การวิจัยตลาด - riped - มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

Download Report

Transcript การวิจัยตลาด - riped - มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

หลักการตลาด
บทที่ 3
สารสนเทศทางการตลาดและการวิจยั
สาขาวิชาการตลาด คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
วัตถุประสงค์ _1
• เข้ าใจบทบาทของระบบสารสนเทศทางการตลาดและระบบการ
สนับสนุนการตัดสินใจทางการตลาด
• สามารถอธิบายกระบวนการในการวิจยั ทางการตลาด
• เข้ าใจความแตกต่างระหว่างการวิจยั เชิงค้ นคว้ า การวิจยั เชิง
พรรณนา และการวิจยั เชิงเหตุผล รวมถึงสามารถอธิบายเทคนิคใน
การวิจยั บางอย่างที่มีประโยชน์ตอ่ นักการตลาด
3-2
วัตถุประสงค์ _2
• สามารถอธิบายรูปแบบที่แตกต่างกันของวิธีการเก็บข้ อมูล และ
ประเภทของตัวอย่างที่นกั วิจยั นามาใช้
• เข้ าใจถึงความเจริญก้ าวหน้ าในการใช้ การทาวิจยั แบบออนไลน์
3-3
ระบบสารสนเทศทางการตลาด (MIS)
• กระบวนการที่เริ่มที่นกั การตลาดพิจารณาว่ามีข้อมูลอะไรที่ต้องการ
แล้ วจึงรวบรวม จัดระเบียบ วิเคราะห์ จัดเก็บ และแจกจ่าย
สารสนเทศออกไปให้ ทนั ต่อเวลาและความต้ องการ
• 3 องค์ประกอบ
- ข้ อมูล
- คอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ และซอฟแวร์
- ผู้ใช้ งาน
3-4
ระบบสารสนเทศทางการตลาด (แผนภาพที่ 3.1)
3-5
ระบบสารสนเทศทางการตลาด: ข้ อมูลหลัก 4 ประเภท
1. ระบบข้ อมูลภายใน
ระบบที่ใช้ สาหรับการสื่อสารข้ อมูลเป็ นการภายใน
ตัวอย่างข้ อมูล เช่น ข้ อมูลการขาย กิจกรรมทางตลาด รายการ
สินค้ าคงคลัง ประวัติการซื ้อสินค้ าของลูกค้ า
2. ระบบข่าวกรองทางการตลาด (Marketing Intelligence System)
การจัดเก็บสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพแวดล้ อมทางการตลาด
แหล่งข้ อมูล เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร Mystery Shoppers
ใช้ ข่าวกรองเพื่อประมาณยอดขาย พยากรณ์พฤติกรรมผู้บริโภค
3-6
ระบบสารสนเทศทางการตลาด (ต่ อ)
3. การวิจยั ตลาด (Marketing Research)
กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ และตีความข้ อมูล เกี่ยวกับ
ลูกค้ า คูแ่ ข่งขัน และสภาพแวดล้ อมเพื่อปรับปรุงให้ ทาการตลาดได้
ดีขึ ้น
ข่าวกรอง- ข้ อมูลต่อเนื่องเพื่อให้ ร้ ูเท่าทันต่อเหตุการณ์ในท้ องตลาด
การวิ จยั ตลาด- ข้ อมูลเฉพาะเพื่อใช้ ในการตัดสินใจในสถานการณ์
หนึง่ ๆ
3-7
ระบบสารสนเทศทางการตลาด (ต่ อ)
ข้อมูลการวิ จยั แบบใช้ร่วมกัน (Syndicated research reports)
ข้ อมูลทุติยภูมิที่จดั เก็บเป็ นประจาเพื่อขาย เก็บข้ อมูลเชิงกว้ าง
เช่น ข้ อมูลโดย AC Nielsen http://www.acnielsen.co.th/site/index.shtml
TNS http://www.tns-ri.co.th/index.asp (Top Digital Brand 2011)
