สุขภาพของผู้บริโภค
Download
Report
Transcript สุขภาพของผู้บริโภค
สุขภาพของผู้บริโภค
ความหมาย
การบริ โภค หมายถึง การใช้ประโยชน์จากสิ่ งของ (ทั้งของ
กิ นของใช้) และบริ การต่ าง ๆ เพื่อสนองตอบความต้องการของ
มนุ ษย์ในชี วิตประจาวัน การบริ โ ภคมิ ได้หมายถึ งการกิ นอาหาร
เท่านั้น แต่หมายรวมถึงการใช้ผลิตภัณฑ์และบริ การต่าง ๆ ด้วย
สุ ขภาพ หมายถึง สภาวะความสมบูรณ์ท้ งั ทางร่ างกาย จิตใจ
และปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ หรื อความพิการ และดารงชี วิตอยู่ใน
สังคมได้ดี
ผู้ บ ริ โ ภค ตามกฎหมาย หมายความว่า ผูซ้ ้ื อ หรื อ ได้รั บ
บริ การจากผูป้ ระกอบธุรกิจ และหมายความรวมถึงผูซ้ ่ ึ งได้รับการ
เสนอหรื อการชักชวนจากผูป้ ระกอบธุ รกิจ เพื่อให้ซ้ื อสิ นค้าหรื อ
รับบริ การด้วย
สุ ขภาพของผู้บริ โภค จึ งหมายถึ ง ความปลอดภัยทั้งต่ อ
ร่ างกายและจิตใจของผูซ้ ้ื อผลิตภัณฑ์ของกิน ของใช้ และการใช้
บริ ก ารต่ าง ๆ ที่ มีคุณภาพ และมี ร าคาถูก เพื่อการดารงชี วิตอยู่
อย่างเป็ นปกติสุข
สาเหตุทสี่ าคัญทีท่ าให้ พฤติกรรมการบริโภคของมนุษย์ เปลีย่ นแปลงไป
1. ความรู ้ความเข้าใจที่ถูกต้องต่อพฤติกรรมการบริ โภค เนื่ องจาก
ความเจริ ญในการผลิตสิ นค้าและบริ การ ทาให้ผผู ้ ลิตผูบ้ ริ โภคต้องพยายาม
หาความรู ้ต่อสิ นค้าและบริ การให้มากขึ้น
2. ทัศ นคติ ค่ า นิ ย ม ความเชื่ อ ต่ อ การใช้สิ น ค้า และบริ ก าร เช่ น
ค่านิ ยมในการใช้สินค้าต่างประเทศ ทั้งที่คุณภาพของสิ นค้าในประเทศก็
ทัดเทียมกัน แต่มีราคาถูกกว่าอีกด้วย เช่น โทรทัศน์ เสื้ อผ้า เป็ นต้น
3. ราคา สิ นค้าและบริ การที่มีราคาถูกอาจจะได้รับความนิ ยมใน
กลุ่มบุคคลที่มีรายได้นอ้ ย แต่สินค้าและบริ การที่มีราคาแพงก็อาจจะได้รับ
ความนิยมในกลุ่มบุคคลที่นิยมใช้สินค้าและบริ การที่มีราคาแพง
4. การโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าและบริ การทางสื่ อมวลชน
ต่าง ๆ ทั้งทางวิทยุ โทรทัศน์ หนังสื อ ฯลฯ ได้แก่การโฆษณาเครื่ องดื่ ม
บารุ งก าลัง น้ าอัด ลม ฯลฯ ก่ อ ให้เ กิ ด การมี พ ฤติ ก รรมการบริ โ ภคที่ ไ ม่
เหมาะสมได้
5. เวลา เนื่องจากความเร่ งรี บในการประกอบอาชีพการทางาน ทา
ให้มีเวลาในการเลือกใช้สินค้าและบริ การมีนอ้ ย ความสะดวกรวดเร็ วจึง
เป็ นที่สนองความต้องการของผูบ้ ริ โภค ทาให้พฤติ กรรมของผู ้บริ โภค
เปลี่ยนแปลงไป
6. ความต้องการของผูบ้ ริ โภคมีมากกว่าผลิตภัณฑ์และบริ การ
จากสาเหตุดงั กล่าวนี้เอง ทาให้ผบู ้ ริ โภคมีพฤติกรรมต่าง ๆ
ซึ่งแบ่งได้เป็ น 2 ประการ คือ
1. พฤติกรรมการบริโภคทีด่ ี
2. พฤติกรรมการบริโภคทีไ่ ม่ ดี
พฤติกรรมผู้บริโภคที่ดี
จากการแข่งขันกันทางด้านคุณภาพทาให้ผบู ้ ริ โภคสามารถเลือกใช้
สิ นค้าและบริ การที่ดีสะดวกรวดเร็ วได้ เช่น การใช้เครื่ องซักผ้า เครื่ องดูดฝุ่ น
ฯลฯ ท าให้ผูบ้ ริ โ ภคทุ่ น แรงและเวลาในการประกอบการงานเหล่ า นี้ ได้
นอกจากนี้ การเผยแพร่ ก ารประชาสัมพัน ธ์ สิน ค้า และบริ ก ารต่ าง ๆ ทาง
สื่ อมวลชน ทาให้ประชาชนมีความรู ้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เพื่ อเป็ นแนวทาง
ในการตัดสิ นใจหรื อมีพฤติกรรมที่เหมาะสมได้ เช่น การเลือกรับประทาน
อาหารในร้านที่สะอาดถูกสุ ขลักษณะ การสังเกตทะเบียนอาหารและยา การ
สังเกตมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การสังเกตวันหมดอายุของสิ นค้า
วัน เดือน ปี ที่ผลิต การเลือกสิ นค้าที่อยูใ่ นสภาพที่ปกติ ฯลฯ
พฤติกรรมผู้บริโภคที่ดี
การประกาศและแจ้งราคาของสิ นค้า และบริ การที่ถูกต้องตามราคา
ที่กาหนด ก็จะทาให้ผบู ้ ริ โภคได้ซ้ื อสิ นค้าและบริ การได้ในราคาประหยัด
แต่มีคุณภาพดี
อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ โภคที่ดีจะต้องคานึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับจาก
การบริ โ ภคนั้ น ๆ ด้ว ย ควรคิ ด ถึ ง ความจ าเป็ นในชี วิ ต ประจ าวัน และ
ประโยชน์ใช้สอยอื่น ๆ ความประหยัดจึงจะเป็ นผูบ้ ริ โภคที่ดี และใช้สินค้า
และบริ การได้อย่างฉลาด
พฤติกรรมผู้บริโภคทีไ่ ม่ ดี
มีสาเหตุหลายประการที่ทาให้พฤติกรรมการบริ โภคของประชาชน
เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะการโฆษณาประชาสัมพันธ์ การดาเนินชีวิ ตและ
วัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป การเข้าใจว่าบางสิ่ งบางอย่างเป็ นสิ่ งโก้เก๋ ก่อให้เกิด
พฤติกรรมที่ไม่ดีของบริ โภคในที่สุด
1. พฤติกรรมที่ไม่ ดีเกี่ยวกับสิ นค้ าบริ โภค การที่วยั รุ่ นนิ ยมเข้าไป
รับประทานอาหารในร้านประเภทฟาสต์ฟูดตามศูนย์การค้า หรื อความเร่ ง
รี บในการงาน ทาให้เลือกรับประทานอาหารสาเร็ จรู ปต่าง ๆ เช่ น บะหมี่
สาเร็ จรู ป แซนด์วิช เป็ นต้น เหล่านี้ ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า ขาดคุณค่าทาง
อาหารที่พอเพียงต่อการดารงชี วิต เป็ นตัวอย่างที่ไม่ดีของผูบ้ ริ โภคอันเกิ ด
จากการดาเนินชีวิตและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป
พฤติกรรมผู้บริโภคทีไ่ ม่ ดี
