ประชุม 10 ตค.2556 - โรง พยาบาล ส่งเสริม สุขภาพ ตำบล บัว โคก

Download Report

Transcript ประชุม 10 ตค.2556 - โรง พยาบาล ส่งเสริม สุขภาพ ตำบล บัว โคก

โรคฉี่หนู
การติดต่ อของโรคฉี่หนู
• โดยจะติดต่อกันโดยการสัมผัส เช่น ปัสสาวะ เลือด เนื้อเยือ่ ของสัตว์ที่มี
การติดเชื้อโดยตรง หรื อสัมผัสกับสิ่ งแวดล้อมที่มีการปนเปื้ อนเชื้อโรค
และจะติดต่อจากคนสู่คนได้นอ้ ยมาก โดยเชื้อโรคสามารถเข้าสู่ ร่างกาย
ได้โดย
• - การหายใจเอาไอละอองของปัสสาวะ หรื อ ของเหลวที่ปนเปื้ อนเชื้อ
เข้าไปผ่านเข้าทางเยือ่ เมือก เยือ่ บุต่าง ๆ เช่น ตา และปาก
• - ชอนไชเข้าทางผิวหนังปกติที่เปี ยกชุ่มจากการแช่น้ านาน ๆ เช่น ใน
สภาวะน้ าท่วม
• ระยะฟักตัวของโรคฉี่หนูใช้เวลา 1-2 สัปดาห์ แต่อาจนานได้ถึง 3
สัปดาห์ ซึ่งอาการส่ วนใหญ่จะหายไปภายใน 1 สัปดาห์แรก และ
หลังจากนั้นอีก 1-3 วัน จะเข้าสู่ระยะที่สอง คือ ระยะมีเชื้อในปัสสาวะ
อาการของโรคฉี่หนู มี 2 แบบ คือ
• 1.แบบติดเชื้อไม่ รุนแรง หรือ แบบไม่ เหลือง คือกลุ่มที่ไม่มีอาการตัว
เหลือง ตาเหลือง แบ่งออกเป็ น 2 ระยะ คือ
• อาการแสดงทีอ่ าจตรวจพบ ได้แก่ มีเยือ่ บุตาแดง ต่อมน้ าเหลืองโต
คอแดง กดเจ็บบริ เวณกล้ามเนื้อ ตับม้ามโต อาจพบอาการดีซ่านได้
เล็กน้อย มีจ้ าเลือดตามผิวหนัง บางรายมีผนื่ ตามตัว ซึ่งอาการในระยะนี้
จะหายไปได้เองภายใน 1 สัปดาห์ และจะไม่มีอาการอยูช่ ่วงหนึ่งนาน 13 วัน
อาการดีซ่านร่ วมกับเยือ่ บุตาแดง
• 2.แบบติดเชื้อรุนแรง (severe leptospirosis) หรือแบบที่มี
อาการเหลือง
• มีอาการเพ้อ ไม่ รู้สึกตัว หากเชื้อเข้ าไปอยู่ในสมอง
• หากเชื้ออยู่ในท่ อไต จะทาให้ ไตวายเฉียบพลันได้
• เกิดผืน่ เช่ น ลมพิษ ผืน่ แดง
• กล้ามเนือ้ ทีน่ ่ องกดเจ็บอย่ างรุนแรง
• มีอาการดีซ่าน คือ ผิวหนังจะมีสีเหลืองมาก ตับโต ประมาณ 20% ของผู้
ติดเชื้อมีอาการม้ ามโตร่ วมด้ วย
• มีอาการทางปอด คือ ไอ มีเสมหะปนเลือด เจ็บหน้ าอก หอบเหนื่อย
จนถึงระบบหายใจล้มเหลว
มีอาการดีซ่าน คือ ผิวหนังจะมีสีเหลืองมาก
• การป้องกัน โรคฉี่หนู
• 1. กำจัดหนูในบริเวณสถำนที่อยูอ่ ำศัย
• 2.หลีกเลีย่ งกำรสัมผัสกับสัตว์ที่เป็ นพำหะของโรคฉี่หนู รวมทังกำรสั
้
มผัส
ปั สสำวะโค กระบือ หนู สุกร
• 3.หลีกเลี่ยงกำรทำงำนในน ้ำ หรื อต้ องลุยน ้ำ ลุยโคลนเป็ นเวลำนำน ๆ
• 4.หลีกเลียงกำรว่ำยน ้ำที่อำจจะมีเชื ้อโรคปนเปื อ้ นอยู่
