Transcript Document

เคยสงสั ยไหมวาท
่ าไมราคาสิ นค้า
ชนิดนี้มรี าคาเทานี
่ ้ ชนิดนั้นมี
ราคาเทานี
่ ้ ?
แลวราคา
สิ นคาถู
้
้ กกาหนดจากอะไร ?
ทาไมบางครัง้ ราคาสิ นคาก็
่ ขึน
้
้ เพิม
บางครัง้ ก็ลดลง
?
กลไกราคาทางานอยางไร
?
่
1
บทที่ 2อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพ
Demand & Supply
2
1. อุปสงค์
(Demand)
• อปุ สงค์ หมายถึง ปริมาณเสนอซื้อ (quantity demanded) สิ นค้ าและ
บริการหรือปริมาณสิ นค้ าและบริการทีผ่ ู้บริโภควางแผนทีจ่ ะซื้อใน
ช่ วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาหนึ่ง
• องค์ ประกอบของอปุ สงค์
– มีความต้ องการ (want)
– มีความเต็มใจทีจ่ ะจ่ ายเงินเพือ่ ซื้อสิ นค้ าและบริการ (Willingness)
– มีความสามารถทีจ่ ะซื้อ (Ability)
3
อุปสงค์ชนิ ดต่างๆ
ปัจจัยกาหนดอุปสงค์ ประกอบด้ วยหลายปัจจัยที่สาคัญได้ แก่
– ราคาสิ นค้ าชนิดนั้น (price of good)
– ราคาสิ นค้ าชนิดอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง (the price of related goods)
– รายได้ ของผู้บริโภค (income)
– รสนิยมของผู้บริโภค (Taste)
– การคาดคะเนราคาสิ นค้ าในอนาคต (expected future prices)
– จานวนประชากร (population)
4
Factors affecting The Demand Curve
Example for automobiles
• Average Income – As income rise, people increase car purchase.
• Population – A growth in population increases car purchase.
• Price of related goods – Lower gasoline prices raise the car’s demand.
• Tastes – Having a new car becomes a status symbol.
• Special influences – Special influences include availability of
alternative forms of transportation, safety of automobiles, expectations
of future prices, etc.
5
ชนิ ดของอุปสงค์ที่พิจารณา
• อุปสงค์ ต่อราคา
– พิจารณา P , Q
• อุปสงค์ ต่อรายได้
– พิจารณา I, Q
• อุปสงค์ ต่อราคาสิ นค้ าชนิดอืน่ หรืออุปสงค์ ไขว้
– พิจารณา P ของสิ นค้ าชนิดหนึ่ง กับ Q ของสิ นค้ าอีกชนิดหนึ่ง
6
อุปสงค์ต่อราคา
(Price Demand)
• หมายถึง ปริมาณเสนอซื้อ สินค้ าชนิดใดชนิดหนึ่ง ในช่ วงเวลาใด
เวลาหนึ่ง ณ ระดับต่ างๆ กันของ ราคาสินค้ า โดยกาหนดให้ ส่ งิ
อื่นๆ คงที่
• ปัจจัย/ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้ องในการพิจารณา
– ตัวแปรนา : ราคาสินค้ า (P)
– ตัวแปรตาม : ปริมาณเสนอซือ้ (Q)
7
กฎของอุปสงค์
(Law of Demand)
• ปริมาณเสนอซื้อและราคามีความสั มพันธ์ ในทางตรงข้ ามกัน
P
Q
P
Q
• พิจารณาในรูปของ
 ตารางอุปสงค์ (demand schedule)
 เส้ นอุปสงค์ (demand curve)
