ฉลากอาหาร • อาหารตามคานิยามตามกฎหมายมาตรา 4 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.• อาหาร หมายถึง ขอกินหรือเครื่องคา้ จุนชีวิตได้แก่ (1) วัตถุทกุ ชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธ์ ิ ต่อจิตและประสาน หรือยาเสพติดให้โทษ.

Download Report

Transcript ฉลากอาหาร • อาหารตามคานิยามตามกฎหมายมาตรา 4 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.• อาหาร หมายถึง ขอกินหรือเครื่องคา้ จุนชีวิตได้แก่ (1) วัตถุทกุ ชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธ์ ิ ต่อจิตและประสาน หรือยาเสพติดให้โทษ.

ฉลากอาหาร
• อาหารตามคานิยามตามกฎหมายมาตรา 4 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.
2522
• อาหาร หมายถึง ขอกินหรือเครื่องคา้ จุนชีวิตได้แก่
(1) วัตถุทกุ ชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ
หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธ์ ิ ต่อจิตและประสาน
หรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้ แล้วแต่กรณี
(2) วัตถุที่ม่งุ หมายสาหรับใช้หรือใช้เป็ นส่วนผสมในการผลิตอาหาร
รวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สีและ เครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส
ฉลากอาหารและการเลือกซื้อ
•
•
•
•
ประเภทของอาหารทีต่ อ้ งมีฉลาก
ความรูท้ วไปเกี
ั่
ย่ วกับฉลากอาหาร
หลักในการพิจารณาฉลากอาหารและตัวอย่างฉลาก
ข้อพิจารณาในการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์อาหาร
ประเภทของอาหาร ที่แบ่งตาม
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522
แบ่งเป็ น 4 ประเภทคือ




อาหารควบคุมเฉพาะ
อาหารทีก่ าหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน
อาหารทีต่ อ้ งมีฉลาก
อาหารทัวไปอื
่ ่นๆ
1. อาหารควบคุมเฉพาะ
ได้แก่อาหารทีก่ ระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดคุณภาพ
และมาตรฐานไว้ ผูท้ จ่ี ะผลิตหรือนาเข้า จะต้องขอขึน้ ทะเบียน
ตารับอาหารหรือขออนุ ญาตใช้ฉลากอาหาร จากสานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา ซึง่ จะต้องมีเลข อย. แสดงบน
ฉลาก
ซึ่งแสดงว่าได้รบั การพิจารณาเห็นชอบจาก
คณะกรรมการอาหารและยาแล้ว
ปจั จุบนั มีอาหารที่ถูก
กาหนดให้เป็ นอาหารเฉพาะจานวนทัง้ สิน้ 15 ประเภท เช่น
วัตถุท่ใี ช้ปรุงแต่งรสอาหาร,สีผสมอาหาร,ผลิตภัณฑ์นม เป็ น
ต้น
2. อาหารที่กาหนดคุณภาพหรือ
มาตรฐาน
หมายถึงอาหารทีก่ ระทรวงสาธารณสุข กาหนด
คุณภาพหรือมาตรฐาน โดยผูผ้ ลิตหรือนาเข้า ไม่ตอ้ ง
ขอขึน้ ทะเบียนตารับอาหาร แต่ตอ้ งขออนุ ญาตใช้
ฉลากอาหารจากทางสานักงานอาหารและยา ซึ่ง
จะต้อ ง มีเ ลข อย. แสดงอยู่บ นฉลากของอาหารที่
ได้รบั อนุ ญาตใช้ฉลากอาหารแล้วเช่น ช็อกโกแล็ต
ชาสมุนไพร ชา กาแฟ น้ ามันถัวเหลื
่ อง เป็ น
ต้น
3.อาหารที่ต้องมีฉลาก