• 5.ไม่ใช้ น ้ำ จำกแหล่งที่ต้องสงสัยว่ำอำจปนเปื อ้ นเชื ้อโรค
• 7. ควรสวมชุดป้องกัน เช่น รองเท้ ำบูท ถุงมือ ถุงเท้ ำ เสื ้อผ้ ำ ให้ เรี ยบร้ อย
• 8. ทำควำมสะอำดร่ำงกำยโดยเร็ว หำกเดินลงไปในแหล่งน ้ำที่สงสัยว่ำ
อำจปนเปื อ้ นเชื ้อ
โรคตาแดง (Conjunctivitis)
• มักระบาดในฤดูฝน หรื อในช่วงที่มีน้ าท่วม ก็คือ โรคตาแดง นัน่ เอง ซึ่ง
เกิดจากเชื้อไวรัสที่อยูใ่ นน้ าสกปรกกระเด็นเข้าตา และติดต่อแพร่ ระบาด
ผ่านกันได้อย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก ๆ
•
•
•
•
•
• สาเหตุ
1.การคลุกคลีใกล้ชิด หรื อสัมผัสกับผูป้ ่ วยโรคตาแดง ซึ่งเป็ นสาเหตุส่วน
ใหญ่ที่ทาให้เกิดการติดต่อ โรคตาแดง จากการสัมผัสน้ าตาของผูป้ ่ วยที่
ติดมากับนิ้วมือ และแพร่ จากนิ้วมือมาติดที่ตาโดยตรง
2.ใช้เสื้ อผ้า หรื อสิ่ งของร่ วมกับผูป้ ่ วย
3.ฝุ่ นละออง หรื อน้ าสกปรกเข้าตา
4.แมงหวี่ หรื อแมลงวันตอมตา
5.ไม่รักษาความสะอาดของร่ างกาย โดยเฉพาะมือและใบหน้า
• ทังนี
้ ้ โรคตำแดง จะไม่ติดต่อทำงกำรสบสำยตำ ทำงอำกำศ หรื อ
รับประทำนอำหำรร่วมกัน และอำกำรต่ำง ๆ จะเกิดได้ ภำยใน 1-2 วัน
และระยะกำรติดต่อไปยังผู้อื่นประมำณ 14 วัน
อาการของ โรคตาแดง
• ผู้ที่ได้ รับเชื ้อไวรัส จะมีอำกำรตำแดง เคืองตำ ตำขำวจะมีสีแดงเรื่ อ ๆ
เพรำะมีเลือดออกที่เยื่อบุตำขำว น ้ำตำไหลเจ็บตำ มักจะมีขี ้ตำมำกร่วม
ด้ วย โดยอำจเป็ นเมือกใสหรื อสีเหลืองอ่อน จำกกำรติดเชื ้อแบคทีเรี ย
มำพร้ อมกัน ต่อมน ้ำเหลืองหลังหูมกั เจ็บและบวม มักเป็ นที่ตำข้ ำงใด
ข้ ำงหนึง่ ก่อน แล้ วจะติดต่อมำยังตำอีกข้ ำงได้ ภำยใน 1-2 วัน ถ้ ำไม่
ระวังให้ ดี ถ้ ำระมัดระวังไม่ให้ น ้ำตำมข้ ำงทำง ที่ติดเชื ้อไวรัสมำถูกตำ
ข้ ำงที่ดีจะไม่เป็ นตำแดง แต่สว่ นใหญ่มกั เป็ นไปอีกข้ ำงอย่ำงรวดเร็ว
นอกจำกนี ้บำงรำยอำจมีตำดำอักเสบ ทำให้ เคืองตำมำก และมีแผลที่ตำ
ดำชัว่ ครำวได้
อาการ
• การรักษา โรคตาแดง
• ถ้ามีข้ ีตามากก็หยอดยาปฎิชีวนะ
การรักษา(ต่อ)
• รักษำสุขภำพพักผ่อนมำก ๆ โดยเฉพำะในช่วงที่มีอำกำรตำแดงอย่ำง
รุนแรง ไม่จำเป็ นต้ องปิ ดตำไว้ ตลอด ยกเว้ นมีกระจกตำอักเสบ เคืองตำ
มำก จึงปิ ดตำเป็ นครัง้ ครำว และควรสวมแว่นกันแดดเพื่อป้องกันแสง
• ควรงดกำรใช้ ผ้ำเช็ดหน้ ำร่วมกัน ทุกครัง้ ที่จบั ตำควรล้ ำงมือให้ สะอำด
ผู้ป่วยไม่ควรลงเล่นน ้ำในสระ จะแพร่กระจำยเชื ้อไวรัสไปในน ้ำได้