การดื่ ม น้ าอัด ลม ที่ ใ นปั จ จุ บ ัน ทั้ง เด็ ก วัย รุ่ นและผู ้ใ หญ่ ไ ด้ดื่ ม
น้ า อัด ลมกัน จนเป็ นปกติ ใ นชี วิ ต ประจ าวัน ซึ่ งน้ า อัด ลมเหล่ า นี้ ไม่ ไ ด้มี
ประโยชน์ใด ๆ ต่อร่ างกายเลย นอกจากน้ าอัดลมแล้ว เครื่ องดื่มบารุ งกาลัง
ต่ า ง ๆ เครื่ อ งดื่ ม เกลื อ แร่ ก็ ก าลัง ได้รั บ ความนิ ย มมากขึ้ น ทั้ง ในหมู่ ผูใ้ ช้
แรงงานและนักกีฬา ซึ่งพฤติกรรมการบริ โภคสิ นค้าเหล่านี้เป็ นพฤติกรรมที่
ไม่เหมาะสม ควรได้รับการปรับปรุ งและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ดีข้ ึน
2. พฤติกรรมที่ไม่ ดีเกี่ยวกับสิ นค้ าอุปโภค การเลือกซื้ อสิ นค้าราคา
ถูกหรื อสิ นค้าลดราคา ผูบ้ ริ โภคจะต้องพิจารณาสิ นค้าอย่างรอบคอบ เพราะ
อาจจะเลือกซื้อสิ นค้าจากการจูงใจด้วยการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เช่น การ
ซื้ อ เสื้ อ ผ้า รองเท้า จากการลดราคา แล้ว น ามาเก็บ ไว้ เพราะไม่ มี ค วาม
จาเป็ นต้องใช้ ก็เป็ นพฤติกรรมที่ไม่ดีที่เกิดจากการโฆษณาประชาสัมพันธ์
พฤติกรรมผู้บริโภคทีไ่ ม่ ดี
3. พฤติกรรมทีไ่ ม่ ดีเกีย่ วกับบริการสุ ขภาพ การใช้บริ การสุ ขภาพ
เช่น เมื่อเจ็บป่ วยแทนที่จะไปพบหมอในโรงพยาบาลหรื อคลินิก เพื่อตรวจ
และเข้ารับการรักษาอย่างถูกต้อง แต่กลับไปซื้อยาตามร้านขายยาต่าง ๆ ที่
ไม่มีเภสัชกรแนะนา หรื อไปซื้อยาตามคาบอกเล่าของเพื่อน การซื้อยาชุด
ไปปรึ กษาหมอตี๋ หมอเถื่อนต่าง ๆ ซึ่งทาให้ได้รับอันตรายและผลกระทบ
จากการใช้บริ การเหล่านี้
การซื้อยาชุดจากรถขายยาที่เร่ ขายตามหมู่บา้ นในชนบทด้วยราคา
ถูก และการโฆษณาสรรพคุณของยาว่าแก้สารพัดโรคนั้น ก็เป็ นพฤติกรรม
การบริ โภคที่ผดิ อย่างยิง่
การคุ้มครองสุ ขภาพของผู้บริโภค
ผูบ้ ริ โภคนอกจากจะต้องมีหลักในการเลือกใช้บริ การได้อย่างถูกต้อง
ด้วยตนเอง เพื่อผูบ้ ริ โภคได้บริ โภคสิ นค้าและบริ ก ารที่ มีคุณ ภาพ อัน จะก่ อ
ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ผูบ้ ริ โ ภคเองแล้ว ผูบ้ ริ โ ภคก็ย งั จะได้รั บ สิ ท ธิ แ ละการ
คุ ม้ ครองดู แ ลและควบคุ ม สิ น ค้า และบริ ก ารที่ มี อ ยู่ใ นท้อ งตลาดโดยทัว่ ไป
ตลอดจนการโฆษณาชวนเชื่อที่เกี่ยวกับสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แต่อย่างไรก็ตาม สิ นค้าและบริ การที่มีอยู่ในท้องตลาดนั้นมีจานวน
มาก ดังนั้นผูบ้ ริ โภคจึงจะต้องได้รับสิ ทธิ ในการใช้สินค้าและบริ การด้วยความ
เป็ นธรรมจากผูผ้ ลิตสิ นค้าและบริ การ ตามพระราชบัญญัติคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค
พุทธศักราช 2522 ที่ได้ระบุเรื่ องสิ ทธิของผูบ้ ริ โภคไว้ดงั นี้
สิ ทธิ 4 ประการของผู้บริโภค
1. สิ ทธิที่จะได้ รับข่ าวสาร
2. สิ ทธิทจี่ ะมีอสิ ระในการเลือกซื้อสิ นค้าและบริการ
3. สิ ทธิที่จะได้ รับความปลอดภัยจากการใช้ สินค้ าและบริการ
4. สิ ทธิที่จะได้ รับการพิจารณาและชดเชยความเสี ยหาย
หลักการเลือกผลิตภัณฑ์ เพือ่ สุ ขภาพ
ในปั จจุบนั ได้มีการผลิตสิ นค้าและบริ การจานวนมาก เพื่ ออานวย
ความสะดวกแก่ผบู ้ ริ โภค แต่ขณะเดียวกันก็มีผลิตภัณฑ์หลายชนิ ดที่ผผู ้ ลิต
หรื อผูข้ ายหวังผลกาไรมาก โดยไม่คานึ งถึงอันตรายที่จะมีต่อสุ ขภาพของ
ผูบ้ ริ โภค เช่ น การปลอมปน การปลอมแปลงสิ นค้า เป็ นต้น จึ งจาเป็ นที่
ผูบ้ ริ โภคจะต้องมีความรู ้ ความเข้าใจ และมีหลักการในการเลือกซื้ อหรื อ
เลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริ การ เพื่อความปลอดภัยต่อสุ ขภาพของตนเองและ
ครอบครัว
ในการเลื อกซื้ อและเลื อกใช้ผลิ ตภัณฑ์ท้ งั ที่ เป็ นของกิ นและของใช้น้ ัน
ควรพิจารณาดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวจะต้องมีมาตรฐานตามที่หน่ วยราชการที่เกี่ ยวข้อง
กาหนด เช่น
- ยารั กษาโรค ต้องผ่านการรั บรองและได้รับอนุ ญาตจากสานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุ ข
- อาหารและของใช้ ต่ า ง ๆ ควรเลื อ กสิ น ค้า ที่ ไ ด้ รั บ เครื่ องหมาย
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จากสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม เครื่ องหมายมาตรฐานมี 2 แบบ
เครื่ องหมายมาตรฐานแบบไม่บงั คับ ซึ่ งผูท้ าผลิ ตภัณฑ์
สมัครใจขอใช้เครื่ องหมายมาตรฐาน เพื่อแสดงให้ปรากฏว่ามี
เจตนาและความสามารถในการทาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพดีกว่าที่
มาตรฐานกาหนด
ส่ วนเครื่ องหมายมาตรฐานที่มีวงกลมล้อมรอบ แสดงว่า
ผลิ ต ภัณ ฑ์น้ ัน ๆ มี พ ระราชกฤษฎี ก าก าหนดให้ เ ป็ นไปตาม
มาตรฐาน
1.2 เครื่ องหมายฉลากอาหารที่ผา่ นการฉายรังสี อาหาร จะต้องมี
การถนอมโดยการใช้รังสี เช่น หอมหัวใหญ่ มะม่วง สตรอเบอรี่ เป็ นต้น
จะต้องมีฉลากและเครื่ องหมายเป็ นรู ปวงกลมขอบหนาสี เขียว ขอบครึ่ ง
วงกลมช่ ว งบนไม่ ติด กัน ขอบครึ่ งวงกลมช่ ว งล่ างจะเป็ นขอบหนาทึ บ
ตลอดภายในครึ่ งวงกลม ช่ ว งบนมี ว งกลมทึ บขนาดเล็ก สี เ หลื อง ส่ ว น
ภายในครึ่ งวงกลมช่วงล่างจะมีเครื่ องหมายเป็ นรู ปวงรี โปร่ ง 2 วงแยกกัน
ปลายด้านหนึ่งของแต่ละวงเชื่อมต่อกัน โดยเส้นรอบวงรี เป็ นสี เขียว
