รูปแบบการเรียนการสอน

Download Report

Transcript รูปแบบการเรียนการสอน

0
การออกแบบการเรียนการสอน
โดย รศ. ดร. ทิศนา แขมมณี
1
ตัวอย่ างการวางแผนและออกแบบการเรียนการสอน
วัตถุประสงค์
1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับหลักการ และวิธีการเขียนเรียงความทีด่ ี
(ตย. B.O.-ผูเ้ รี ยนสามารถตอบข้อสอบที่ให้อธิบาย หลักการและวิธีการเขียนเรี ยงความที่ดีได้
-ผูเ้ รี ยนสามารถวิเคราะห์ จุดดี จุดด้อย ของเรี ยงความที่กาหนดให้อ่าน)
2. ผู้เรียนสามารถเขียนเรียงความทีด่ ไี ด้
(ตย. B.O.-เมื่อให้หวั ข้อเรี ยงความแก่ผเู ้ รี ยน ไปทาที่บา้ น ผูเ้ รี ยนจะสามารถเขียนเรี ยงความที่มี
ลักษณะสอดคล้องกับหลักการ และวิธีการเขียนเรี ยงความที่ดีได้)
3. ผู้เรียนมีเจตคติทดี่ ตี ่ อการเขียนเรียงความ
(ตย. B.O.-เมื่อให้ผเู ้ รี ยนเขียนเรี ยงความเป็ นการบ้าน ผูเ้ รี ยนแสดงพฤติกรรมพึงพอใจต่อการ
เขียน และผลงานการเขียน)
เนือ้ หาสาระ
1. หลักการเขียนเรียงความ
2. วิธีการเขียนเรียงความ
2
ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ
ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด
การเรียนรู้แบบนิรนัย
แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน
ให้ หลักการเขียนเรียงความแก่ผู้เรียน แล้วให้
ฝึ กเขียนให้ ได้ ตามหลัก
กระบวนการเรียนการสอน
ขั้นตอนการเรียนการสอน
1. นาเข้ าสู่ บทเรียน
2. ครูให้ หลักการเขียนเรียงความทีด่ แี ก่ผู้เรียน
3. ผู้เรียนเลือกหัวข้ อการเขียน
4. ผู้เรียนฝึ กเขียนตามหลัก
5. ครูให้ ข้อติชม และให้ ข้อเสนอแนะ
6. ผู้เรียนปรับปรุงงานการเขียนตาม ข้ อเสนอแนะ
วิธีสอน
(โดยใช้ การบรรยาย)
วิธีสอน (โดยการฝึ กปฏิบัต)ิ
เทคนิคการสอน
(ให้ ข้อติชมแบบแซนด์ วิช)
ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด
การเรียนรู้แบบอุปนัย
แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน
ให้ ตัวอย่ างเรียงความทีด่ ี และไม่ ดีแก่ผ้เู รียน ให้
ผู้เรียนวิเคราะห์ และสรุปเป็ นหลักการเขียน
เรียงความ และฝึ กปฏิบัติการเขียน โดยใช้ หลักนั้น
กระบวนการเรียนการสอน
ขั้นตอนการเรียนการสอน
วิธีสอน
(อภิปรายกลุ่มย่ อย)
เทคนิค
(ให้ ทารูบริคส์
ประเมินผลงานการเขียน)
1. นาเข้ าสู่ บทเรียน
2. ครู ให้ ตวั อย่ างเรียงความแก่ ผ้ เู รียนทั้งที่ดี และไม่ ดี
3. ให้ ผ้ เู รียนแบ่ งกลุ่ม ช่ วยกันวิเคราะห์ ว่า เรียงความที่ตน
ได้ รับมีจุดดี จุดด้ อย อย่ างไร
4. ผู้เรียนนาเสนอผลการวิเคราะห์ และสรุ ปหลักการเขียน
ร่ วมกัน
5. ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และฝึ กเขียน ให้ ได้ตาม
หลักการที่สรุ ป
6. ครู ตรวจผลงาน ให้ ข้อติชม และข้ อเสนอแนะ
7. ผู้เรียนปรับปรุ งงานการเขียนตาม ข้ อเสนอแนะ
3
4
ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด
การเรียนรู้แบบสร้ างสรรค์ คิดออกนอกกรอบ เพือ่ ไม่ ให้
ความคิดถูกจากัดอยู่ในกรอบเดิม
แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน
ใช้ รูปแบบการสอน SYNNECTICS ซึ่งเป็ นรูปแบบ
การสอนเขียนอย่ างสร้ างสรรค์ ที่ใช้ เทคนิคให้ ผู้เรียน
คิดออกจากกรอบเดิมๆ
กระบวนการเรียนการสอน
ขั้นตอนการเรียนการสอน
1.การให้ ผู้เรียนทางานเขียนตามปกติ
2.การสร้ างอุปมาแบบตรง (Direct analogy)
3.การสร้ างอุปมาบุคคล (Personal analogy)
4.การสร้ างอุปมาคาคู่ขัดแย้ ง (Compressed conflict)
5.การอธิบายความหมายของคาคู่ขดั แย้ ง
