กล่าวขอบคุณ บอกภาระหน้าที่ตอ่ ไปของ
ทีมประเมิน สรุปให้อยากพัฒนา
วิธีการประเมิน




ตรวจสอบ: เวชระเบียน เครื่องมือ อุปกรณ์ เอกสาร ความพร้อมของ
ทีมงาน การวิเคราะห์ขอ้ มูล ตัวชี้ วัด
สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ : องค์ความรู ้ ความเข้าใจ
สัมภาษณ์ผรู้ บั บริการ : re-check
สาธิตให้ดู : ความพร้อมของทีมงาน ในด้าน safety delivery of
mother and newborn
Labor room คุณภาพ






บุคลากร: มีคุณภาพ Competency ตระหนัก Teamwork มีการพัฒนา
บุคลากรอย่างต่อเนื่ อง
เครื่องมือ : คุณภาพดี พอใช้
สถานที่ : เหมาะสม
Process : การดูแลตามศักยภาพของโรงพยาบาล
ระบบส่งต่อ
ผลงาน ตัวชี้ วัด แสดงถึงการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง
Process of labor room







Labor care
Prevention birth asphyxia and PMR
Prevention and treatment PPH
Initiate breast feeding
Other : Operating room
: Blood bank
: NICU
ปรึกษา และ ให้คาแนะนาก่อนส่งต่อ
ANC
โภชนากร
LAB
ER
ER
รพช.
REFERAL SYSTEM
ICU
ส ูติกรรม
OR
พิเศษ
Rehab
ANES
ั
เภสช
PED
เวชกรรม
ั
สงคม
เครือข่ ายความร่ วมมือภายในโรงพยาบาล
COMPOSITION




LABOUR ROOM
DELIVERY ROOM
OPERATING ROOM
RECOVERY ROOM
LABOR ROOM

Assessment unit




Monitoring the Fetal condition
Monitoring the Maternal condition
Monitoring the Progress of Labor
Induction of labor

Designed to artificially initiate uterine contractions
leading to progressive dilatation and effacement of
cervix that leads to delivery of baby
DELIVERY ROOM
PURPOSE : To have safe delivery for both mother and baby

Use for normal cephalic delivery


NSD (normal spontaneous delivery)
Instrumental Delivery


Forceps delivery
Ventous delivery
OPERATING ROOM

Delivery thru caesarean section
Quality of Labour room
Quality
LR
1.การ
ประเมิน
ภาวะเสี่ยง
ในห้อง
คลอด
2.การใช้
กราฟดูแล
การคลอด
3.มีชุด
เครื่องมือกู ้
ชีพของ
มารดาที่
พร้อมใช้
5. สามารถ
4. มีทีม
ทาการผ่าตัด
บุคลากร
คลอดทาง
สามารถช่วยกู ้ หน้าท้องหรือ
ชีพมารดา
ทาการส่งต่อ
และทารกได้ ได้ทนั ที
อย่างมี
ประสิทธิภาพ
Quality of Labour room
Quality
LR
6. การป้องกัน
และรักษา
ภาวการณ์ตก
เลือดหลังคลอด
7. มีคลังเลือด
ที่มี
ประสิทธิภาพ
หรือมีระบบ
เครือข่ายใน
การหาเลือด
8. มีอตั ราส่วน
แพทย์และ
พยาบาลต่อผู ้
คลอดไม่นอ้ ยกว่า
1:3
9. มีการนาลูกให้
แม่โอบกอดเนื้ อ
แนบเนื้ อและ
ช่วยเหลือให้ลกู
ได้ดดู นมแม่
โดยดูดนมทันที
ภายในระยะเวลา
ไม่เกิน 30 นาที
และ ดูดนาน 1
ชั ่วโมง
10. การส่งต่อ
มารดาที่เกิด
ภาวะแทรกซ้อน
ได้อย่าง
ปลอดภัย
Quality of Labour room
Quality
11. เก็บข้อมูล/
วิเคราะห์
LR
12 มีการนาข้อมูล
หรือตัวชี้ วัดสาคัญ
ของหน่วยงานมา
ใช้เฝ้ าระวังหรือ
วิเคราะห์เพื่อ
ปรับปรุงพัฒนา
งาน
13. มีการพัฒนา
ศักยภาพของ
บุคลากรในห้อง
คลอด เพื่อให้การ
คลอดปลอดภัย
1. การประเมินภาวะเสี่ยงในห้องคลอด
1. การประเมินภาวะเสี่ยงในห้องคลอด