1.3 เครื่ องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) แสดงได้เฉพาะ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองแล้วเท่านั้น
โดยที่ผผู ้ ลิตต้องแจ้งรายละเอียดทุกข้อที่
ระบุไว้ในหัวข้อเครื่ องหมายและฉลาก
ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับ
การรับรอง โดยให้ระบุไว้ที่ฉลากหรื อ
หี บห่อของผลิตภัณฑ์ทุกหน่วย ดังนี้
- ชื่อประเภทของสิ นค้าที่แสดงให้เข้าใจได้วา่ สิ นค้านั้นคืออะไร
- ชื่อหรื อเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนในประเทศไทยของผูผ้ ลิต
- สถานที่ต้ งั ของสถานที่ผลิต
- ขนาด หรื อปริ มาณ หรื อปริ มาตร หรื อน้ าหนักของสิ นค้านั้น
- แสดงวิธีใช้ เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคเข้าใจว่าสิ นค้านั้นใช้เพื่อสิ่ งใด เช่น ใช้
ทาความสะอาดพื้นไม้ หรื อพื้นกระเบื้อง
- ข้อแนะนาในการใช้ เพื่อความถูกต้องในการใช้ที่ให้ประโยชน์แก่
ผูบ้ ริ โภค เช่น ห้ามใช้ของมีคมทาการแซะน้ าแข็งในตูเ้ ย็น
- คาเตือน (ถ้ามี)
- วันเดือนปี ที่ผลิต หรื อวันเดือนปี ที่หมดอายุการใช้ หรื อวันเดือนปี ที่
ควรใช้ก่อน วันเดือนปี ที่ระบุน้ นั
ผูผ้ ลิตอาจจะระบุขอ้ ความอื่นเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กาหนดได้
ปี 2547 นี้ รั ฐ บาลประกาศให้เ ป็ นปี " อาหารปลอดภัย " หรื อ "
Food Safety Year " กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะเป็ นหน่วยงานที่
รับผิดชอบโดยตรงในการดูแลความปลอดภัยของอาหารตั้งแต่เริ่ มต้นผลิต
จนถึงโต๊ะอาหาร หรื อที่เรี ยกว่า From Farm to Table จึงได้กาหนด
เครื่ องหมายรับรองมาตรฐานสิ นค้าเกษตรและอาหารขึ้น เพื่อเป็ นสัญลักษณ์
แสดงถึงคุณภาพและความปลอดภัยของสิ นค้าเกษตร หรื ออาหารนั้น ๆ เป็ น
การสร้างความมัน่ ใจให้กบั ประชาชนในการเลือกซื้ อสิ นค้าที่ได้มาตรฐาน
และคุณภาพเป็ นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ
2. เป็ นผลิตภัณฑ์ที่เป็ นประโยชน์ต่อสุ ขภาพมากที่สุด ได้แก่
- อาหารที่สะอาด ถูกสุ ขลักษณะ มีประโยชน์ต่อร่ างกาย เช่น
การเลือกดื่มนมถัว่ เหลืองแทนเครื่ องดื่มรสซ่าต่าง ๆ เป็ นต้น
- การเลื อกของใช้ เช่ น โต๊ะ เก้า อี้ ท างาน จะต้อ งมี สั ด ส่ ว น
เหมาะสมแก่การปฏิบตั ิงาน ไม่สูงเกินไปหรื อเตี้ยเกินไป ทาให้เกิดโรค
ปวดหลัง ปวดข้อได้ง่าย ฯลฯ
3. เลือกผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากบอกส่ วนประกอบ คาแนะนาในการ
ใช้อย่างละเอียด วันที่ผลิต เลขทะเบียน และสถานที่ผลิต ตลอดจนข้อ
ระวังในการใช้ เป็ นต้น
4. เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีสภาพสะอาดเรี ยบร้อย ไม่เสื่ อมคุณภาพ ไม่มี
สารปนเปื้ อน เช่น อาหารสาเร็ จรู ปต้องบรรจุหีบห่ อมิดชิด ไม่มีรอยฉี กขาด
หรื อขึ้นรา เป็ นต้น
5. ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ที่สะดวกปลอดภัยในการเก็บและใช้งาน เช่น
อุปกรณ์ไฟฟ้ าต่าง ๆ ไม่ควรเลือกเพียงแค่ราคาถูกเท่านั้น แต่ตอ้ งคานึ งถึง
ประโยชน์ใช้สอยให้พอเหมาะ ปลอดภัย และทนทาน ฯลฯ
6. กรณี ที่เป็ นผลิตภัณฑ์ที่จาเป็ นต้องได้รับคาแนะนาเฉพาะ เช่ น
การใช้ยา ควรปรึ กษาแพทย์หรื อเภสัชกร ไม่ควรซื้ อเองตามคาแนะนาของ
เพื่อนหรื อคนรู ้จกั
หลักการเลือกบริการเพือ่ สุ ขภาพ
ในการเลือกบริ การสุ ขภาพนั้น ทางที่ดีที่สุดนักเรี ยนควรจะปฏิบตั ิตน
ให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีในขณะที่ร่างกายปกติ เพื่อควบคุม ดูแล และป้ องกัน
อันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับร่ างกายและจิตใจ เช่น การระมัดระวังการเกิด
อุบตั ิภยั ต่าง ๆ การพยายามรั กษาร่ างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ โดยการออก
กาลังกาย การรับประทานอาหารที่ดี มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อร่ างกาย การ
เลือกใช้สินค้าและบริ การที่มีคุณภาพ รวมถึงการมีพฤติกรรมทางสุ ขภาพที่ดี
สิ่ ง ต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ จะช่ ว ยให้นัก เรี ย นมี สุ ข ภาพจิ ต ที่ ดี ไ ด้ แต่ ถ ้า เมื่ อ ร่ า งกาย
อ่อนแอหรื อได้รับเชื้ อโรคจนเกิ ดการเจ็บป่ วยขึ้นมา นักเรี ยนก็ควรจะต้อง
เลือกใช้บริ การสุ ขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสมโดยควรพิจารณาดังนี้
1. เมื่อมีอาการเจ็บป่ วย ควรเลือกใช้บริ การให้ตรงกับปั ญหาของตน
เช่น ปวดฟั นควรไปพบทันตแพทย์ มีปัญหาทางสายตาควรปรึ กษาจักษุแพทย์
เป็ นต้น
2. สถานบริ ก ารทางสุ ข ภาพ เช่ น ร้ า นขายยา สถานี อ นามัย คลิ นิ ก
โรงพยาบาล ฯลฯ นักเรี ยนควรเลือกบริ การตามความจาเป็ น กล่าวคือ
หากมีอาการเจ็บป่ วยเล็กน้อย เช่น ปวดศีรษะ เป็ นไข้หวัด ก็อาจซื้ อยา
ตามร้ านขายยาที่ มีเภสัชกรประจามากิ นเอง หรื อปรึ กษากับแพทย์ในคลิ นิก
หรื อโรงพยาบาลต่าง ๆ
หากสงสัยและมีอาการเจ็บป่ วยมาก ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจรัก ษา
และอยูภ่ ายใต้การควบคุมจากแพทย์โดยเคร่ งครัด