6.การนาความคิดมาสร้ างสรรค์งาน
รูปแบบการเรียนการสอน
(Synnectics Model)
5
ตัวอย่ างการวางแผนและออกแบบการเรียนการสอน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของพืช (กล้วย)
2. เพือ่ ให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงประโยชน์ และใช้ประโยชน์จากกล้วยได้
3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเห็นความสาคัญของการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม
สาระการเรียนรู้
–
–
–
–
–
–
ส่ วนประกอบของกล้วย
ชนิด/ ประเภทของกล้วย
ธรรมชาติของกล้วย
กล้วยจัดอยูใ่ นพืชชนิดใด
การขยายพันธ์กล้วย การปลูกกล้วย
การบารุ งรักษา
– การนากล้วยมาใช้ประโยชน์
– ความสาคัญของกล้วยในฐานะพืชท้องถิ่น
– ความสาคัญของการใช้และบารุ งรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม
ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด
ให้ ผู้เรียนได้ รับประสบการณ์ จริง จากสภาพจริง
แนวในการจัด
การเรียนการสอน
กระบวนการเรียนการสอน
พาผู้เรียนไปเรียนรู้ทสี่ วนกล้วย
เทคนิคการสอน
(ใช้คาถามชวนให้สงสัย)
วิธีสอน
(โดยใช้การไปทัศนศึกษา)
วิธีสอน
(โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย)
เทคนิคการสอน
(การพูดเวียนรอบวง)
ขั้นตอนการเรียนการสอน
1. ขั้นเตรียมการ
- สร้ างความสนใจ
- วางแผนการไปทัศนศึกษา
- เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ฯลฯ
2. ขั้นเดินทางไปทัศนศึกษา
3. ขั้นการศึกษาในสถานทีเ่ ป้ าหมาย
- การศึกษา เก็บรวบรวมข้ อมูลด้ วยวิธีการที่
เตรียมมาตามแผนงาน
4. ขั้นการสรุป
- การแลกเปลีย่ นข้ อมูล
- การอภิปราย สรุปผลการเรียนรู้
6
7
ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด
การเรียนรู้แบบร่ วมมือกัน สร้ างความรู้
แนว / ยุทธศาสตร์
การเรียนการสอน
ให้ ผู้เรียนช่ วยกันแสวงหาข้ อมูล และศึกษาทาความเข้ าใจ
สร้ างความหมายของข้ อมูล และแลกเปลีย่ นกัน
กระบวนการเรียนการสอน
ขั้นตอนการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
(CIPPA)
เทคนิค
(จัดทาผังความรู ้)
วิธีสอน
(สาธิต+ฝึ กปฎิบตั ิ)
1.สารวจความรู้เดิม
2.แสวงหาความรู้ใหม่
3.ศึกษาทาความเข้ าใจ + เชื่อมความรู้เก่า ใหม่
4.แลกเปลีย่ นความรู้
5.สรุปจัดระเบียบ
6.นาเสนอความรู้ / ลงมือทา + นาเสนอ
7.ประยุกต์ ใช้ ความรู้
8
ตัวอย่ างการกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ตามยุทธศาสตร์ ที่เลือก
กิจกรรมการเรียนการสอน
เวลา สื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่
1. นาเข้าสู่บทเรี ยน โดยการอ่านความเรี ยงสั้นๆ ที่เขียนได้ดีถูกต้อง
ตามหลักการ และความเรี ยงสั้นๆ ที่มีขอ้ บกพร่ องต่างๆ ให้ผเู้ รี ยน
ฟัง และถามว่าชอบความเรี ยงใด เพราะอะไร
3. ครู แบ่งผูเ้ รี ยนเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4 คน ให้ผเู้ รี ยนเล่นเกมคาสัง่ จับ
กลุ่ม โดยให้ผเู้ รี ยนราวงตามเสี ยงเพลง แล้วออกคาสัง่ ให้ผเู้ รี ยนจับ
กลุ่ม เช่นจับกลุ่ม 3 คน จับกลุ่มชาย 1 หญิง 3 ฯลฯ จนในที่สุด ออก
คาสัง่ ให้จบั กลุ่ม 4 คน ให้มีท้ งั ชายหญิง ก็จะได้กลุ่มตามที่กาหนด
10 นาที
2. ครู โยงสู่บทเรี ยนว่า ผูเ้ รี ยนสามารถเขียนเรี ยงความดีๆ น่าอ่านได้ไม่
ยาก หากรู้หลักการและวิธีการเขียนที่ดี ดังนั้นเราจึงควรมาช่วยกัน
หาให้ได้วา่ หลักการและวิธีการนั้นคืออะไร โดยครู จะให้ผเู้ รี ยน
ร่ วมกันแสวงหาเป็ นกลุ่ม
ความเรี ยงสั้นๆ 2 เรื่ อง
