16. อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง

Download Report

Transcript 16. อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง

อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
แนวคิด
โครงการอาหารปลอดภัยเชียงใหม่
ระดับบุคคล ครอบครัว
• ให้ ความสาคัญต่อการผลิตเพื่อ
1. “ก่อนจะพึง่ ตนเองได้ ทุกคนต้องมี
บริโภคในครัวเรือนเป็ นอันดับแรก
ความจาเป็ นพื้ นฐาน(จปฐ)
• หากมีเหลือจึงนาไปขาย แต่จะขายใน
เสียก่อน --”
ชุมชน ในตลาดใกล้ บ้านก่อน
• หนึง่ ในนัน้ คือการมีอาหารบริโภค
• การพัฒนาจะเป็ นขั้นตอน โดยมี
อย่างพอเพียง แต่ไม่ฟมเฟื
ุ่ อย
ความระมัดระวังปัญหาการลงทุนที่
• รูจ้ ักขอบเขต ขีดจากัดของตนเอง
เกินกาลัง การขาดประสบการณ์เช่น
ใช้ชีวติ อย่างสมดุล ระมัดระวัง
เรื่องขนส่ง เมื่อพร้ อมแล้ ว จึงจะนา
ปรัชญา ข้อที่ 1 คือความพอประมาณ
ผลิตผลที่เหลือเข้ าสู่ตลาดใหญ่
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
แนวคิด
ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน
2. “ --การดาเนินชีวติ อย่าง
พอประมาณหมายถึงการไม่
เบียดเบียนผูอ้ ื่นเพือ่ ประโยชน์ตน
มีความโปร่งใสในการประกอบ
อาชีพ เอื้ ออาทรต่อกัน อันเป็ น
วัฒนธรรมทีด่ ีงามของเรา--”
ปรัชญา ข้อที่ 1 คือความพอประมาณ
โครงการอาหารปลอดภัยเชียงใหม่
• เน้ นที่การประกอบกิจการที่โปร่งใส
ไม่เห็นแก่ได้ เช่นเจตนาและ/หรือ
ปิ ดบังการผลิต การประกอบหรือการ
จาหน่ายอาหารที่ปนเปื้ อนสารพิษ
• สนับสนุนการสร้ างความมั่นคงให้
สถาบันครอบครัว ชุมชน ด้ วยการดึง
ความมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคน
• ปรับเจตคติให้ บุคคลในทุกภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้ องมีความเอื้ออาทรต่อกัน
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
แนวคิด
ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน
3. “--ประกอบอาชีพอย่างมี
ความสุข ยึดความประหยัด เช่น
เกษตรกรไม่ใช้สารเคมีใน
การเกษตร ผูผ้ ลิตอาหารไม่ใช้
สารพิษในการปรุงอาหาร ทาให้
ลดต้นทุนและยังมีอาหารที่
ปลอดภัยไว้จาหน่ายด้วย”
ปรัชญาข้อที่ 2 คือความมีเหตุผล
ความรอบคอบ
โครงการอาหารปลอดภัยเชียงใหม่
• ให้ ความสาคัญต่อการผลิตผัก
ผลไม้ ปลอดสารพิษ อาหารถึง
ผู้บริโภคที่ไม่มีสารพิษตกค้ าง และ
เกษตรอินทรีย์
• เน้ นการเข้ าถึงด้ วยระบบการ
สื่อสารข้ อมูล การแก้ ปัญหาของ
การผลิต การบริโภค การกระจาย
ฯลฯ ด้ วยวิธกี ารที่ไม่ต้องพึ่งพา
เทคโนโลยีข้นั สูง
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
แนวคิด
ระดับชุมชน ท้องถิ่น
4. “– เนือ่ งจากเราอยูท่ ่ามกลางยุค
โลกาภิวัฒน์ เราต้องระมัดระวังใน
การใช้เทคนิควิชาการ ระวังความ
ไม่สมดุลของการพัฒนาด้านต่างๆ
เช่นเศรษฐกิจ สังคมทีจ่ ะส่งผลร้าย
ในภายหลัง--”
ปรัชญาข้อที่ 2 คือ ความมีเหตุผล
รอบคอบ
โครงการอาหารปลอดภัยเชียงใหม่
• เน้นการแก้ปัญหาการผลิต การ
บริโภค การกระจาย ฯลฯ ด้วย