นากจากนี้ แล้วการหมัน่ ตรวจสุ ขภาพเป็ นประจาก็จะช่วยลดโอกาสที่
จะเกิดอันตรายกับสุ ขภาพได้มากขึ้น
การเลือกผลิตภัณฑ์ เพือ่ สุ ขภาพบางชนิด
การเลือกอาหาร
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ได้ให้คาจากัดความของ “อาหาร”
ไว้ดงั นี้
“อาหาร” หมายความว่า ของกินหรื อเครื่ องค้ าจุนชีวิต ได้แก่
1. วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรื อนาเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ
หรื อในรู ปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรื อ
สิ่ งเสพย์ติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นแล้วแต่กรณี
2. วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้หรื อใช้เป็ นส่ วนผสมในการผลิตอาหาร
รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่ องปรุ งแต่งกลิ่นรส
ก. อาหารไม่ บริสุทธิ์ คือ อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1. อาหารที่มีสิ่งน่าจะเป็ นอันตรายแก่สุขภาพเจือปนอยูด่ ว้ ย
2. อาหารที่มีสารหรื อวัตถุเคมีเจือปนอยู่ในอัตราที่อาจเป็ นเหตุให้
คุณภาพของอาหารนั้นลดลง เว้นแต่การเจือปนเป็ นการจาเป็ นต่อกรรมวิธีผลิต
การผลิต และได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว
3. อาหารที่ได้ผลิต บรรจุ หรื อเก็บรักษาไว้โดยไม่ถูกสุ ขลักษณะ
4. อาหารที่ผลิตจากสัตว์ที่เป็ นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้
5. อาหารที่มีภาชนะบรรจุประกอบด้วยวัตถุที่น่าจะเป็ นอันตรายต่อ
สุ ขภาพ
ก. อาหารปลอม คือ อาหารที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1. อาหารที่ได้สับเปลี่ยนใช้วตั ถุอื่นแทนบางส่ วน หรื อคัดแยกวัตถุที่
มีคุณค่าออกเสี ยทั้งหมด หรื อบางส่ วน และจาหน่ายเป็ นอาหารแท้อย่างนั้น
2. วัตถุ ห รื ออาหารที่ ผลิ ตขึ้ น เที ย มอาหารอย่างหนึ่ งอย่า งใด และ
จาหน่ายเป็ นอาหารอย่างแท้น้ นั
3. อาหารที่ได้ผสมหรื อปรุ งแต่งด้วยวิธีใด ๆ โดยประสงค์จะปกปิ ด
ความด้อยคุณภาพของอาหารนั้น
4. อาหารที่มีฉลากเพื่อลวงหรื อพยายามลงผูซ้ ้ื อให้เข้าใจผิดในเรื่ อง
คุณภาพ ปริ มาณ ประโยชน์
5. อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพ จากผลวิเคราะห์ปรากฏว่า
ส่ วนประกอบที่เป็ นคุณค่าทางอาหาร ขาดหรื อเกินร้อยละ 30 จากเกณฑ์ต่าสุ ด
หรื อสู งสุ ด หรื อแตกต่างจากคุณภาพหรื อมาตรฐานที่ระบุไว้ จนทาให้เกิดโทษ
หรื ออันตราย
อาหารปลอมทีพ่ บกันในปัจจุบัน ได้แก่
1. นา้ ส้ มสายชู ปลอม ซึ่งอาจทามาจากกรดแร่ หรื ออาจเป็ นน้ าส้มสายชู
ที่มีกรดกามะถันหรื อกรดเกลือผสมอยู่ ซึ่ งโดยปกติแล้วน้ าส้มสายชูจะมีกรด
น้ าส้มเท่านั้น
2. ผงชู รสปลอม โดยปกติแล้วผงชูรสจะมีสารโมโนโซเดียมกลูตาเมต
(Monosodium glutamate) ในผงชู รสปลอมอาจมี การเจื อปนสารเคมี พวก
โซเดียมเมตาฟอสเฟต (Sodium metaphosphate) หรื อสารบอแรกซ์ (Borax)
3. สี ผสมอาหาร มีการปลอมโดยการใช้สียอ้ มผ้ามาผสมลงในอาหาร
ต่าง ๆ
จากลัก ษณะอาหารดัง ที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น การเลื อ กซื้ อ หรื อ บริ โ ภค
อาหาร จึ ง ควรหลี ก เลี่ ย งอาหารไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ หรื อ อาหารปลอมตามลัก ษณะ
ดังกล่าว ซึ่ งอาจเป็ นภัยต่อสุ ขภาพของผูบ้ ริ โภค รวมทั้งการเสี ยเงินโดยเปล่า
ประโยชน์ดว้ ย
ดังนั้น การบริ โภคอาหารจึงควรคานึงถึงภัยของอาหารในเรื่ องต่าง ๆ ดังนี้
1. สิ่ ง ปนเปื้ อนในอาหาร หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ป ะปนอยู่ ใ นอาหาร ใน
กระบวนการผลิต การเก็บหรื อการปรุ งอาหารโดยไม่ต้ งั ใจ เช่น เชื้อบัคเตรี หรื อ
จุลินทรี ย ์ เศษผม เศษแก้ว ฯลฯ
2. วัตถุเจือปนในอาหาร ซึ่งอยูใ่ นกรรมวิธีการผลิตอาหาร เช่น การใช่
สารกันบูด ซึ่งถ้าใส่ มากเกินกาหนดก็เป็ นภัยแก่ผบู ้ ริ โภคได้ เป็ นต้น
3. สิ่ ง ปลอมปนในอาหาร หมายถึ ง การใช้ส ารที่ ไ ม่ มี ก าหนดเป็ น
ส่ วนประกอบของอาหาร เช่น การใส่ สียอ้ มผ้าในอาหาร ทาให้เป็ นอันตรายต่อ
ผูบ้ ริ โภค
4. พิษตามธรรมชาติของอาหาร เช่น เห็ดพิษ แมงดาทะเล เป็ นต้น
5. วัตถุเจือปนในอาหารเลีย้ งสั ตว์ หมายถึง การเลี้ยงสัตว์ดว้ ยอาหาร
ปนเปื้ อน ตกค้างในอาหาร สารเหล่านี้ จะไปสะสมในตัวสัตว์ เมื่อคนกินสัตว์
นั้นเป็ นอาหารก็เกิดพิษขึ้นได้
นอกจากภัยจากอาหารดังที่กล่าวมาแล้ว ผูบ้ ริ โภคควรพิจารณาเลือก
ซื้ออาหาร ดังนี้
1. อาหารทีม่ ีภาชนะบรรจุ ควรเลือกพิจารณาเลือกอาหารที่
1. ภาชนะบรรจุตอ้ งสะอาด เรี ยบร้ อย ไม่มีรอยรั่วฉี กขาด ถ้าเป็ น
อาหารกระป๋ องต้องไม่เป็ นสนิม ไม่บุบ ลักษณะการผนึกต้องเรี ยบร้อย
2. ต้อ งมี ฉ ลาก ไม่ ค วรซื้ อ อาหารที่ ไ ม่ มี ฉ ลาก และลัก ษณะขอบ
ฉลากไม่ฉีกขาด มีขอ้ ความภาษาไทยที่ชดั เจน ดังนี้
- ชื่อประเภทอาหาร
- ชื่อและที่ต้ งั ของผูผ้ ลิต หรื อผูแ้ ทนจาหน่าย
- เลขที่อนุญาตฉลาก
- ส่ วนประกอบของอาหารและข้อมูลโภชนาการ
- น้ าหนักสุ ทธิ หรื อปริ มาตรสุ ทธิ
- วันที่ผลิต หรื อวันหมดอายุ
ผช .................../....................