เรื่ องที่เขียนได้ดี 1 เรื่ อง
เรื่ องที่มีขอ้ บกพร่ อง 1 เรื่ อง
เทปเพลงราวง จัดที่วา่ ง
หน้า/ หลังห้องเรี ยน
9
กิจกรรมการเรียนการสอน
5. ครู แจกใบงานซึ่งระบุบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน และอธิบาย
ให้ผเู้ รี ยนเข้าใจ
สื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่
การจัดโต๊ะเป็ นกลุ่มๆ ละ 4 คน
ป้ ายบอกหน้าที่สมาชิกกลุ่ม
10 นาที
4. เมื่อได้กลุ่มแล้ว ให้ผเู้ รี ยนนัง่ รวมกันเป็ นกลุ่ม หันหน้าเข้าหา
กัน ให้แต่ละคนนับหมายเลขประจาตัว 1-4 และมอบหมาย
บทบาทหน้าที่ให้สมาชิกแต่ละคน ดังนี้
หมายเลข 4 เป็ นประธาน
หมายเลข 3 เป็ นเลขานุการกลุ่ม
หมายเลข 2 เป็ นผูร้ ายงานผลงานของกลุ่ม
หมายเลข 1 เป็ นผูค้ วบคุมเวลา กติกาและ
ดูแลวัสดุอุปกรณ์ของกลุ่ม
เวลา
ใบงานสาหรับประธานกลุ่ม
ใบงานสาหรับเลขานุการกลุ่ม
ใบงานสาหรับผูร้ ายงานผลงานกลุ่ม
ใบงานสาหรับผูค้ วบคุมกลุ่ม
10
กิจกรรมการเรียนการสอน
7. ครู ให้เวลาผูเ้ รี ยนอ่านเรี ยงความ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
20 นาที โดยคอยสังเกตการทาหน้าที่ของสมาชิกในแต่ละกลุ่ม จด
บันทึกผลการสังเกต
สื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่
เรี ยงความ 2 เรื่ องสาหรับทุก
กลุ่มย่อย
เรื่ องที่เขียนได้ดี 1 เรื่ อง
เรื่ องที่บกพร่ อง 1 เรื่ อง
20 นาที
6. ครู แจกเรี ยงความที่ครู เตรี ยมมาให้กลุ่มละ 2 เรื่ อง เป็ นเรื่ องที่เขียน
ได้ดี 1 เรื่ อง และเป็ นเรื่ องที่มีขอ้ บกพร่ องมาก 1 เรื่ อง ให้ทุกกลุ่ม
อ่าน วิเคราะห์และอภิปรายร่ วมกันในประเด็นต่อไปนี้
1. เรี ยงความ 2 เรื่ อง มีจุดเด่น/ จุดด้อย หรื อ ส่ วนดี/ ส่ วนเสี ย
อะไรบ้าง
2. นักเรี ยนมีความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างไร ต่อการเขียน
เรี ยงความ
เวลา
แบบสังเกตการณ์การทางาน
ของกลุ่ม
11
กิจกรรมการเรียนการสอน
9. ครู และผูเ้ รี ยนร่ วมกันประมวลผลการอภิปรายกลุ่มย่อยสรุ ปเป็ น
หลักการ และวิธีการเขียนเรี ยงความที่ดี และข้อพึงระวังในการ
เขียนเรี ยงความ
11. ครู เสริ มการเรี ยนรู้ โดยการวิเคราะห์กระบวนการทางานของ
กลุ่มย่อย ให้ขอ้ สังเกตและข้อเสนอแนะในการทางานร่ วมกัน
กระดาษชาร์ทแผ่นใหญ่ เทป
กาว ปากกา
5 นาที
10. ครู แจกเอกสารหลักการและวิธีการเขียนเรี ยงความที่ดี ผูเ้ รี ยน
อ่านแล้วเทียบกับสาระที่ได้ร่วมกันทา และเพิ่มเติมข้อสรุ ปของ
ตนให้สมบูรณ์
สื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่
15 นาที
8. เมื่อได้เวลา ให้แต่ละกลุ่มสรุ ปผลการอภิปรายกลุ่มย่อย และ
รายงานผลต่อกลุ่มใหญ่ ครู จดประเด็นสาคัญของแต่ละกลุ่มไว้
บนกระดาน หรื อกระดาษชาร์ท
เวลา
เอกสารใบความรู้เรื่ อง
“หลักการและวิธีการเขียน
เรี ยงความที่ดี”
12
12. ครู ให้ผเู้ รี ยนนาข้อมูลทั้งหมดมาจัดทารู บริ คส์ ประเมินผลงาน
เขียน โดยครู อธิบายวิธีการจัดทา
13. ผูเ้ รี ยนเลือกเรื่ องที่จะเขียน และฝึ กเขียนตามหลักการและ
วิธีการที่ได้สรุ ปร่ วมกัน
เวลา
สื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่
30 นาที 60 นาที หรื อทา
เป็ นการบ้าน
กิจกรรมการเรียนการสอน
ตัวอย่าง รู บริ คส์ ประเมินผลงาน
14. ผูเ้ รี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจผลงาน โดยใช้รูบริ คส์ ที่ทาไว้
16. ผูเ้ รี ยนจัดนิทรรศการแสดงผลงานเขียน
30 นาที
15. ครู ตรวจผลงาน ให้ขอ้ ติชมและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม