ขับถ่าย

Download Report

Transcript ขับถ่าย

พฤติกรรม
การขับถ่าย
ผศ.นพ. พูลชัย จรัสเจริญวิทยา
สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร
ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
สถานการณ์ ของโรค
ทางเดินอาหาร??
ความชุกของโรค
Functional Bowel Disorders
% (ประชากร = 3120)
40
ในประเทศไทย
37.6
Functional dyspepsia
IBS (โรคลำไสแ
้ ปรปรวน )
23.5
Functional Bloating
้ รงั )
(ท้องอืดเรือ
20
Functional Constipation
(ท้องผูกเรือ
้ ร ัง )
15.20
12.4
Urgency (โรคกลน
ั้ อุจจาระไม่อยู)่
7.4
4.9
0
GERD (โรคกรดไหลย้ อน)
โรคทางเดินอาหาร
Thai Motility Club 2004
Constipation (ท้องผูก)
เกณฑ์ การวินิจฉัยท้ องผูก
การวินิจฉัยโรคต้ องมีเกณฑ์ ดังต่ อไปนีอ้ ย่ างน้ อย 2 ข้ อ นาน 3 เดือนขึน้ ไป
1. ต้ องใช้ แรงเบ่ งอย่ างมากในการขับถ่ ายแต่ ละครั้ง มากกว่ าร้ อยละ 25 ของจานวน
ครั้งในการขับถ่ าย
2. อุจจาระเป็ นก้ อนแข็ง มากกว่ าร้ อยละ 25 ของจานวนครั้งในการขับถ่ าย
3. มีความรู้ สึกเหมือนขับถ่ ายอุจจาระไม่ หมด มากกว่ าร้ อยละ 25 ของจานวนครั้ง
ในการขับถ่ าย
4. มีความรู้ สึกเหมือนทวารหนักอุดตัน มากกว่ าร้ อยละ 25 ของจานวนครั้งในการ
ขับถ่ าย
5. ต้ องใช้ นิว้ ล้ วงเอาอุจจาระออกมา มากกว่ าร้ อยละ 25 ของจานวนครั้งในการ
ขับถ่ าย
6. ขับถ่ ายอุจจาระน้ อยกว่ า 3 ครั้งต่ อสั ปดาห์
ท้องผูก: ความชุกของโรค
• ความชุ กของโรคในประเทศทางตะวันตกมีรายงานตั้งแต่ ร้อยละ 5
ถีง 30 ขึน้ กับเกณฑ์ ในการวินิจฉัยโรค*
• ความชุ ก
– สหรัฐอเมริกา 2%-27%
-
ไทย 23.5%****
– ออสเตเรีย 14%
-
ไต้ หวัน 24.5%**
– สิ งคโปร์ 7.3%***
• ผู้ป่วยส่ วนใหญ่ มีอาการเพียงเล็กน้ อยถึงปานกลางและมักดีขนึ้ เอง
*Candelli M et al. Hepatogastroenterology 2001:48;1050
ACG Task Force 2005;100:S1, **Chen GD et al. Neurourol Urodyn 2003,
Chen LY et al.Singapore Med J 2000, ****Thai Motility Club
ท้องผูก: ความชุกของโรคใน
ประเทศไทย
%
30
26.5%
26.1%
23.5%
21.1%
25
18.4%
20
15
10
5
0
ภาคเหนือ (N= 1000)
ภาคตะวันออกเฉีย งเหนือ
(N=800)
ภาคใต ้ (N=800)
ภาคกลาง (N=26)
รพ.ศิร ริ าช (N=253)
ท้องผูก: ความชุกของโรคในแต่
ละเพศ
%
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0
60%
40%
ชำย (N=787)
หญิง (N=1170)
ท้องผูก: ความชุกของโรคใน
แต่ละช่วงอายุ
%
57.3
60
50
40
30
21.3
19.3
20
10
2.1
0
<20
20-40
40-60
>60
ท้องผูก: ความชุกของโรคในแต่
ละอาชีพ
%
35
30.6
30
25
20
21.3
16.2
12.9
12.2
15
6.6
10
5
0