 สมการอุปสงค์ (demand equation)
8
ตารางอุปสงค์
(demand schedule)
• ตารางแสดง
ความสั มพันธ์
ระหว่ างปริมาณ
เสนอซื้อสิ นค้ ากับ
ราคาสิ นค้ าระดับ
ต่ างๆกัน
จุด
a
b
c
d
e
ราคา (บาท) จานวนซีดี (แผ่ น)
1
2
3
4
5
10
8
6
4
2
9
เส้นอุปสงค์
ราคา (บาท)
a
5
b
4
c
3
2
1
0
d
อุปสงค์ ซีดี
e
2
4
6
8
10
ปริมาณซื้อ (แผ่ น)
10
สมการอุปสงค์
(demand equation)
• สมการทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ ากับราคาสิ นค้า
• กาหนดให้ P = ราคาสิ นค้ า
Q = ปริมาณเสนอซื้อ
a, b = ตัวเลขสั มประสิ ทธิ์, ค่ าคงที่
Q = f(P)
Q =a – b P
11
สมการและเส้นอุปสงค์
Q =a – b P
P
P
Slope =
a
b
ΔP
=
D
0
ΔQ
Q
a
Q
a
b
a
= - 1/b
12
ความสัมพันธ์ระหว่าง P & Q
• ผู้บริโภคทัว่ ไป : P
Q และ P
Q
• ผู้บริโภคทีซ่ ื้อสิ นค้ าเพือ่ แสดงออกซึ่งความเด่ นหรูเหนือผู้อนื่
– สิ นค้ าทีผ่ ้ บู ริโภคกลุ่มนีต้ ้ องการ : สิ นค้ าทีม่ รี าคาสู งมากๆ
– สิ นค้ าราคาสู ง ยิง่ เป็ นทีน่ ิยมของลูกค้ ามากขึน้ ดึงดูดให้ มผี ้ ูเสนอซื้อมากกว่ าเมือ่
มีระดับราคาตา่
–P
Q และ P
Q
– เช่ น รถยนต์ เครื่องประดับ
13
ความสัมพันธ์ระหว่าง P & Q (ต่อ)
• ผู้บริโภคทีม่ ีความเชื่อว่ าคุณภาพของสิ นค้ามีความสั มพันธ์ ทิศทาง
เดียวกับราคาสิ นค้ า
– คุณภาพดีกต็ ่ อเมือ่ สิ นค้ ามีราคาสู ง เช่ น เสื้อผ้ า กระเป๋ า รองเท้ า ของ
brands ดังต่ างๆ
– เมือ่ ราคาสิ นค้ าลดลง ผู้บริโภคกลับลดการซื้อลง เช่ น เสื้อยืดตัวละ 59
14
อุปสงค์ต่อรายได้
(Income demand)
• หมายถึง ปริ มาณเสนอซื้อ สิ นค้ าชนิดใดชนิดหนึ่ง ในช่ วงเวลาใดเวลา
หนึ่ง ณ ระดับต่ างๆ กันของ รายได้ โดยกาหนดให้ สิ่งอืน่ ๆ คงที่
• ปัจจัย/ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้ องในการพิจารณา
– ตัวแปรนา : รายได้ (I)
– ตัวแปรตาม : ปริมาณเสนอซื้อ (Q)
15
การพิจารณาตามชนิ ดของสินค้า
• สิ นค้ าปกติ (normal goods) : ความสั มพันธ์ ระหว่ าง
ปริมาณเสนอซื้อกับรายได้ จะเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
I
I
Q
Q
• สิ นค้ าด้ อย (inferior goods) : สิ นค้ าที่ปริมาณเสนอซื้อ
จะลดต่าลง เมื่อผู้บริโภคมีรายได้ สูงขึน้ (ไม่ ได้ หมายถึงสิ นค้ า
คุณภาพต่า)
I
I
Q
Q
16
ตารางอุปสงค์ต่อรายได้
จุด
• ตารางแสดง
ความสั มพันธ์
ระหว่ างปริมาณ
เสนอซื้อสิ นค้ ากับ
รายได้ ระดับ
ต่ างๆกัน
a
b
c
d
e
รายได้ /วัน
(บาท)
100
200
300
400
500
จานวนเงาะ/วัน
(กก.)
2
4
6
8
10
17
เส้นอุปสงค์ต่อรายได้
กรณีสินค้ าปกติ (normal goods)
รายได้ /วัน (บาท)
e
500
d
400
c
300
200
100
0
อุปสงค์ ต่อรายได้
b
a
2
4
6
8
10
ปริมาณซื้อ (กก.)
18
สมการอุปสงค์ต่อรายได้
กรณีสินค้ าปกติ (normal goods)
• สมการทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ ากับรายได้
• กาหนดให้ I = รายได้
Q = ปริมาณเสนอซื้อ
Q =a + b I
19
ตารางอุปสงค์ต่อรายได้
• ตารางแสดง
ความสั มพันธ์
ระหว่ างปริมาณ
เสนอซื้อสิ นค้ ากับ
รายได้ ระดับ
ต่ างๆกัน
จุด
a
b
c
d
e
รายได้ /วัน จานวนสบู่นกกระจอก/
(บาท)
เดือน (ก้ อน)
100
200
300
400
500
5
4
3
2
1
20
เส้นอุปสงค์ต่อรายได้
กรณีสินค้ าด้ อย (inferior goods)
รายได้ (บาท)
a
500
b
400
c
300
200
100
0
อุปสงค์ ต่อรายได้
d
e
1
2
3
4
5
ปริมาณซื้อ (ก้อน)
21
สมการอุปสงค์ต่อรายได้
กรณีสินค้ าด้ อย (inferior goods)
• สมการทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ ากับรายได้
• กาหนดให้ I = รายได้
Q = ปริมาณเสนอซื้อ
Q =a + b I
22
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิ ดอื่นหรืออุปสงค์ไขว้
(Cross demand)
• หมายถึง ปริ มาณเสนอซื้อ สิ นค้ าชนิดใดชนิดหนึ่ง ในช่ วงเวลาใดเวลา
หนึ่ง ณ ระดับต่ างๆ กันของ ราคาสินค้ าชนิดอื่น โดยกาหนดให้ สิ่งอืน่ ๆ
คงที่
• ปัจจัย/ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้ องในการพิจารณา
– ตัวแปรนา : ราคาสิ นค้ า A (PA)
– ตัวแปรตาม : ปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ า B (QB)
23
การพิจารณาตามชนิ ดของสินค้า
• สิ นค้ าทีใ่ ช้ ประกอบกัน (complementary goods) :
ความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ าชนิดหนึ่งกับราคาสิ นค้ าอีก
ชนิดหนึ่งจะเป็ นไปในทิศทางตรงกันข้ าม
PA
QA
QB
PA
QA
QB
• สิ นค้ าทีใ่ ช้ ทดแทนกัน (substitute goods) :
ความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ าชนิดหนึ่งกับราคาสิ นค้ าอีก
ชนิดหนึ่งจะเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
PA
QA
QB
PA
QA
QB
24
ตารางอุปสงค์ไขว้
กรณีสินค้ าทีใ่ ช้ ประกอบกัน
• ตารางที่บอกให้ ร้ ูว่าปริมาณ
เสนอซือ้ สินค้ าที่กาลัง
พิจารณาอยู่ (สินค้ า B) ณ
ระดับต่ างๆ กันของราคา
สินค้ าชนิดอื่น (สินค้ า A)
PA
QB
10
8
6
4
2
5
10
15
20
25
25
เส้นอุปสงค์ไขว้
กรณีสินค้ าทีใ่ ช้ ประกอบกัน
PA
10
2
0
D
5
25
QB
26
สมการอุปสงค์ไขว้
กรณีสินค้ าทีใ่ ช้ ประกอบกัน
• สมการทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ าชนิดหนึ่งกับ
ราคาสิ นค้ าอีกชนิดหนึ่ง (ทิศทางตรงกันข้ าม)
• กาหนดให้ PA = ราคาสิ นค้ า A
QB = ปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ า B
QB = a – b PA
27
ตารางอุปสงค์ไขว้
กรณีสินค้ าทีใ่ ช้ ทดแทนกัน
• ตารางที่บอกให้ ร้ ูว่าปริมาณ
เสนอซือ้ สินค้ าที่กาลัง
พิจารณาอยู่ (สินค้ า B) ณ
ระดับต่ างๆ กันของราคา
สินค้ าชนิดอื่น (สินค้ า A)
PA
QB
10
8
6
4
2
5
4
3
2
1
28
เส้นอุปสงค์ไขว้
กรณีสินค้ าทีใ่ ช้ ทดแทนกัน
PA
10
D
2
0
1
5
QB
29
สมการอุปสงค์ไขว้
กรณีสินค้ าทีใ่ ช้ ทดแทนกัน
• สมการทีแ่ สดงความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ าชนิดหนึ่งกับ
ราคาสิ นค้ าอีกชนิดหนึ่ง (ทิศทางเดียวกัน)
• กาหนดให้ PA = ราคาสิ นค้ า A
QB = ปริมาณเสนอซื้อสิ นค้ า B
QB = a + b PA
30
อุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ของตลาด
• อุปสงค์ ส่วนบุคคล (Individual demand) : ปริมาณเสนอ
ซื้อสิ นค้ าของผู้บริโภคแต่ ละคน ณ ระดับต่ างๆกันของตัวแปรที่กาหนด
ปริมาณเสนอซื้อ
• อุปสงค์ ของตลาด (Market demand) : ปริมาณเสนอซื้อ
สิ นค้ าชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ระดับราคาหนึ่งๆของผู้บริโภคทุกคนในตลาด
31
ตารางอุปสงค์ส่วนบุคคลและอุปสงค์ของตลาด
ราคา นาย A นาย B นาย C ตลาด
0
1
2
3
4
7
5
3.5
2
0
5
3
1.5
0
0
4
2
0
0
0
16
10
5
2
0
32
รูปภาพแสดงการหาเส้นอุปสงค์ตลาด
P
4
3
2
P
P
P
3.5
1.5
0
?