1.1 เกณฑ์การประเมินและมีการปฏิบตั ิตามเกณฑ์ ภาวะเสี่ยง 18 ข้อในสมุดฝาก
ครรภ์ และ ภาวะเสี่ยงในขณะคลอด
1.2 มีแนวทางการดูแลกลุ่มเสี่ยงและปฏิบตั ิตามแนวทาง
1.3 มีแนวทางการประเมินช่องทางคลอดมารดา เพื่อให้การคลอดปลอดภัย ไม่มี
ภาวะแทรกซ้อน
(ตรวจสอบจาก แนวทางปฎิบตั ิ และ CPG )
Labor room 1
Weak point



Labor room : รายใหม่ admit ระบบการรายงานแพทย์ plan of
management ของแพทย์
การส่งเวรของแพทย์ในรายความเสี่ยง
การประเมินเชิงกราน
2. การใช้กราฟดูแลการคลอด
2. การใช้กราฟดูแลการคลอด





2.1 ขอดูกราฟการดูแลการคลอดและสอบถามความรูผ้ ใู้ ห้บริการ มีการใช้
กราฟอย่างถูกต้อง/ ฟั งการเต้นของหัวใจทารกเป็ นระยะ ถ้ามีการใช้ถือว่า
ผ่าน
2.2 ดูแนวทางการเฝ้ าคลอด
2.3 ฟั งเสียงหัวใจของเด็กว่ามีความผิดปกติหรือไม่
2.4 การใช้กราฟเมือ่ เจ็บครรภ์จริงอย่างถูกต้อง
(เข้าใจวิธีการเฝ้ าคลอดและการรายงานแพทย์)
Labor room 2
Weak point


Plot partograph : ความเข้าใจ การ plot
การประเมิน progression of labor
3.
มีชุดเครื่องมือกูช้ ีพของมารดาที่พร้อมใช้
3. มีชุดเครื่องมือกูช้ ีพของมารดาที่พร้อมใช้ ประกอบด้วย










3.1 laryngoscope ทั้งตัวเครื่องและ blade โค้ง เบอร์ 3 สามารถเปิ ดใช้ได้ทนั ที
3.2 ท่อ endotracheal ขนาดเหมาะสม ( เบอร์ 6-7.5 อย่างละ 2) ที่ไร้เชื้ อ
3.3 ambu bag พร้อม resevior ที่สะอาด/ไร้เชื้ อหยิบใช้ได้ทนั ที
3.4 mask ขนาดเหมาะสม สะอาด/ไร้เชื้ อ
3.5 มีแหล่งออกซิเจน สายต่อ และขวดน้ าให้ความชื้ น
3.6 ข้อต่อ finger-tip หรือ ตัว y และสาย suction
3.7 เครื่อง suction ที่ปรับแรงดูดได้ 120 มม. ปรอท
3.8 ยาที่จาเป็ นสาหรับกูช้ ีพ (adrenaline, sodium bicarbonate, calcium, NSS)
3.9 Stethoscope
3.10 Oxygen sat
3. มีชุดเครื่องมือกูช้ ีพของมารดาที่พร้อมใช้

ตรวจสอบอุปกรณ์ชุดเครื่องมือกูช้ ีพ( สาหรับผูร้ บั บริการในห้อง
คลอด) ถ้า มีอุปกรณ์ครบและพร้อมใช้ ทุกข้อ ถือว่าผ่าน
4.
มีทีมบุคลากรสามารถช่วยกูช้ ีพมารดาและทารกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. มีทีมบุคลากรสามารถช่วยกูช้ ีพมารดาและทารกได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ


4.1 ดูตารางจัดทีม /กาหนดทีมช่วยฟื้ นคืนชีพในห้องคลอดไว้ ชัดเจน ถ้ามีถือว่า
ผ่าน
4.2 สร้างสถานการณ์สมมุตเิ พื่อประเมินความพร้อมทีมกูช้ ีพเช่น มารดามีภาวะ
cardiac arrest การคลอดติดใหล่ ทารกคลอดท่าก้น มารดาชัก ภาวะตกเลือด
หลังคลอด ทารกมีภาวะ birth asphyxia
Weak point


ความรวดเร็ว และ ประสิทธิภาพของ CPR Team
การจัดทีม ส่วนใหญ่มีเฉพาะพยาบาล
5. สามารถทาการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหรือทาการส่งต่อได้ทนั ที
5. สามารถทาการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหรือทาการส่งต่อได้ทนั ที