ร ับรำชกำร
ธุรกิจสว่ นต ัว
ร ับจ้ำ ง
แม่บำ้ น
ไม่ทำงำน
อืน
่ ๆ
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ของผู้ป่วยท้องผูก
%
90
80.9
80
70
60
50
40
30
11.7
20
10
0
6.6
0.8
ม ังสะวิร ัติ
อำหำรทว่ ั ไป
รสไม่จ ัด
รสเผ็ ดจ ัด
สาเหตุของท้ องผูก
1. กินอาหารไม่ มีเส้ นใย ปกติร่างกายต้ องการเส้ นใยวันละ 20-25 กรัม
2. ความเครียด ร่ างกายจะระงับการขับถ่ ายชั่วคราว รอให้ พ้นวิกฤตคลายเครียดแล้ว จึง
จะกินง่ ายถ่ ายคล่อง
3. การกลั้นอุจจาระ เป็ นเพราะอาจไม่ ชอบอุจจาระนอกบ้ านโดยเฉพาะเด็กเล็ก
4. ไม่ ออกกาลังกาย เพราะการออกกาลังกายเป็ นการกระตุ้นกระบวนการบีบตัวของลาไส้
5. รับประทานยาระบายเป็ นประจา ทาให้ ถ้าต้ องการจะอุจจาระต้ องกินยาระบายทุกครั้ง
6. อืน่ ๆ เช่ น รับประทานชา, กาแฟ, ยาเคลือบกระเพาะ, แคลเซียมมากเกินไป, มีโรค
ร้ ายแรงซ่ อนอยู่ เช่ น โรคไม่ มปี มประสาทตรงทวารหนัก โรคมะเร็งลาไส้ เป็ นต้ น
Irritable Bowel Syndrome (IBS)
ไอ บี เอส โรคลำไส้แปรปรวน?? โรคลำไส้หงุดหงิด??
เป็ นโรคของลำไส้ที่ทำงำน
ผิดปกติไป ทำให้เกิดอำกำร
ปวดท้อง หรือ ไม่สบายท้อง
ร่วมกับอำกำร
ท้องเสีย หรือ ท้องผูก หรือ
ท้องเสียสลับกับท้องผูก
โดยตรวจไม่พบควำมผิดปกติ
ทำงพยำธิสภำพ
โรคนีม้ ีอาการอย่ างไร
ครับ..คุณหมอ ?
อาการสาคัญของ ไอ บี เอส
•
•
•
•
•
•
ปวดท้อง ไม่สบายท้อง (เรื้อรัง)
ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ท้องผูก หรือท้องเสีย
ถ่ายอ ุจจาระไม่ส ุด
ถ่ายอ ุจจาระมีมกู
มีอาการเป็นๆ หายๆ
อาการปวดท้อง
• อาการปวดอาจเป็นไม่มากจนถึงเป็นมาก
• ปวดแบบเป็นๆหายๆ
• อาการปวดมักดีข้ ึนเมื่อได้ถ่ายอ ุจจาระ
• บริเวณที่ปวดจะเปลี่ยนไปมา
ไอ บี เอส มี 3 ชนิด ตำมอำกำรเด่น
ท้ องผูก
ท้ องผูกสลับ
ท้ องเสีย
ท้ องเสีย
โรคนีเ้ กิดจากอะไรคะ?
สาเหต ุของการเกิดโรค
การอักเสบของลาไส้ จาก
การติดเชือ้ โรค
ความผิดปกติของระบบ
ประสาทสมองและลาไส้
ปั จจัยทางอารมณ์
ลาไส้ ไวต่ อการกระตุ้น
การเคลื่อนไหวผิดปกติของลาไส้
ไอ บี เอส
แล้ วจะวินิจฉัยโรคนี ้
ได้ อย่ างไรครับ
การวินิจฉัย
• จากประวัติของผูป้ ่ วย
• ตรวจร่างกายเพื่อแยกโรคอื่น
• การสืบค้นเพิ่มเติม เช่น การเจาะเลือด,
การสวนแป้งตรวจลาไส้ หรือ การส่อง
กล้องตรวจลาไส้ ฯลฯ
Barium Enema
การตรวจภาพรังสี ลาไส้ ใหญ่ ด้วยการสวนแป้ ง
Colonoscopy
การส่ องกล้องตรวจลาไส้ ใหญ่
สัญญาณอันตราย
• ถ่ ายอุจจาระเป็ นเลือด
• นา้ หนักลด
• ท้ องเสียติดต่ อกันเป็ นเวลานาน
• ท้ องอืด, ท้ องเสียสลับท้ องผูก เพิ่งเป็ นเร็วนนี ้
• ซีด
• ไข้
อะไรไหมที่จะทา ให้