ตัวอย่างแสดงฉลากอาหาร และเครื่ องหมายเลขทะเบียนตารับอาหาร
2. อาหารทัว่ ไป
1. เลือกซื้ออาหารจากผูข้ ายที่สะอาด สถานที่จาหน่ายถูกสุ ขลักษณะ
2. เลือกซื้อผักผลไม้ตามฤดูกาล เพื่อความประหยัด
3. ควรเลื อ กผัก ที่ มี ก ารฉี ด พ่ น สารก าจัด ศัต รู พื ช น้อ ย เช่ น ผัก บุ ้ง
ถัว่ งอก เป็ นต้น และอย่าเลือกผักที่สวยมากนัก เพราะอาจมีการฉีดพ่นสารกาจัด
ศัตรู พืชมากไป
4. ไม่ควรซื้อถัว่ หรื อเมล็ดพืชที่ข้ ึนรา เพื่อหลีกเลี่ยงสารพิษจากเชื้อรา
5. อาหารประเภทเนื้อสัตว์ควรเลือกที่สด และไม่มีการอาบน้ ายาหรื อ
ใช้สารเคมีใด ๆ กับเนื้อนั้นมาก่อน
6. หลี ก เลี่ ย งอาหารที่ มี สี ถ้า เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ให้เ ลื อ กที่ มี สี อ่ อ น ๆ จะ
ปลอดภัยกว่า
7. หลีกเลี่ยงอาหารบางชนิ ดที่ใช้สารเคมีทาให้น่ารับประทานหรื อ
เพิ่มรสชาติ
การตรวจสอบสิ่ งปลอมปนในอาหารควบคุมเฉพาะ
อาหารควบคุมเฉพาะ หมายความว่า อาหารที่รัฐมนตรี ประกาศในราช
กิจจานุ เบกษาให้เป็ นอาหารที่อยู่ในความควบคุมคุณภาพหรื อมาตรฐาน โดย
อาหารที่เป็ นอาหารควบคุมเฉพาะ ผูผ้ ลิตที่ผลิตอาหารเหล่านี้ จะต้องอยู่ภายใต้
การควบคุ ม ให้ไ ด้อาหารที่ มีคุ ณ ภาพและมาตรฐานตามที่ ก าหนดไว้ ทั้ง นี้ ก็
เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคได้กินอาหารที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน มีความปลอดภัยต่อ
ร่ า งกาย อี ก ทั้งยัง จะท าให้ผูบ้ ริ โ ภคได้รั บ ประโยชน์ จ ากการบริ โ ภคอาหาร
เหล่านี้ได้อย่างเต็มที่
อาหารควบคุมเฉพาะตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ซึ่ งออกตาม
ความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 จานวน 35 ชนิด ได้แก่
ชา กาแฟ น้ าแข็ง น้ าบริ โภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิ ท เครื่ องดื่ มใน
ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิ ท น้ าแร่ เครื่ องดื่มเกลือแร่ อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิด
สนิ ท น้ ามันและไขมัน น้ ามันถัว่ ลิสง น้ ามันปาล์ม น้ ามันมะพร้าว น้ ามันเนย
น้ าส้มสายชู น้ าปลา ซอสบางชนิ ด วัตถุที่ใช้ปรุ งแต่งรสอาหาร สี ผสมอาหาร
วัตถุเจือปนในอาหาร อาหารกึ่งสาเร็ จรู ป นมโค ผลิตภัณฑ์ของนม นมปรุ งแต่ง
นมดัดแปลงสาหรับทารก อาหารทารก อาหารเสริ มสาหรับเด็ก นมเปรี้ ยว เนย
เนยแข็ง เนยเทียม ไอศกรี ม ครี ม กี น้ ามันถัว่ เหลือง ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิ ท
และแยม เยลลี มาร์มาเลต ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
อาหารควบคุมเฉพาะนี้ ผูใ้ ดมีความประสงค์จะผลิต จาหน่ าย หรื อสั่ง
เข้ามาในราชอาณาจักร จะต้องขออนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุ ขเสี ยก่อน ถ้า
ผูใ้ ดมิได้รับอนุญาตแล้วกระทาการ ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกิน 2 ปี หรือ
ปรับไม่ เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ในที่น้ ี จะกล่าวถึงอาหารควบคุมเฉพาะบางชนิดที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้แก่
1. นา้ ส้ มสายชู แบ่งน้ าส้มสายชูเป็ น 3 ชนิด คือ
- น้ า ส้ มสายชู ห มั ก ได้จ ากการน าธัญ พื ช หรื อ น้ า ตาลมาหมัก กับ
ส่ าเหล้า แล้วหมักกับเชื้อน้ าส้มสายชูตามวิธีธรรมชาติ
- นา้ ส้ มสายชู กลัน่ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาแอลกอฮอล์เจือจาง
มาหมักกับเชื้อน้ าส้มสายชู
- น้าส้ มสายชู เทียม เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาเอากรดน้ าส้มมา
เจือจางด้วยน้ า
ทั้งนี้โดยกาหนดมาตรฐานน้ าส้มสายชู ดังนี้
1. มี ก รดน้ า ส้ ม ไม่ น้อ ยกว่ า 4 กรั ม ต่ อ 100 มิ ล ลิ เ มตร ที่ 27 องศา
เซลเซียส
2. ไม่มีกรดซัลฟิ วริ ก หรื อกรดแร่ อิสระอื่น ๆ
3. ไม่มีตะกอน เว้นแต่ตะกอนนั้นเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
4. ไม่มีหนอนน้ าส้ม
5. มีลกั ษณะใส ไม่มีสี
การสั งเกตและทดสอบนา้ ส้ มสายชู ปลอม ทาได้หลายวิธีโดย
วิธีที่ 1 สังเกตลักษณะของพริ กที่ใส่ ในน้ าส้มสายชู ถ้าใส่ ไว้นานพริ ก
จะเปื่ อยและน้ าเหนื อพริ กมีลกั ษณะขุ่น แสดงว่าเป็ นน้ าส้มสายชูปลอม ถ้าเป็ น