ข้อมูลการวิ จยั แบบสัง่ ทา (Custom research reports)
ข้ อมูลปฐมภูมิที่มงุ่ หาคาตอบสาหรับคาถามเฉพาะหนึง่ ๆ
เช่น ทาไมคนจึงนิยมใช้ iPhone กันมากขึ ้น
3-8
ระบบสารสนเทศทางการตลาด (ต่ อ)
• ฐานข้ อมูลจากภายนอก
ภาคราชการ - ผู้ขอจดทะเบียนรถ
- การแจ้ งเกิดของทารก
- ผู้เสียภาษีอากร
ข้อวิ พากษ์ วิจารณ์
การใช้ ฐานข้ อมูลเหล่านี ้ติดต่อกับลูกค้ าโดยไม่ได้ รับอนุญาต
3-9
MDSS (Marketing Decision Support System)
• MIS: การสร้ างรายงานการตลาดเพื่อใช้ ในการตัดสินใจ
MDSS ใช้ เมื่อกระบวนการอย่างง่ายไม่พอ
• MDSS เป็ นซอฟท์แวร์ ที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะของ
Interactive ตามที่ผ้ ใู ช้ ต้องการ
ประกอบด้ วย
– ซอฟท์แวร์ ทางด้านสถิ ติ: ช่วยตรวจสอบความสัมพันธ์ที่ซบั ซ้ อน
ระหว่างปั จจัยต่างๆภายในท้ องตลาดได้
– ซอฟท์แวร์ ในการสร้างแบบจาลองขัน้ สูง: ช่วยค้ นหาคาตอบของ
คาถาม ถ้ าเป็ นอย่างนี ้อะไรจะเกิดขึ ้น (What-if)
3-10
Marketing Decision Support System (MDSS)
3-11
ความแตกต่ างของ MIS and MDSS (แผนภาพ 3.3)
MIS
MDSS
• ยอดขายของบริษัทในแต่ละ
ผลิตภัณฑ์ในช่วงเดือนที่แล้ วและปี
ที่แล้ วเป็ นอย่างไร ?
• ยอดขายที่ลดลงสอดคล้ องกับการ
เปลี่ยนแปลงยอดขายโดยรวมทัง้
อุตสาหกรรมใช่หรื อไม่ หรื อว่ามี
บางส่วนของยอดขายที่ลดลงที่ไม่
สามารถอธิบายได้ จากการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกับ
อุตสาหกรรม ?
3-12
ขุดเหมืองข้ อมูล (Data Mining)
• กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเพื่อค้ นหารูปแบบเฉพาะของพฤติกรรมลูกค้ า
กลุม่ ต่างๆ
• ประโยชน์หลัก 4 ประการ
– การสร้ างลูกค้ า
จากข้ อมูลทางด้ านประชากรศาสตร์ และอื่นๆ
– การสร้ างการซื ้อซ ้า
ค้ นหาคนที่มีปริมาณการซื ้อสูง และให้ ข้อเสนอพิเศษ
– การตัดทิ ้งลูกค้ า
ซื ้อน้ อยแต่เน้ นบริการมาก
– การวิเคราะห์ตะกร้ าซื ้อสินค้ า
เช่น กลยุทธ์สง่ เสริมการขายที่เฉพาะเจาะจงโดยดูจากสินค้ าที่ลกู ค้ าเคยซื ้อ
3-13
ขัน้ ตอนของการวิจัยตลาด
ขัน้ ที่ 1 การกาหนดปั ญหาของการวิจัย
• การกาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจยั - คาถาม
• การกาหนดประชากรที่สนใจ- ใครคือผูบ้ ริ โภคทีเ่ ราสนใจ
• การวางกรอบปั ญหาภายใต้ สภาพแวดล้ อมหนึง่ ๆ-ปั จจัยภายใน/นอก
ตัวอย่าง:
บริษัทรถยนต์อยากทราบว่าทาไมยอดขายลดลง
ลูกค้ าใหม่ชอบอะไรไม่ชอบอะไรในผลิตภัณฑ์ของบริษัท
ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่าเราจะให้ ความสาคัญกับอะไร(การประหยัดเชื ้อเพลิงของ
รถน่าจะเป็ นปั จจัยสาคัญกว่าภาพลักษณ์)
3-14
ขัน้ ที่ 2 การออกแบบการวิจัย (Research Design)
• สารสนเทศประเภทใดที่เราต้ องการจัดเก็บ
หาสารสนเทศจากข้ อมูลที่มีอยูไ่ ด้ ไหม ?