• หำกรักษำด้ วยยำป้ำยตำ หรื อยำหยอดตำนำนเกิน 7 วัน แล้ วอำกำรยัง
ไม่ทเุ ลำ หรื อมีอำกำรอื่นร่วม เช่น ปวดตำมำก ตำมัว ขี ้ตำเป็ นหนอง ลืม
ตำไม่ขึ ้น มีไข้ สงู ควรรี บปรึกษำแพทย์ทนั ที เพรำะหำกทิ ้งไว้ นำนถึงขัน้
ตำบอดได้
•
•
•
•
• การป้องกัน โรคตาแดง
1.หมัน่ ล้ ำงมือด้ วยน ้ำและสบูใ่ ห้ สะอำดอยูเ่ สมอ
2.ไม่คลุกคลีใกล้ ชิด หรื อใช้ สงิ่ ของร่วมกับผู้ป่วย
3.ถ้ ำมีฝนละออง
ุ่
หรื อน ้ำสกปรกเข้ ำตำ ควรล้ ำงตำด้ วยน ้ำ
สะอำดทันที
4.อย่ำปล่อยให้ แมลงหวี่ หรื อแมลงวันตอมตำ
• 5.หมัน่ ดูแลรักษำควำมสะอำดของร่ำงกำย สิ่งของเครื่ องใช้ ต่ำง ๆ เช่น
เสื ้อผ้ ำ ผ้ ำเช็ดตัว ผ้ ำปูที่นอน ปลอกหมอน ให้ สะอำดอยูเ่ สมอ
• 6.ไม่ใช้ สงิ่ ของร่วมกับผู้อื่น เช่น ผ้ ำเช็ดหน้ ำ ปลอกหมอน เพื่อป้องกัน
กำรกระจำยของโรค
• 7. หลีกเลี่ยงกำรใช้ มือแคะ แกะ เกำหน้ ำตำ
•
ทังนี
้ ้หำกมีอำกำรตำแดง ควรรี บพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยสำเหตุของ
กำรเกิดอำกำรตำแดง ซึง่ นอกจำกจะเกิดจำกเชื ้อไวรัสแล้ ว อำจเกิดจำก
สำรเคมี หรื อรังสี โดยเฉพำะรังสีอลุ ตรำไวโอเลตได้
โรคน้ากัดเท้ า
• โรคน ้ำกัดเท้ ำเป็ นโรคผิวหนังชนิดหนึง่ มักพบในคนที่ต้องลุยน ้ำและแช่
น ้ำเป็ นเวลำนำน บริเวณเท้ ำจึงมีควำมชื ้นอยูต่ ลอดเวลำ ทำให้ เกิด
อำกำรเท้ ำเปื่ อย ลอก คัน และแสบ และอำจมีโอกำสติดเชื ้อแบคทีเรี ย
และเชื ้อรำตำมมำได้
•
อาการของโรคน้ากัดเท้ า
• อำกำรของโรคน ้ำกัดเท้ ำแบ่งออกเป็ น 2 ระยะ ได้ แก่
•ระยะแรก ผิวหนังบริเวณเท้ ำจะมีลกั ษณะเปื่ อย แดง ลอกเนื่องจำกกำร
ระคำยเคือง โดยยังไม่มีกำรติดเชื ้อ แต่หำกมีอำกำรคันและเกำจนเกิดแผล
ถลอกก็มีโอกำสที่จะติดเชื ้อได้ ง่ำยขึ ้น
•ระยะที่สอง เป็ นระยะที่ผิวหนังเปื่ อยและลอกเป็ นแผล ทำให้ เกิดกำรติด
เชื ้อแบคทีเรี ยหรื อเชื ้อรำ โดยกำรติดเชื ้อแบคทีเรี ยทำให้ เกิดอำกำรอักเสบ
บวมแดง ร้ อน เป็ นหนอง และปวด ส่วนกำรติดเชื ้อรำชนิด
dermatophyte จะทำให้ มีอำกำรคัน ผิวเป็ นขุยและลอกออกเป็ น
แผ่นสีขำว และอำจมีกลิน่ เหม็น โดยเฉพำะตำมซอกเท้ ำ หำกปล่อยไว้ นำน
อำกำรอำจเป็ นเรื อ้ รังและรักษำหำยยำก แม้ อำกำรจะดีขึ ้นแล้ วก็อำจ
กลับมำมีอำกำรใหม่ได้ ถ้ำเท้ ำเปี ยกชื ้นอีก
การป้ องกัน
•หลีกเลี่ยงควำมชื ้น ไม่ใส่รองเท้ ำและถุงเท้ ำที่เปี ยกชื ้นเป็ นเวลำนำน ควร