น้ าส้มสายชูแท้ พริ กจะไม่ถูกกัดและน้ าส้มสายชูจะมีลกั ษณะใส ไม่ข่นุ
วิธีที่ 2 ใส่ ใบผักชีลงในน้ าส้มสายชูที่สงสัย ถ้าใบผักชีมีลกั ษณะตายนึ่ง
ภายใน 15 นาที แสดงว่าเป็ นน้ าส้มสายชูปลอมที่ทามาจากกรดแร่
วิธีที่ 3 นาตัวอย่างน้ าส้มสายชู 5 มิลลิเมตรเจือจางด้ว ยน้ ากลัน่ 5 - 10
มิลลิลิตร แล้วหยดสารละลายเมทิลไวโอเลต 1 : 10,000 ประมาณ 4 - 5 หยดลง
ไป ถ้าเมทิลไวโอเลตยังสี แดงดังเดิม แสดงว่าเป็ นน้ าส้มสายชูแท้ ถ้าเปลี่ยนเป็ น
สี น้ า เงิ น หรื อ เขี ย ว แสดงว่า มี ก รดก ามะถัน หรื ก รดเกลื อ ผสมอยู่ แล้ว น าไป
ทดสอบกับแบเรี ยมคลอไรด์ ถ้าได้ตะกอนขุ่นขาวแสดงว่าเป็ นกรดกามะถัน
วิธีที่ 4 ใช้ Gentian Violet (ยาป้ ายลิ้นสี ม่วง) หยดลงไปในน้ าส้มที่
สงสัยสัก 2 - 3 หยด ถ้าสี ของยาป้ ายลิ้นยังคงเป็ นสี ม่วง แสดงว่าเป็ นน้ าส้มสายชู
แท้ กินได้ แต่ถา้ เปลี่ยนเป็ นสี เขียวหรื อสี น้ าเงิน แสดงว่าเป็ นน้ าส้มสายชูที่ทา
จากกรดแร่ ห้ามใช้ปรุ งอาหารเพราะเป็ นอันตราย
2. ผงชู รส เป็ นสารเคมีที่ชื่อว่า โมโนโซเดียม กลูตาเมต
(Monosodium glutamate) ใช้ปรุ งอาหารเพื่อแต่งรสหรื อเสริ มรสอาหาร
ลักษณะของโมโนโซเดี ยมกลูตาเมตจะเป็ นผลึกสี ขาวรู ปเข็ม มี รสหวาน
อ่อน ๆ ปนเค็มเล็กน้อย ละลายน้ าได้ดี
ในทางโภชนาการผงชูรสไม่มีคุณค่าทางอาหารเลย สาเหตุที่ทาให้
ผูบ้ ริ โภครู ้สึกอร่ อยในอาหารที่ใส่ ผงชูรสนั้น เนื่ องจากสารในผงชูรสจะไป
กระตุน้ ต่อมรับรสที่ลิ้นของผูบ้ ริ โภคให้ขยายตัวขึ้น จนทาให้อาหารที่ใส่ ผง
ชู รสมีรสชาติอร่ อยขึ้น แต่บุคคลบางคนที่มีความไวต่อสารบางอย่างเป็ น
พิเศษอาจทาให้เกิดอาการแพ้ได้ ฉะนั้นจึงควรระมัดระวังในการบริ โภค
นอกจากนี้ ยงั ปรากฏว่ามีพ่อค้าบางคนที่หวังกาไรเกินควร ทาการ
เจือปนสารเคมีพวกโซเดียมเมตาฟอสเฟต หรื อสารบอแรกซ์ ที่เรี ยกกันว่า
น้ าประสานทองลงไปในผงชู รสเพื่อให้มีปริ มาณมากขึ้น ซึ่ งสารเคมีท้ งั
สองชนิ ดนี้ ไม่ปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค อาจทาให้ทอ้ งร่ วง หรื ออาจช็อกถึง
ตายได้
วิธีการตรวจสอบผงชู รสปลอม ดังนี้
1. โดยวิธีเผาไหม้ ทาโดยเอาผงชูรสประมาณครึ่ งช้อนกาแฟใส่
ช้อนโลหะ แล้วนาไปเผาบนเปลวไฟ ผงชูรสแท้จะไหม้เป็ นสี ดา ส่ วนผง
ชูรสรสจะหลอมตัวเป็ นสี ขาว ไม่ไหม้ไฟ
2. โดยวิธีการทางเคมี
- ตรวจดูว่ามีน้ าประสานทองอยู่หรื อไม่ โดยนาผงชูรสขนาด
เท่ า เม็ด ถัว่ เขี ย วละลายน้ า 1 ช้อ นชา เอากระดาษขมิ้ น จุ่ ม สารละลายถ้า
กระดาษไม่เปลี่ยนสี แสดงว่าเป็ นผงชูรสแท้ ถ้าเปลี่ยนเป็ นสี แดงแสดงว่ามี
น้ าประสานทองผสมอยู่ และถ้า มี น้ าประสานทองผสมอยู่ ม าก จะ
เปลี่ยนเป็ นสี ม่วงเข้ม
- ตรวจดูวา่ มีโซเดียมเมตาฟอสเฟตอยูห่ รื อไม่ โดยใช้น้ าปูนขาว
1 ช้อนกาแฟ ผสมน้ าส้มสายชู 1 ช้อนโต๊ะ ปล่อยทิ้งไว้ให้ตกตะกอน แล้ว
นาส่ วนที่ใส 1 ช้อนกาแฟใส่ ลงไปในสารละลาย ถ้าเป็ นผงชูรสแท้จะไม่มี
ตะกอนเกิ ดขึ้น ถ้ามีสารโซเดียมเมตาฟอสเฟตผสมอยู่แล้ว สารละลายจะ
ตกตะกอนขุ่นขาวทันที
3. สี ผสมอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข แบ่งออกเป็ น
ก. สี อินทรี ยท์ ี่ได้จากการสังเคราะห์ เช่ น ปองโซ 4 อาร์ (สี แดง)
ตาร์ตาซีน (สี เหลือง) บริ ลเลียนท์บลู เอฟซีเอฟ (สี น้ าเงิน) เป็ นต้น
ข. สี อ นิ น ทรี ย ์ ได้แ ก่ ผงถ่ า นที่ ไ ด้จ ากการเผาพื ช ไทเทเนี ย ม
ออกไซด์
ค. สี ที่ได้จากธรรมชาติโดยการสกัดพืชที่ใช้บริ โภคได้โดยไม่เกิด
อันตราย เช่น สี น้ าเงินจากดอกอัญชัน สี เขียวจากใบเตย
สี ผสมอาหารที่ผลิตเพื่อจาหน่าย นาเข้าเพื่อจาหน่ายที่จาหน่าย ต้องมี
ฉลาก ข้อความในฉลากต้องเป็ นภาษาไทยอ่านได้ชดั เจน และอย่างน้อยต้องมี
ข้อความดังต่อไปนี้
1. คาว่า “สี ผสมอาหาร”
2. ชื่อสามัญ
3. เลขทะเบียนอาหาร
4. ปริ มาณสุ ทธิเป็ นระบบเมตริ ก
5. ชื่อและที่ต้ งั ของสถานที่ผลิต
6. ชนิดของพืชที่เป็ นต้นกาเนิดของสี ธรรมชาติ
ในปั จจุบนั พบว่ามีการใช้สีผสมอาหารกันอย่างแพร่ หลายเพื่อดึงดูด
ความสนใจของผูบ้ ริ โภค แต่ปรากฏว่ามี ผูผ้ ลิตอาหารจานวนมากนาเอาสี
ย้อมผ้าซึ่ งเป็ นวัตถุมีพิษมาผสมในอาหารที่ตนผลิต อาจเนื่ องจากความไม่รู้
หรื อเพื่อลดต้นทุนการผลิต นอกจากนี้ บางรายก็นาสี ผสมอาหารโดยเจตนา