วิธีการที่ไม่ตอ้ งพึง่ พาเทคโนโลยีข้ นั
สูง
• ให้ความสาคัญต่อความร่วมมือของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการ
พัฒนาด้านสังคมเศรษฐกิจอื่นๆ
ควบคู่กนั ไป
• กาหนดให้มีมาตรฐาน ข้อบัญญัติ
ท้องถิน่ เรื่องอาหารปลอดภัย
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
โครงการอาหารปลอดภัย
แนวคิด
• เน้ นการเข้ าถึงทุกครอบครัวด้ วย
ระดับชุมชน ท้องถิ่น
ระบบการสื่อสารสาธารณะ ให้ ข้อมูล
5. “– สร้างภูมคิ ุม้ กันจากผลลบจาก
ที่ถูกต้ องเกี่ยวกับเรื่องของอาหาร
กระแสการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์
และโภชนาการ เพื่อสร้ างภูมิค้ ุมกัน
ทีต่ อ้ งการการลงทุน การแข่งขัน
จากกระแสการโฆษณา การยั่วยุให้
จากระบบเศรษฐกิจทีข่ ับเคลือ่ น
บริโภคโดยไม่จาเป็ นหรือเป็ นพิษภัย
ด้วยปั จจัยภายนอก ทาให้
ความสามารถพึง่ พาตนเองลดลง-- • สร้ างแหล่งอาหารปลอดสารพิษที่ทุก
คนเข้ าถึงได้ ง่าย ให้ ครอบคลุม
”
กว้ างขวาง
ปรัชญาข้อที่ 3 ป้องกันตนเองจาก
สภาวะแวดล้อมทีเ่ ป็ นพิษภัย
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
แนวคิด
ระดับชุมชน ท้องถิ่น
6. “– ชุมชนต้องตัดสินใจร่วมกันใน
กิจการของชุมชน เรียนรูร้ ่วมกัน
พัฒนาเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับ
สภาพท้องถิ่น - ”
ปรัชญา ข้อที่ 2 คือความมีเหตุผล
โครงการอาหารปลอดภัย
• มีจุดหมายปลายทางที่ชุมชนมี
โครงการเรื่องอาหารปลอดภัยที่
ร่วมกันคิดร่วมกันทา
• มีการรวมพลังกันเป็ นกลุ่มเพื่อทา
การผลิต การตลาด การจัดการให้
ผู้บริโภคได้ รับอาหารที่ปลอดภัย
• ภาคีทุกภาคส่วนร่วมมือกัน
สนับสนุนโครงการชุมชนภายใต้
โครงสร้ างของแผนที่ยุทธศาสตร์
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
แนวคิด
ระดับชุมชน ท้องถิ่น
7. “– ต้องวางแผนให้รอบคอบ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติเพือ่ ให้
คงสภาพทีด่ ีตลอดไป สร้างระบบ
การศึกษาให้ตอบสนองปั ญหาของ
ท้องถิ่นด้วยการวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรม - ”
ปรัชญา ข้อที่ 2 คือความมีเหตุผล
โครงการอาหารปลอดภัย
• เน้ นการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ อัน
เป็ นการอนุรักษ์ดินและสภาวะ
แวดล้ อมที่ปลอดจากสารพิษ
• มีการถอดบทเรียนจากการพัฒนา
โครงการเพื่อการปรับปรุงกลยุทธ์
และการสร้ างนวัตกรรม
• นาประสบการณ์จากโครงการที่ผ่าน
มาสร้ างศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ชุมชน
เพื่อแลกเปลี่ยนกับชุมชนอื่นๆ
อาหารปลอดภัยกับปรัชญาแห่งความพอเพียง
(ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั )
• โดยสรุป ปรัชญาแห่งความพอเพียงคือการปฏิเสธคากล่าวทีเ่ รา
เคยเชื่อกันว่า “งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข”
• ปรัชญาแห่งความพอเพียงคือ “ทางสายกลาง” ในการดารงชีวิต
• ปรัชญาแห่งความพอเพียงสามารถนามาใช้เป็ นแนวทางในการ
วางโครงการอาหารปลอดภัยได้
สวัสดี