คืออาหารทีก่ ระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้ใช้เป็ น
อาหารทีต่ อ้ งมีฉลากตามข้อกาหนดนัน้ ๆ อาหารทีต่ อ้ งมี
ฉลากซึง่ ขณะนี้มที งั ้ หมด 10 รายการ
เช่น อาหารสาเร็จรูปทีพ่ ร้อมบริโภคทันที
อาหารพร้อมปรุง ขนมปงั ลูกอม หมากฝรัง่
ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ เครือ่ งปรุงรส เป็ นต้น
อาหารกลุ่มนี้จะต้องแสดงรายละเอียดบนฉลาก
ดังนี้
4.อาหารทัวไปอื
่
่นๆ
จะไม่มกี ารแสดงเครื่องหมาย อย. สาหรับ
ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตในประเทศ เช่น แป้งมันสาปะหลัง แป้ง
สาลี ข้าวสาร เห็ดหอมแห้ง ผักสด และผลไม้สด เป็ น
ต้น
ฉลากอาหาร
สิ่งที่ผบ้ ู ริโภคควรพิจารณาฉลาก ก่อนการเลือกซื้อ ที่สาคัญ ได้แก่
1. ชื่อของอาหาร ( โดยมีชื่อภาษาไทยอย่างชัดเจน อาจมีภาษาอังกฤษควบคู่ด้วย แต่ต้อง
แปลแล้วมีความหมายเดียวกับภาษาไทยที่เป็ นชื่อ )
2. เลขทะเบียนตารับอาหาร สาหรับอาหารที่ต้องขึน้ ทะเบียน หรือเลขที่อนุญาตให้ใช้ฉลาก
อาหาร ที่ได้รบั อนุญาตแล้วจาก อย. หรือ สสจ. มี 13 หลัก
3. ชื่อและที่ตงั ้ ของผูผ้ ลิตหรือแบ่งบรรจุเพื่อการจาหน่ าย ( หรือการนาเข้า ) อย่างชัดเจน
4. ปริมาณของอาหารเป็ นน้าหนักสุทธิหรือปริมาณสุทธิเป็ นระบบเมตริกเช่น กรัม ,
มิลลิลิตร
5. ส่วนประกอบที่สาคัญเป็ นร้อยละหรือ เปอร์เซ็นต์โดยน้าหนัก โดยประมาณเรียงลาดับ
จากมากไปหาน้ อย
6. การแสดงวัน เดือน ปี ที่ผลิต หรือวันเดือนปี ที่หมดอายุ หรือวันเดือนปี ที่ อาหารยังมี
คุณภาพหรือมาตรฐานดี โดยมีข้อความว่า ผลิต หมดอายุ หรือควรบริโภค ผูผ้ ลิตบางครัง้
ระบุวนั ผลิตเป็ นภาษาอังกฤษเช่น MFD.( manufacturing date ) และ โดยวันหมดอายุจะ
ระบุเป็ น EXP. ( Expire date )
9
รายละเอียดบนฉลากอาหาร
–ชือ่ อาหาร
–สถานทีผ่ ลิตหรือนาสังอาหาร
่
–ส่วนประกอบทีส่ าคัญโดยประมาณ
–ส่วนประกอบเพิม่ เติม (ถ้ามี)
–ปริมาตรหรือปริมาณสุทธิ เป็ นระบบเมตริก
–เลข อย. หรือ เลขสารบบอาหาร จานวน 13 หลัก
–วัน เดือน ปี ทีผ่ ลิต หรือ หมดอายุ หรือควรบริโภคก่อน
ส่ วนประกอบฉลากอืน่ ๆ “ถ้ ามี” จึงจะแสดงบนฉลากได้ แก่
1. คาแนะนาในการเก็บรักษา
2. วิธีการปรุงเพื่อการรับประทาน
3. ใช้วตั ถุกน
ั เสีย
4. เจือสีธรรมชาติหรือเจือสีสงั เคราะห์
5. ใช้วตั ถุปรุงแต่งรสอาหารและระบุชนิดด้วย
6. แต่งกลิ่น ธรรมชาติ แต่งกลิ่นสังเคราะห์
หรือแต่งกลิ่นเลียนธรรมชาติแล้วแต่กรณี
7. ฉลากโภชนาการ
11
11-1-01523-1-0008
12
ตัวอย่างฉลากอาหาร
13
ตัวอย่างฉลากอาหาร
ส่ วนประกอบ
วันผลิต
ฉลากโภชนาการ
ชื่ออาหาร
วันหมดอายุ
ผู้ผลิต
ผู้นาเข้ า
เลขสารบบ
ปริมาณสุ ทธิ
14
อาหาร กับ โภชนาการ
• อาหาร หมายความว่า ของกินหรือเครื่องคา้ จุนชีวิต ได้แก่ วัตถุ
ทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเข้าสู่ร่างกายไม่วา่ ด้วยวิธีใด ๆ
หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธ์ ิ ตอ่ จิตและ