5.1 สามารถผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ภายใน 30 นาที หรือ
 5.2 ส่งต่อภายใน 30 นาทีกรณีไม่สามารถผ่าตัดคลอดทางหน้า
ท้องได้ (สร้างสถานการณ์การส่งต่อ)
6. การป้องกัน และรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด
การป้องกัน และ รักษาภาวะตกเลือด
หลังคลอดจากภาวะมดลูกไมหดรั
ดตัว
่
6. การป้องกัน และรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด





6.1 การฉีดยากระตุน้ การหดตัวของมดลูกหลังทารกคลอด ได้แก่ ยา Oxytocin จานวน 10 ยูนิตเข้าก
ล้ามหรือเข้าเส้นเลือดช้า ๆหลังทารกคลอด(ภายในไม่เกิน 1 นาที)
6.2 การตัดสายสะดือทารกหลังคลอด 1-3 นาที(ป้องกันภาวะซีดในทารก)
6.3 การทาคลอดรกโดยวิธี controlled cord Traction(ถ้าทาได้) หรือทาคลอดรกโดยวิธี
Modified crede'maneuver และวิธีอื่นๆ ตามมาตรฐาน
6.4 หลังจากรกคลอดแล้ว จึงทาการนวดคลึงมดลูก ทุก 15 นาที จนครบ 2 ชั ่วโมง(ตรวจสอบจาก
แนวทางปฎิบตั ิ และ CPG )
6.5 มีแนวทางการดูแลภาวะตกเลือดหลังคลอด (CPG) รวมถึงยาที่จาเป็ น วิธีการใช้ยาและปฎิบตั ิ
ตาม
Active management of the third stage of labor ประกอบด้วย
WHO Recommendation
๑. การให ้ยากระตุ ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ทันทีหลังทารกคลอด
๒. Clamp และตัดสายสะดือหลังทารกคลอด
ประมาณ ๓ นาที
๓. ทาคลอดรกโดย วิธ ี controlled cord
traction ตามด ้วยการนวดคลึงมดลูก
WHO 2007
Procedure for Active Management






Palpate abdomen to rule out presence
of another baby
Within 1 minute of birth, give oxytocin
10 IU IM
Await strong uterine contraction (2-3
minutes)
Apply controlled cord traction while
applying counter traction above pubic
bone
If placenta does not descend, stop
traction and await next contraction
After placental delivery, rub uterine
fundus gently every 15 minutes for 2
hours to ascertain it is contracted
Harshad Sanghvi, Maternal & Neonatal Health Program JHPIEGO
Source: MCPC, WHO 2002
ตรวจสอบจาก



เวชระเบียน
การสัมภาษณ์
ขอดู CPG
Weak point


Active management of the third stage of labor ยัง
ทาเฉพาะบางโรงพยาบาล
ความเข้าใจ เรื่อง การใช้ยาเพื่อป้องกันและรักษา PPH ยังไม่ถูกต้อง
7. มีคลังเลือดที่มีประสิทธิภาพหรือมีระบบเครือข่ายในการหาเลือด
7. มีคลังเลือดที่มีประสิทธิภาพหรือมีระบบเครือข่ายในการหาเลือด

7. สอบถามระบบการเตรียม/สารองเลือด ถ้ามีถือว่าผ่าน ถ้าไม่มีเลือด ใช้ hemacell เป็ น
ต้น(มีการสารองเลือดอย่างน้อย 10 Unit/blood group สาหรับ รพศ และอย่างน้อย 5
Unit/blood group สาหรับ รพท หรือ มีแนวทางในการหาเลือดจากเครือข่ายมาใช้ได้
ภายใน 30 นาที)
8. มีอตั ราส่วนแพทย์และพยาบาลต่อผูค้ ลอดไม่นอ้ ยกว่า 1 : 3
8. มีอตั ราส่วนแพทย์และพยาบาลต่อผูค้ ลอดไม่นอ้ ยกว่า 1 : 3