อาการกาเริบ
ปัจจัยที่อาจทาให้อาการกาเริบ
• ความเครียด
• อาหาร เช่น นม กาแฟ ส ุรา ผลไม้ น้าหวาน
• ยา (ทาให้ทอ้ งผูกหรือท้องเสียได้)
• การอักเสบหรือติดเชื้อ
• การเปลี่ยนแปลงตามฮอร์โมน
ใครบ้ างครับที่จะเป็ น
โรค ไอ บี เอส
อ ุบัติการณ์ของโรค ไอ บี เอส
13%
10%
14%
9%
22%
12%
13%
14%
15%
20%
12%
17%
23%
4%
30%
25%
7%
5%
9%
13%
12%
17%
อ ุบัติการณ์ของโรค ไอ บี เอส
สหรัฐอเมริกาและย ุโรป 10-20%
ญี่ป่ นุ
25%
ประเทศไทย (ดนัย, มณฑิรา และ อานาจ 1988)
@ในชนบท (n=401) 6.5%
@ในเมือง (n=676)
4.6%
อ ุบัติการณ์ของโรค ไอ บี เอส
ผูห้ ญิงเป็นมากกว่าผูช้ าย 2-4 เท่า
ไอ บี เอส พบได้ในท ุกช่วงอาย ุ
พบบ่อยในวัยทางาน ระหว่าง 20-30 ปี จนถึง 60 ปี
หลัง 60 ปีจะพบน้อยลง
อ ุบัติการณ์ของโรค ไอ บี เอส
พบแพทย์ เฉพาะทาง
พบแพทย์ เวชปฎิบัตทิ ่ วั ไป
ไม่ มาพบแพทย์
แล้ วจะรักษาอย่ างไร
ครับ..คุณหมอ ?
แนวทางการรักษา
• การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
ความเครียดส่งผลต่อระบบทางเดินอาหาร
แนวทางการรักษา
• อาหาร
-
ควรรับประทานอาหารมื้อละน้อยๆ
อาหารที่มีไขมันน้อย
ดื่มน้ามากๆ
รับประทานอาหารที่มีเส้นใยพอดีๆ มากไปทาให้
ท้องอืด น้อยไปจะทาให้ทอ้ งผูก
- หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ โคล่า แอลกอฮอล์
- หลีกเลี่ยงอาหารที่ทาให้เกิดอาการ
แนวทางการรักษา
• ยา ขึ้นอยูก่ บั อาการสาคัญ
และเป็นเพียงการบรรเทาอาการ
- อาการปวดท้อง อาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดท้อง,
ยาแก้โรคซึมเศร้า
- อาการท้องเสีย อาจพิจารณาให้ยาแก้ทอ้ งเสีย
- อาการท้องผูก อาจพิจารณาให้ยาที่เพิ่มเส้นใย
ถ้ าไม่ ได้ รับการรักษาจะ
เป็ นอย่ างไรคะ
จะเป็ นมะเร็งหรื อเปล่ า
จะเป็นอย่างไรหากไม่ได้รกั ษา
• ไอ บี เอส ไม่มีอนั ตรายถึงแก่ชีวิต แต่
ผูป้ ่ วยจะมีอาการ เรื้อรัง เป็นๆ หายๆ
• ผูป้ ่ วยโรคนี้จะไม่กลายเป็นโรคที่มี
อันตรายต่างๆ เช่น มะเร็ง
แล้ วเมื่อไรจะนึกถึง
ไอ บี เอส
ถ้าค ุณมีอาการเหล่านี้
1. ปวดท้องหรือไม่สบายท้อง ซึ่งเป็นมานาน
โดยทัว่ ไปมักถือเอาว่ามากกว่า 3 เดือนขึ้นไป
และมักดีข้ ึนหลังจากขับถ่าย
2. ถ่ายผิดปกติ เช่น ท้องผูกหรือท้องเดิน
ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ หรือท้องผูกสลับ
ท้องเดิน
3. อาการอื่นๆ เช่น ท้องอืด ปวดแสบยอดอก
ถ่ายเป็นมูก ถ่ายไม่ส ุด เป็นต้น
อาการอันตราย
ที่ตอ้ งพบแพทย์โดยด่วน
•
•
•
•
ถ่ายอ ุจจาระเป็นเลือด
น้าหนักลด
ท้องเสียติดต่อกันเป็นเวลานาน
ท้องอืด, ท้องเสียสลับท้องผูก
เพิ่งเป็นเร็วๆนี้
• ซีด
• ไข้