ประสาท หรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้
• โภชนาการ หมายถึง ความต้องการของสารอาหาร การ
เปลี่ยนแปลงของอาหารในร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องการ
สารอาหารเพื่อใช้ในการดารงชีวิต
16
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 1 เนื้ อสัตว์ต่างๆ ไข่ ถัวเมล็
่ ดแห้ง นมนม เป็ นแหล่งโปรตีนที่
ดีสามารถนาไปเสริมสร้าง ร่างกายให้เจริญเติบโตและ
ซ่อมแซมเนื้ อเยื่อที่เสื่อมให้อยู่ในสภาพปกติ
17
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ ง น้าตาล หัวเผือก มันมีสารอาหารคาร์โบไฮเดรต
เป็ นแหล่งอาหารสาคัญที่ให้พลังงาน ผลิตภัณฑ์จากข้าว
และธัญพืชอื่น ที่ให้พลังงานเช่นเดียวกับข้าว ได้แก่
ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน บะหมี่ วุ้นเส้น ไม่ควรกินมากเกินความ
ต้องการเพราะจะทาให้เกิดโรคอ้วน
18
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 3 ผักใบเขียวและพืชผักอื่นๆ อาหารหมู่นี้ จะให้วิตามินและ
เกลือแร่แก่ร่างกาย ช่วยเสริมสร้างทาให้ร่างกายแข็งแรงมี
แรงต้านทานเชื้อโรคและช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทางานได้
อย่างเป็ นปกติ
19
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 4 ผลไม้ต่างๆ ผลไม้ต่างๆ จะให้วิตามินและเกลือแร่ ช่วยทา
ให้ร่างกายแข็งแรงมีแรงต้านทานโรคและมีกากอาหาร
ช่วยทาให้การขับถ่ายของลาไส้เป็ นปกติ
20
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 5 ไขมันจากสัตว์และพืชไขมันและน้ามัน จะให้สารอาหาร
ประเภทไขมันมาก จะให้พลังงานแก่ร่างกาย ทาให้ร่างกาย
เจริญเติบโตร่างกายจะสะสมพลังงานที่ได้ไว้ใต้ผิวหนังตาม
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ไขมันที่สะสมไว้เหล่านี้ จะให้
ความอบอุ่นแก่ร่างกายและให้พลังงานที่สะสมไว้ใช้ในเวลา
ที่จาเป็ นระยะยาว
21
ฉลากโภชนาการแบบ
ฉลากโภชนาการ
ส่วนที่ 1 หนึ่ งหน่ วยบริ โภคจานวนหน่ วยบริโภค
เต็ม ม
แบบเต็
ส่วนที่ 2
คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ งหน่ วยบริโภค:
สารอาหารหลัก
ส่วนที่ 3
คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ งหน่ วยบริโภค:
วิ ตามิ นและแร่ธาตุ
ฉลากโภชนาการ
แบบเต็ม
ส่วนที่ 4 ข้อมูลความต้องการพลังงานและสารอาหาร
ส่วนที่ 5 ข้อมูลการคานวณพลังงาน
22
ฉลากโภชนาการแบบย่อ
23
ฉลากโภชนาการ
24
ฉลากโภชนาการ
25
ฉลากโภชนาการ
26
ประโยชน์ ของฉลากโภชนาการ
เลื อกซื้ ออาหารและเลือกบริโภคให้ เหมาะสมกับความ
ต้ อ งการ หรื อ ภาวะทางโภชนาการของตนได้ เช่ น ผู้ที่ มี
โคเลสเตอรอลสูง ก็เลือกอาหารที่ ระบุว่ามีไขมันอิ่มตัวตา่
หรือ ผูท้ ี่เป็ นโรคไตก็เลือกอาหารมีโซเดียมตา่
1.
2. เปรียบเที ยบเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารชนิดเดียวกัน
โดยเลือกที่มีคณ
ุ ค่าทางโภชนาการที่ดีกว่าได้
27
คุณค่าทางโภชนาการ........