ปิ ดบัง ข้อบกพร่ องของอาหาร ซึ่ งล้ว นแต่ ก่ อให้เ กิ ด อัน ตรายต่ อ ผูบ้ ริ โภค
ทั้งนั้น
อันตรายจากสี สังเคราะห์
1. ถ้าบริ โภคอาหารที่ใช้สีสงั เคราะห์อาจเกิดพิษในระยะยาว เช่น
สี เหลื อง (Tratazine)
ถ้ากิ นเกิ น 7.5 มิ ลลิ กรั มต่อน้ าหนักตัว 1 กิ โลกรั ม
และสี แดง (Amaranth) ถ้ากินเกิน 1.5 มิลลิกรัมต่อน้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม จะ
ทาให้เยือ่ บุกระเพาะอาหารทาการดูดซึมอาหารบกพร่ องไป
สี ส้ม (Sunset Yellow FCF) ถ้ากินเกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อน้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม
จะทาให้ทอ้ งเดินและน้ าหนักตัวลด
2. พิษที่เกิดจากโลหะที่ผสมมากับสี ผสมอาหาร เช่น
- ตะกัว่ ทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ เลือดจาง
- สารหนู ท าอัน ตรายต่ อ ระบบประสาทส่ ว นกลาง และระบบ
ทางเดินอาหาร ทาให้ตบั อักเสบ และมีอนั ตรายต่อวงจรเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ทา
ให้หวั ใจวายได้
การป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการบริ โภคอาหารที่ใส่ สีที่สดใสเข้มข้น
- สร้ างความนิ ย มในการบริ โภคอาหารที่ มีคุณค่าโดยไม่ ตอ้ งใส่ สี
ผสมอาหาร
- เก็บตัวอย่างอาหารที่สงสัยส่ งวิเคราะห์ที่สานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุ ข
4. น้าปลา ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข น้ าปลา หมายความว่า
ผลิ ตภัณฑ์ที่เป็ นของเหลวซึ่ งได้จากการหมักปลากับเกลือ หรื อกากปลาที่
เหลือจากการหมักครั้งแรกกับน้ าเกลือตามกรรมวิธีทาน้ าปลา แต่ไม่รวมถึง
น้ าบูดู
น้ าปลาที่จาหน่ายตามท้องตลาดทัว่ ไปมีอยู่ 2 ชนิด คือ
1. น้าปลาแท้ หรื อหัวน้าปลา ได้จากการหมักปลากับเกลื อทิ้งไว้
ประมาณ 1 ปี จะได้น้ าปลาที่มีลกั ษณะใส สี น้ าตาลแดง มีกลิ่นคาวของปลา
มาก และมักจะจาหน่ายในราคาค่อนข้างสูง
2. น้าปลาผสม ได้จากน้ าปลาแท้ น้ าปลาวิทยาศาสตร์ หรื อกาก
ปลาที่เหลือจากการหมักน้ าปลาแท้ แล้วนามาผสมกับน้ าเกลือ แล้วแต่งสี
กลิ่น รส ก่อนจาหน่าย หรื อนาน้ าที่เหลือจากการแยกสกัดผงชูรสออกแล้ว
ที่เรี ยกกันว่า น้ าบีเอกซ์ ซึ่ งมีสีดาคล้ายน้ าปลามาผสมแล้วปรุ งแต่งกลิ่น รส
น้ าปลาผสมนี้ จะมีคุณค่าทางโภชนาการน้อยและจาหน่ ายในราคาถูกกว่า
น้ าปลาแท้
ดังนั้น ในการพิจารณาเลือกซื้อน้ าปลาจึงควรเลือกน้ าปลาแท้ ซึ่งจะมี
คุณค่าทางโภชนาการ คือ โปรตีน แร่ ธาตุ และวิตามิน โดยเฉพาะวิตามินบี 1
บี 2 หรื ออาจใช้เกลือในการปรุ งอาหาร ซึ่งจะประหยัดและปลอดภัย
5. นา้ มันพืช ในปัจจุบนั นี้แม่บา้ นนิยมใช้น้ ามันพืชมากขึ้นเพราะใช้
สะดวกกว่า ไม่ตอ้ งหัน่ เจียวเหมือนน้ ามันหมู และเชื่อกันว่าไม่ทาให้เกิดสาร
คอเลสเทอรอลในหลอดเลือดมากเหมือนน้ ามันหมู น้ ามันพืชที่ผลิตขายใน
ปัจจุบนั อาจผลิตจากถัว่ เหลือง ถัว่ ลิสง ราข่าว เมล็ดฝ้ าย ข้าวโพด ดอก
คาฝอย ฯลฯ ซึ่งส่ วนใหญ่กอ็ ยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน
เมื่อซื้อน้ ามันพืชจึงควรสนใจอ่านรายละเอียดที่แจ้งในฉลาก และ
เลือกซื้อน้ ามันตามประเภทที่ตอ้ งการ เช่น ถ้าต้องการน้ ามันที่มีกรดไขมัน
อิ่มตัว อาจพิจารณาเลือกน้ ามันที่ผลิตจากดอกคาฝอย ฯลฯ
การเลือกผลิตภัณฑ์ บรรจุอาหาร
ในปั จจุบนั เรานิ ยมใช้ผลิตภัณฑ์ที่ทาด้วยพลาสติกในชี วิตประจาวัน
กัน อย่า งแพร่ ห ลาย โดยเฉพาะการใช้ถุ ง พลาสติ ก บรรจุ ข องต่ า ง ๆ ซึ่ ง ถ้า
นามาใช้บรรจุอาหารร้อน ๆ อาจทาให้เกิ ดอันตรายแก่สุขภาพ เนื่ องจากสาร
ต่าง ๆ ที่อยูใ่ นเนื้อพลาสติกละลายลงสู่ อาหารได้ เช่น อันตรายจากสี ซ่ ึงทาจาก
โลหะหนักจาพวกตะกัว่ และสารเคมีบางชนิ ดที่ผสมลงในเนื้ อพลาสติก เป็ น
ต้น ดังนั้นในการเลือกผลิตภัณฑ์บรรจุอาหาร ควรมีหลักในการเลือก ดังนี้
1. วัสดุ
ก. วัสดุที่นามาใช้ทาภาชนะหรื อเครื่ องใช้ต่าง ๆ ต้องเป็ นวัสดุที่ไม่
เป็ นพิษหรื ออาจเป็ นอันตรายต่อร่ างกาย โดยหลุดออกมาปนเปื้ อนกับอาหารได้
เช่ น จานที่ ต กแต่ ง ลวดลายดอก ตะเกี ย บทาสี ซึ่ งสี ที่ ต กแต่ ง อาจหลุ ด มา
ปนเปื้ อนอาหารได้ เป็ นต้น
ข. ควรเป็ นวัสดุที่ทนต่อการกัดกร่ อนจากอาหารที่มีฤทธิ์ เป็ นกรด
หรื อด่ าง เช่ น อาหารที่มีรสเปรี้ ยวจัดหรื อเค็มจัด วัสดุ ที่ควรเลือกใช้ ได้แก่