5
3
2
5 10
1
0
นาย A
นาย B
นาย C
Q
ตลาด
33
ตัวกาหนดอุปสงค์
(Demand Determinants)
• ราคาของสินค้ านัน้ (ตัวกาหนด
โดยตรง)
• ราคาของสินค้ าอื่นที่เกี่ยวข้ อง
• รายได้
• จานวนประชากร
• การกระจายรายได้ ในระบบ
เศรษฐกิจ
•
•
•
•
รสนิยมของผู้บริโภค
ฤดูกาล
การคาดคะเน
ปั จจัยอื่น เช่ น ข่ าวลือ ภาษีหรือ
นโยบายของรัฐ
34
การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์
(Changes in Quantity Demand)
P
A
P1
P2
B
D
O
Q1
Q2
Q
การที่ตัวกาหนดอุปสงค์ โดยตรง
คือ ราคาสินค้ าเปลี่ยนแปลงไป
ตัวกาหนดโดยอ้ อมอื่นคงที่
การเปลี่ยนแปลงเป็ นการย้ าย
จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง บน
เส้ นอุปสงค์ เดิม ทาให้ ปริ มาณ
เสนอซื้อเปลี่ยนแปลง
35
การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์
(Shift in Demand Curve)
P
A
P
O
Q
B
Q1
การที่ตัวกาหนดอุปสงค์ โดย
อ้ อมเปลี่ยนแปลง ทาให้
ปริมาณซือ้ เปลี่ยนแปลง ณ
ระดับราคาเดิม
D1
อุปสงค์ เพิ่มขึ้น เส้ นอุปสงค์
D
เลื่อนไปทางขวา แสดงว่ า
Q ปริมาณซือ้ เพิ่ม
36
Case Study :
Computer Price and Growth in Computer Output
37
2.อุปทาน
(Supply)
• อุปทาน หมายถึง ปริ มาณเสนอขาย สิ นค้ าชนิดใดชนิดหนึ่ง ในช่ วงเวลา
ใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับต่ างๆกันของ ราคาสินค้ า ชนิดนั้นๆ
• ปัจจัย/ตัวแปรที่เกีย่ วข้ องในการพิจารณา
– ตัวแปรนา : ราคาสิ นค้ า (P)
– ตัวแปรตาม : ปริมาณเสนอขาย (Q)
38
กฎของอุปทาน
(Law of Supply)
• ปริมาณเสนอขายและราคามีความสั มพันธ์ ในทิศทางเดียวกัน
–P
–P
Q
Q
• พิจารณาในรูปของ
– ตารางอุปทาน (supply schedule)
– เส้ นอุปทาน (supply curve)
– สมการอุปทาน (supply equation)
39
ตารางอุปทาน
(supply schedule)
• ตารางที่บอกให้ ร้ ู ว่า
ปริมาณเสนอขาย
สินค้ าที่กาลัง
พิจารณาอยู่ ณ
ระดับต่ างๆกันของ
ราคาสินค้ าชนิด
นัน้ ๆ
จุด
a
b
c
d
e
ราคา
(บาท)
1
2
3
4
5
จานวนซีดี
(แผ่ น)
2
4
6
8
10
40
เส้นอุปทาน
ราคา (บาท)
e
5
d
4
c
3
2
1
0
อุปทานซีดี
b
a
2
4
6
8
10
ปริมาณขาย (แผ่น)
41
สมการอุปทาน
(supply equation)
• สมการที่แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณเสนอขายสิ นค้ ากับราคาสิ นค้ า
• กาหนดให้ P = ราคาสิ นค้ า
Q = ปริมาณเสนอขาย
c, d = ตัวเลขสั มประสิ ทธิ์, ค่ าคงที่
Q =– c + d P
• – c : ผู้ผลิตจะเริ่มนาสิ นค้ าออกขาย ณ ระดับราคาทีค่ ุ้มกับต้ นทุนการ
ผลิต
42
สมการและเส้นอุปทาน
Q =– c + d P
(supply curve)
P
P
S
c
d
=
ΔP
-c
ΔQ
Slope =
Q
c/d
c
=
1
d
Q
0
ถ้ าราคาสินค้ าตา่ กว่ า c/d ผู้ผลิตจะไม่ นาสินค้ าออกขายเลย
43
อุปทานแรงงาน
ตัวอย่ าง : อปุ ทานแรงงาน
– สิ นค้ าที่พจิ ารณา
– ราคาสิ นค้ า
– ปริมาณเสนอขายสิ นค้ า
แรงงาน
ค่ าจ้ างแรงงาน
ชั่วโมงการทางาน
44
อุปทานแรงงานที่มีช่วงโค้งวกกลับ (ต่อ)
ตารางอปุ ทานแรงงานของคนงานคนหนึ่งในหนึ่งวัน
– ช่ วงแรกค่ าจ้ างอยู่ในระดับต่า
– การเพิ่มขึน้ ของค่ าจ้ าง จะดึงดูด
ให้ คนงานทางานมากขึน้
– ณ ระดับค่ าจ้ างที่สูงมากๆ แม้ จะ
ลดชม.การทางาน ยังสามารถทา
รายได้ ไม่ ต่างไปจากเดิม จึงไม่
ต้ องเพิ่ม ชม.ทางาน หรือลดชม.