ความแตกต่างที่เลือกได้
28
เครื่ องสำอำง คือ ?
ตำมพระรำชบัญญัติเครื่ องสำอำง พ.ศ. 2535...
เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้เฉพำะกับผิวกำยภำยนอกเท่ำนั้น เช่น ผิว ริ มีี ปำก
ช่องปำก เส้นผม เล็บ อวัยวะเพศส่ วนนอก
ใช้เพื่อควำมสะอำด หรื อเพื่อระงับกลิ่นกำย แต่งกลิ่นหอม
ใช้เพื่อปกป้ องหรื อส่ งเสริ มให้มีสุขภำพที่ดี ดูดี
โดยไม่มีผลต่อโครงสร้ำงหรื อร่ ำงกำยมนุษย์ ไม่สำมำรถบรรเทำ รักษำ
ป้ องกันโรคได้
เครื่ องสำอำง คือ ?
• เช่น
เครื่ องสำอำงมีกี่ประเภท ?
เครื่ องสำอำงทุกชนิด เป็ นเครื่ องสำอำงควบคุม

ผูผ้ ลิตหรื อผูน้ ำเข้ำจะต้องยืน่ สู ตรให้เจ้ำหน้ำที่สสจ.ตรวจสอบก่อน ถ้ำไม่มีสำร
ห้ำมใช้ หรื อเกินมำตรฐำน จึงจะอนุญำตให้ผลิตได้

หำกไม่ได้รับกำรอนุญำต ห้ำมผลิต หรื อนำเข้ำเพื่อขำย

จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรื อปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบำท หรื อทั้งจำทั้งปรับ
กำรเลือกซื้อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
เลือกซื้อจำกร้ำนที่มีหลักแหล่งแน่นอน เชื่อถือได้
กำรเลือกซื้อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
เลือกซื้อเครื่ องสำอำงที่มีฉลำกภำษำไทย ที่ระบุ
ชื่อเครื่ องสำอำง
ชื่อกำรค้ำ ยีห่ อ้
ประเภทเครื่ องสำอำง
ส่ วนประกอบ
ชื่อและที่ต้งั ผูผ้ ลิต
เดือนปี ที่ผลิต
วิธีใช้
เลขที่ผลิต
คำเตือน (ถ้ำมี)
กำรเลือกซื้ อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
ปฏิบตั ิตำมวิธีใช้ และใช้ดว้ ยควำมระมัดระวังตำมคำเตือนที่ระบุในฉลำก
กำรเลือกซื้อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
หำกใช้เครื่ องสำอำงชนิดใดเป็ นครั้งแรก ผูป้ ระกอบกำรควรทดสอบกำร
แพ้ก่อนใช้ให้แก่ลูกค้ำ ด้วยกำรทำผลิตภัณฑ์ในปริ มำณเล็กน้อยบริ เวณ
ท้องแขน แล้วทิ้งไว้ 24-48 ชัว่ โมง หำกไม่มีควำมผิดปกติใดๆเกิดขึ้น
แสดงว่ำน่ำจะใช้ได้
กำรเลือกซื้อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
หำกลูกค้ำมีควำมผิดปกติเกิดขึ้น (ไม่วำ่ จะเป็ นครั้งแรก หรื อใช้มำระยะ
หนึ่งแล้วก็ตำม) ต้องหยุดใช้ทนั ที ถ้ำหยุดใช้แล้วอำกำรยังไม่ดีข้ ึน ควร
แนะนำให้ปรึ กษำแพทย์หรื อเภสัชกร เพื่อค้นหำสำเหตุ และทำกำรรักษำ
ต่อไป
กำรเลือกซื้อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
ถ้ำมีประวัติเคยแพ้สำรใดมำก่อน เวลำเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ควรตรวจสอบ
ว่ำมีสำรนั้นเป็ นส่ วนผสมหรื อไม่ หำกมี ควรหลีกเลี่ยง
กำรเลือกซื้อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
เมื่อใช้เครื่ องสำอำงเสร็ จแล้ว ควรปิ ดีำให้สนิทเพื่อป้ องกันกำรปนเปื้ อน
จำกีุ่ นละออง สิ่ งสกปรก หรื อเชื้อโรคต่ำงๆ
กำรเลือกซื้อเครื่ องสำอำงเพื่อใช้ภำยในร้ำน
ต้องตรวจสอบอะไรบ้ำง ?
เก็บเครื่ องสำอำงไว้ในที่แห้งและเย็น อย่ำเก็บในที่ร้อนหรื อแสงแดดส่ อง
ถึง เพรำะจะเสื่ อมคุณภำพเร็ วกว่ำปกติ
ยา คือ ?
ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
1. วัตถุที่รบั รองไว้ในตารายาที่รฐั มนตรีประกาศ
2. วัตถุที่ม่งุ หมายสาหรับใช้ในการวินิจฉัย บาบัด บรรเทา รักษา หรือ
ป้ องกันโรค หรือความเจ็บป่ วยของมนุษย์หรือสัตว์
3. วัตถุที่เป็ นเภสัชเคมีภณ
ั ฑ์หรือเภสัชเคมีภณ
ั ฑ์กึ่งสาเร็จรูป
4. วัตถุที่ม่งุ หมายสาหรับให้เกิดผลแก่สขุ ภาพ โครงสร้างหรือการกระทา
หน้ าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
5. วัตถุตาม 1, 2, 4 ไม่หมายรวมถึงวัตถุที่ใช้ในการเกษตร อุตสาหกรรม
ไม่รวมถึงอาหาร เครื่องกีฬา เครื่องสาอาง ฯลฯ
41
ฉลากยา
มาตรา 25 และมาตรา 57 ตามพรบ. ยา 2510 กาหนดให้ผผ้ ู ลิตยาแสดง
ฉลากยาอันมีข้อความดังต่อไปนี้
(1) ชื่อยา
(2) เลขที่หรือรหัสใบสาคัญการขึน้ ทะเบียนตารับยา
(3) ปริมาณของตัวยาที่บรรจุ
(4) ชื่อและปริมาณ หรือความแรงของสารออกฤทธ์ ิ
(5) เลขที่หรืออักษรแสดงครัง้ ที่ผลิตหรือวิเคราะห์ยา
(6) ชื่อผูผ้ ลิตยา และจังหวัดที่ตงั ้ สถานที่ผลิตยา
(7) วันเดือนปี ที่ผลิตยา
42
ฉลากยา (ต่อ)
(8) คาว่า “ยาอันตราย” “ยาควบคุมพิเศษ” “ยาใช้ภายนอก” หรือ “ยาใช้
เฉพาะที่” แล้วแต่กรณี ด้วยตัวอักษรสีแดงเห็นได้ชดั เจน
(9) คาว่า “ยาสามัญประจาบ้าน” ในกรณี ที่เป็ นยาสามัญประจาบ้าน
(10) คาว่า “ยาสาหรับสัตว์” ในกรณี เป็ นยาสาหรับสัตว์
(11) เดือน ปี ที่ผลิต หรือ ปี เดือน ที่ผลิต
(12) คาว่า “ยาสิ้นอายุ” และแสดงวันเดือนปี ที่ยาสิ้นอายุในกรณี เป็ นยาที่
รัฐมนตรีประกาศตามมาตรา 76 (7) หรือ (8)
(13) ใช้ฉลากและเอกสารกากับยาตามที่ได้ขึน้ ทะเบียนตารับยาไว้และ
ข้อความในฉลากและเอกสารกากับยาต้องอ่านได้ชดั เจน เอกสารกากับยา
ถ้าเป็ นภาษาต่างประเทศต้องมีคาแปลเป็ นภาษาไทยด้วย
43
สิ่ งทีอ
่ านได
จากฉลากยา
่
้
ชือ
่ ยา : เพพเพอรมิ
์ นท ์ ฟิ ลด ์
บาลม
๊
์ สติก
เลขทีเ่ บียนยา : G1189/47
เป็ นยาแผนโบราณ
น้าหนักสุทธิ 6 กรัม
ผลิตโดย :เบอรแทรบเคมิ
คอล
์
(1982)
สรรพคุณและวิธใี ช้..................
เป็ นยาใช้ภายนอก
เป็ นยาสามัญประจาบาน
้
44
45