8. สอบถามจานวนแพทย์ + พยาบาล : จานวน ผูค้ ลอดในแต่ละเวร
(แพทย์.........คน พยาบาล..........คน ผูค้ ลอด.........คน) อัตราส่วน 1:3
ผ่าน
9. มีการนาลูกให้แม่โอบกอดเนื้ อแนบเนื้ อและช่วยเหลือให้ลกู ได้ดูดนมแม่ โดยดูดนมทันที ภายในระยะเวลา
ไม่เกิน 30 นาที และ ดูดนาน 1 ชัว่ โมง
9. มีการนาลูกให้แม่โอบกอดเนื้ อแนบเนื้ อและช่วยเหลือให้ลกู ได้ดูดนมแม่ โดยดูดนมทันที ภายในระยะเวลาไม่เกิน
30 นาที และ ดูดนาน 1 ชัว่ โมง

9. สอบถามเจ้าหน้าที่และแม่(สังเกตการปฏิบตั ติ ามบันได
ขั้นที่ 4 ใน (ห้องคลอด)
Weak point

บันไดขั้นที่ 4 ใน (ห้องคลอด) ยังทาไม่ได้ตามเป้าหมาย ในด้าน
ระยะเวลาของ skin-to-skin contact
10.
การส่งต่อมารดาที่เกิดภาวะแทรกซ้อนได้อย่างปลอดภัย
10. การส่งต่อมารดาที่เกิดภาวะแทรกซ้อนได้อย่างปลอดภัย

10. ดูรายงานการเก็บข้อมูล จานวนการส่งต่อ / ผลลัพธ์ / Flow chart
การส่งต่อ ให้เจ้าหน้าที่เล่าวิธีการปฏิบตั ิ ถ้ามี ถือว่าผ่าน
Weak point


มักไม่รวบรวมข้อมูล มีเฉพาะข้อมูลดิบ
ขาดรายงานผลการส่งต่อ
11. เก็บข้อมูล/วิเคราะห์
11. เก็บข้อมูล/วิเคราะห์

เช่น rate of C/S and indication, คลอดติด
ไหล่, Low birth weight, Birth asphyxia,
Hypothermia, PPH, PIH, perinatal mortality,
maternal death เป็ นต้น
11. ขอดูขอ้ มูล
Weak point

มีขอ้ มูลดิบ ขาดการวิเคราะห์ หรือ วิเคราะห์ไม่ครอบคลุม
12 มีการนาข้อมูลหรือตัวชี้ วัดสาคัญของหน่วยงานมาใช้เฝ้ าระวังหรือวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน
12 มีการนาข้อมูลหรือตัวชี้วัดสาคัญของหน่วยงานมาใช้เฝ้ าระวังหรือ
วิเคราะห์เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน

12. ดูการวิเคราะห์สถานการณ์จากข้อ 11 เพื่อหาสาเหตุและวางแผนปรับปรุง
แก้ไข (CQI) นาเสนอต่อกรรมการ MCH Board ระดับต่างๆ หรือดูจาก
แนวทางการปฏิบตั ิ (CPG) และบันทึกการประชุม MCH Board ของ
โรงพยาบาล ข้อมูลที่วิเคราะห์ประกอบด้วยอัตราตายมารดา อัตราตกเลือดหลัง
คลอด การให้เลือดจากภาวะตกเลือดหลังคลอด อัตราผ่าตัดคลอด ทารก
คลอดติดไหล่ ทารกมีภาวะขาดออกซิเจนในขณะคลอด อัตราตายทารกปริ
กาเนิด
Weak point

วิเคราะห์ สถานการณ์ งานอนาม ัยแม่และเด็ก
ขาดแนวทางการแก้ไขปัญหา Continuous
quality
improvement (CQI)
Data analysis
ไมค่อยมีคาอธิบายถึง แนวทางแก้ไขปัญหา
Birth asphyxia
Postpartum hemorrhage , Breast feeding
!!!
13. มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในห้องคลอด เพื่อให้การคลอดปลอดภัย
13. มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในห้องคลอด เพื่อให้
การคลอดปลอดภัย


13. มีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เป็ นประจาทุกปี เช่น การประเมินภาวะ
เสี่ยงในห้องคลอด การใช้กราฟการคลอด การทาคลอดติดไหล่ การทาหัตถการ
ทางการคลอด การป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด เป็ นต้น อย่างน้อย
ปี ละเรือ่ งคลอบคลุม 80% ของบุคลากรที่มีสว่ นในการดูแลการคลอด
ดูแผน ตารางการอบรม รายชื่อบุคลากรที่เข้ารับการอบรม รวมถึงการรายงาน
ผลการอบรม
ประเมิน Labor Room คุณภาพ