ลงก็ได้
ค่าจ้าง/ชม.
จานวนชม.การ
ทางาน/วัน
12
13
15
18
22
27
6
7
8
9
8
7
45
อุปทานแรงงานที่มีช่วงโค้งวกกลับ (ต่อ)
ค่ าจ้ าง
22
18
15
0
S
การเลือกระหว่ าง
รายได้ กับ จานวน
ชั่วโมงการพักผ่ อน
176 บาท/วัน
162 บาท/วัน
120 บาท/วัน
8 9
จานวนชั่วโมงการทางาน
46
อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานของตลาด
• อุปทานส่ วนบุคคล (Individual supply) : ปริมาณเสนอ
ขายสิ นค้ าชนิดหนึ่งๆ ของผู้ขายแต่ ละคน ณ ระดับราคาสิ นค้ าต่ างๆ
• อุปทานของตลาด (Market supply) : ปริมาณเสนอขาย
สิ นค้ าชนิดหนึ่งๆ ของผู้ขายทุกคนในตลาด ณ ระดับราคาสิ นค้าต่ างๆ
47
อุปทานของตลาด
P
ราคา
ผู้ผลิต 1
ผู้ผลิต 2
ตลาด
10
40
40
80
20
80
80
160
P
S1
S2
P
Sm
20
10
Q
Q
40
80
40
80
Q
80
160
48
ตัวกาหนดอุปทาน
(Supply Determinants)
•
•
•
•
•
•
•
•
ราคาของสินค้ านั้น
เป้าหมายของธุรกิจ
เทคนิคทีใ่ ช้ ผลิต
ราคาของสินค้ าอื่น
ราคาปั จจัยการผลิต/ต้ นทุนการผลิต
จานวนของผู้ขายในตลาด
การคาดคะเนเหตุการณ์ ในอนาคต
สภาวะแวดล้ อมต่ างๆ
49
Factors affecting the supply curve
Example for automobiles
• Technology – Computerized manufacturing lowers production costs
and increases supply.
• Input prices – A reduction in the wage paid to autoworkers lowers
production costs and increases supply.
• Prices of related goods – If truck prices fall, the supply cars rises.
• Government policy – Removing quotas and tariffs on imported
automobiles increases total automobile suppy.
• Special influences - Internet shopping and auction allow consumers to
compare the prices of different dealers more easily and drive high-cost
seller out of businessใ
50
การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน
(Changes in Quantity Supplied)
P
P2
P1
O
S
เกิดจากราคาสินค้ าเปลี่ยนแปลง
ทาให้ จานวนขายเปลี่ยนแปลง
B
A
Q1 Q2
เป็ นการย้ ายจากจุดหนึ่งไปอีกจุด
หนึ่ง บนเส้ น อุปทานเดียวกัน
Q
51
การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
(Shift in Supplied Curve)
P
S2 S
S1 เกิดจากตัวกาหนดโดยอ้ อมตัวใด
ตัวหนึ่งหรื อหลายตัวเปลี่ยนแปลง
ทาให้ ปริมาณขายเปลี่ยนแปลง ณ
ระดับราคาเดิม
อุปทานเพิ่ม เส้ นอุปทานย้ ายไป
ทางขวาหรื อซ้ าย
P
O
Q2
Q Q1 Q
52