แก้ว สเตนเลส กระเบื้องเคลือบขาว เป็ นต้น
ค. แข็งแรง ทนทาน ไม่แตกร้าว กะเทาะง่าย และไม่ดูดซึ มเร็ ว เช่น
ควรใช้ไม้เนื้อแข็งทาเขียง เป็ นต้น
ง. สิ่ งที่ ใช้ห่ อหรื อบรรจุ อาหารที่ ห าได้ง่ายจากธรรมชาติ ได้แ ก่
ใบไม้ชนิดต่าง ๆ เช่น ใบตอง ใบบัว จะต้องล้างทาความสะอาดให้ดีเสี ยก่อน
จ. กระดาษชนิ ดต่าง ๆ ที่ นามาพับเป็ นถุงใส่ อาหาร จะต้องไม่มี
สารพิษปะปนหรื อตกค้างอยู่ เช่น กระดาษหนังสื อพิมพ์ ซึ่ งมีสารพิษผสมอยู่
ในหมึกพิมพ์ เมื่อคนนาอาหารมารับประทานทาให้ได้รับสารพิษเข้าสู่ ร่างกาย
ได้ เป็ นต้น
ฉ. พลาสติกที่นามาใช้ทาภาชนะต่าง ๆ เช่น ถุง แก้ว ถ้วยชาม ซึ่ง
มีท้ งั สาหรับใส่ อาหารเย็นและอาหารร้อน สาหรับพลาสติกที่ใส่ อาหารร้อน
มักเคลือบด้วยสารพิเศษ โดยสารนี้ อาจทาปฏิกิริยากับอาหารบางชนิ ด เมื่อ
ได้รับความร้อนสู งถึงอุณหภูมิของน้ าเดือด แล้วละลายเจือปนมาในอาหาร
เมื่อสะสมอยู่ในร่ างกายมากพอก็จะทาให้เกิดพิษขึ้นได้ และถุงพลาสติกที่
ใช้แล้ว เมื่อถูกนามาหลอมใช้ใหม่มกั จะสกปรกและมีสารพิษเจื อปน ไม่
ควรนามาใส่ อาหาร
2. การออกแบบ ต้องเป็ นแบบที่ทาความสะอาดได้ง่าย มีผิวเรี ยบ
ไม่ เ ป็ นร่ อง ไม่ มี ซ อกหรื อมุ ม แหลมคม ไม่ มี ร อยต่ อ สามารถถอด
ส่ วนประกอบออกมาล้างทาความสะอาดได้ทวั่ ถึง ปากไม่แคบและไม่ลึก
เมื่อมีเศษอาหารเข้าไปติดจะทาความสะอาดได้ง่าย
3. การใช้ งาน
ก. อยูใ่ นสภาพที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้ อน
ข. ไม่เคยใช้บรรจุสิ่งของอื่นใดที่อาจเป็ นอันตรายมาก่อน เช่น
สารเคมี ปุ๋ ย สารฆ่ า แมลง ฯลฯ ถุ ง ปุ๋ ยที่ เ กษตรกรใช้ ปุ๋ ยหมดแล้ ว
ถุงปูนซี เมนต์ที่บรรจุปูนใช้ในการก่อสร้าง เมื่อนามาบรรจุอาหารผักสด
ต่าง ๆ นับว่าเป็ นอันตราย เนื่ องจากยังมีสารพิษอยูใ่ นถุงปูนซีเมนต์ ถุงปุ๋ ย
และเกิ ด การปนเปื้ อนมาในอาหาร เมื่ อ คนน าเอาอาหารดัง กล่ า วมา
รับประทาน ทาให้ได้รับสารพิษซึ่งจะเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพได้
ค. ภาชนะประเภทใช้เพียงครั้งเดียว เช่น จานหรื อถ้วยกระดาษ
แผ่นพลาสติก ควรมีวสั ดุห่อหุ ้มให้มิดชิดก่อนใช้งาน และเมื่อใช้แล้วห้าม
นากลับมาใช้อีก โดยการทาลายไม่ให้อยูใ่ นสภาพเดิม
การเลือกเครื่องสาอาง
ในปั จจุ บนั เราทุกคนไม่อาจหลี กเลี่ ยงการใช้เครื่ องสาอางได้เลย
อย่างน้อยที่สุดก็คือการใช้สบู่และแชมพูสระผม นอกจากนี้ มีการเลือกใช้
ครี มประเทืองผิว แป้ ง น้ ามันใส่ ผม ตลอดจนน้ าหอม เป็ นต้น ประเภทของ
เครื่ องสาอางที่มีปัญหา ทาให้เกิดอันตรายที่พบค่อนข้างมากและพบบ่อย ๆ
คือ เครื่ องสาอางที่มีตวั ยาเป็ นส่ วนผสม เพราะตัวยาบางชนิ ดออกฤทธิ์ แรง
และอาจเป็ นอัน ตรายต่อผูใ้ ช้ไ ด้ ซึ่ งอันตรายที่ อาจเกิ ด ขึ้น ต่ อผูใ้ ช้เครื่ องสาอาง ได้แก่ การแพ้สารเคมี การติดเชื้อเนื่องจากมีเชื้อโรคต่าง ๆ ติดปนใน
เครื่ องสาอาง และอันตรายที่เกิดกับผูใ้ ช้เครื่ องสาอางไม่ถูกวิธีหรื อใช้อย่าง
ผิด ๆ โดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ หรื อใช้ตามคาโฆษณาอวดอ้างสรรพคุณที่เกิน
ความเป็ นจริ ง อาการพิษที่ เกิ ดแก่ ผูใ้ ช้เครื่ องสาอางเท่าที่ พบมากที่ สุด คือ
ผิวหนังแพ้สารเคมี ทาให้ผวิ หนังอักเสบเป็ นผืน่ แดง หรื อมีอาการคัน
ดัง นั้ น ในการเลื อ กใช้ เ ครื่ องส าอางจึ ง ควรหลี ก เลี่ ย งการใช้
เครื่ องส าอางที่ มี ล ัก ษณะไม่ ป ลอดภัย ดั ง กล่ า วข้า งต้น ควรเลื อ กใช้
เครื่ อ งส าอางเฉพาะที่ จ าเป็ น ไม่ ค วรใช้เ ครื่ อ งส าอางมากเกิ น ไป หรื อ
นาไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ในเครื่ องสาอางนั้น ๆ นอกจากนี้ ตอ้ ง
ระมัดระวังในเรื่ องอุบตั ิเหตุอนั อาจจะเกิดขึ้น เช่น เครื่ องสาอางเข้านัยน์ตา
หรื อปาก
ก่ อ นใช้เ ครื่ อ งส าอางควรทดสอบการแพ้เ สี ย ก่ อ นโดยการแต้ม
เครื่ องสาอางบนผิวหนังบาง ๆ หรื ออาจทดสอบบริ เวณท้องแขนก็ได้ ทิ้งไว้
ประมาณ 24 - 48 ชัว่ โมง ถ้าแพ้เครื่ องสาอางจะเกิดปฏิกิริยาการแพ้ข้ ึนตรง
บริ เ วณที่ ท ดสอบ เช่ น เกิ ด ผื่ น แดง หรื อ มี ตุ่ ม เล็ ก ๆ เกิ ด ขึ้ น ควรงดใช้
เครื่ องสาอางนั้นทันที รวมทั้งงดใช้เครื่ องสาอางอื่น ๆ จนกว่าอาการแพ้จะ
หายจึงอาจเปลี่ยนมาใช้เครื่ องสาอางของบริ ษทั อื่นต่อไป