ซักถุงเท้ ำให้ สะอำดและตำกให้ แห้ งก่อนนำมำใช้ ทกุ ครัง้
•ป้องกันเมื่อลุยน ้ำ สวมรองเท้ ำบูททุกครัง้ ที่ลยุ น ้ำ หำกน ้ำเข้ ำรองเท้ ำให้
หมัน่ เทน ้ำออกเป็ นระยะๆ
การป้ องกัน(ต่ อ)
• •รักษำควำมสะอำด หลังจำกลุยน ้ำให้ รีบล้ ำงเท้ ำให้ สะอำดด้ วยน ้ำและ
สบู่ เช็ดให้ แห้ งโดยเฉพำะบริเวณซอกเท้ ำ และใช้ แป้งฝุ่ นโรยบริเวณเท้ ำ
และซอกเท้ ำเพื่อให้ เท้ ำแห้ งสนิท
การป้ องกัน(ต่ อ)
• •ดูแลแผล หำกมีบำดแผลบริเวณเท้ ำ เช็ดแผลด้ วยแอลกอฮอล์ และใส่
ยำฆ่ำเชื ้อ เช่น โพวิโดนไอโอดีน และหลีกเลี่ยงไม่ให้ แผลสัมผัสกับน ้ำ
สกปรกที่ท่วมขัง
โรคไข้ หวัด
อาการ
• ผู้ใหญ่จะมีอำกำรจำม น ้ำมูกไหลมำก่อน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะเล็กน้ อย
แต่มกั จะไม่คอ่ ยมีไข้ เชื ้อจะออกจำกทำงเดินหำยใจของผู้ป่วย 2-3
ชัว่ โมง และหมดภำยใน 2 สัปดำห์ บำงรำยมีอำกำรปวดหู เยื่อแก้ หมู ี
เลือดคัง่ บำงรำยมีเยื่อบุตำอักเสบ เจ็บคอกลืนลำบำก โรคมักเป็ นไม่
เกิน 2-5 วัน แต่อำจจะมีน ้ำมูกไหลนำนถึง 2 สัปดำห์
• ในเด็กอำจจะรุนแรง และมักจะกลำยเป็ นหลอดลมอักเสบ และปอด
บวม
การติดต่ อ
• จะระบำดในฤดูหนำวเนื่องจำกควำมชื ้นต่ำ และอำกำศเย็น
• สำมำรถติดจำกน ้ำลำย เสมหะของผู้ป่วยที่ปลิวมำกับจำมหรื อไอผ่ำน
ทำงลมหำยใจ
การรักษา
•ไม่มียำรักษำเฉพำะ หำกมีไข้ ก็ให้ ยำลดไข้ Pacetamol ห้ ำมให้
แอสไพรินทร์
•ให้ พกั ผ่อนให้ มำกๆและดื่มน ้ำมำกๆ
•ปิ ดปำกและจมูกเวลำไอ จำม
10 อันดับการเกิดโรค
ในเขต รพ.สต.บัวโคก
ข้อมูลเมือ
่ วันที่ 1 ก.ย. – 10
ต.ค.2556
1
2
3
4
56
J00
M791
R14
R05
R42I10
7
8
9
10
R51
L028
R53
J039
/
299
66
46
35
3534
30
27
22
21
615
ตารางการให้บริการประจาเดือนตุลาคม 2556
• 1.บริการตรวจโรคและรักษาพยาบาลทุกวัน
• วันราชการ
เวลา 08.30 น.-20.30 น.
• วันหยุดราชการ
เวลา 08.30 น.-16.30 น.
• 2.บริการฝากครรภทุ
์ กวันอังคาร
• 3.บริการวางแผนครอบครัวทุกวันพุธ
• 4.บริการแพทยแผนไทย
(ประคบ อบ นวด) ทุกวันพฤหัสบดี
์
• 5.บริการคลีนิคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง
• เดือนนี้ วันที่ 25 ตุลาคม 2556
• 6.บริการฉี ดวัคซีนเด็กแรกเกิด-5 ปี
• เดือนนี้ วันที่ 15 ตุลาคม 2556
• 7.ประชุม อสม. ทุกวันที่ 10 ของทุกเดือน
• 8.บริการพิเศษอืน
่ ๆ
• -15 ตุลาคม 2556 โรงพยาบาลทาตู
นตกรรมเคลือบฟลูออไรด ์
่ มออกให้บริการดานทั
้
เด็ก อายุ 9-12 เดือน