– ข้ อมูลทุติยภูมิ
• ข้ อมูลที่ได้ เก็บรวบรวมไว้ เพื่อวัตถุประสงค์อื่นที่ไม่ใช่เพื่อตอบคาถาม
ของการวิจยั ที่เราสนใจ
– ข้ อมูลปฐมภูมิ
• ข้ อมูลที่เก็บโดยตรงจากบุคคลที่สามารถให้ คาตอบแก่งานวิจยั ที่เรา
สนใจได้
ดูแผนภาพที่ 3.4 หน้ า 3-11
3-15
ข้ อมูลปฐมภูมิ
1)การวิจัยเชิงค้ นคว้ า (Exploratory Research)
• มักมีขนาดเล็กและมีคา่ ใช้ จ่ายน้ อยกว่าการวิจยั แบบอื่นๆ
• ข้ อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative)
ผลการวิจยั ไม่แสดงเป็ นตัวเลข แต่เป็ นการบรรยาย
มักเป็ นการพูดคุยแบบเจาะลึกกับลูกค้ าไม่มากนัก
เพื่อทราบทัศนคติ ความรู้สกึ หรื อ พฤติกรรมการซื ้อของผู้บริโภค
3-16
1)การวิจัยเชิงค้ นคว้ า (Exploratory Research)
• รู ปแบบการวิ จยั
– การสัมภาษณ์ผ้ บู ริโภค (Consumer interviews)
คุยตัวต่อตัว
– การจัดสนทนากลุม่ (Focus groups)
ผู้วิจยั สนทนากับผู้บริโภคประมาณ 5-10 คน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เกี่ยวกับสินค้ า โฆษณา หรื ออื่นๆ
– การใช้ กรณีศกึ ษา (Case studies)
การให้ ข้อมูลอย่างกว้ างๆเกี่ยวกับลูกค้ าที่เป็ นองค์กรธุรกิจ
– วิธีชาติพนั ธุ์พรรณนา (Ethnography)
การเข้ าไปสังเกตการณ์ในสถานที่ที่ลกู ค้ าเป้าหมายมักไปอยู่
– เทคนิคการคาดคะเน (Projective techniques) เพื่อรู้ถงึ ความรู้สกึ ของผู้บริโภค
3-17
ตัวอย่ างการวิจัยเชิงค้ นคว้ า
โฟกัสกรุ๊ป Sneakers snack bars
สัมภาษณ์ Navigator Technology Solution
3-18
ข้ อมูลปฐมภูมิ
2)การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
• กลุม่ ตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่
• ข้ อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative)
แสดงผลการวิจยั ในรูปแบบตัวเลข เช่น ค่าเฉลี่ย ร้ อยละ
ตัวอย่าง ยอดขายรายเดือนของโตโยต้ า
http://www.toyota.co.th/sale-volume.php
3-19
2)การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
• การออกแบบการวิจยั
– การออกแบบวิ จยั ตัดตามขวาง (Cross-sectional)
การรวบรวมคาตอบจากลูกค้ า ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึง่
อาจเก็บข้ อมูลได้ หลายครัง้ แต่ไม่ใช่จากบุคคลคนเดียวกัน
– การออกแบบวิ จยั แบบตามยาว (Longitudinal)
ติดตามคาตอบของบุคคลเดียวกันตลอดระยะเวลาช่วงหนึง่ ที่สนใจ
การวิจยั เชิงพรรณนาบอกได้ วา่ เกิดอะไรขึ ้นในตลาดแต่บอกไม่ได้ วา่ ทาไม
3-20
ข้ อมูลปฐมภูมิ
3)การวิจัยเชิงเหตุผล (Causal Research)
การเปลี่ยนแปลงในบางสิ่ง มีผลทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในอีกสิง่
หรื อไม่ เช่น การซื ้อนมแคลเซียมสูงและผ้ าอ้ อมของคุณแม่
• ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเหตุ-และ-ผล (Cause and effect)
– ตัวแปรอิสระ (Independent variables)=ปั จจัยที่เป็ นสาเหตุของ
การเปลี่ยนแปลง
– ตัวแปรตาม (Dependent variables)= ผลลัพธ์ที่เป็ นการ
เปลี่ยนแปลง
ตัวอย่าง
ยอดขายผ้าอ้อมเด็กขึ้นกับตาแหน่งวางนมแคลเซี ยมสูงหรื อไม่
3-21
3)การวิจัยเชิงเหตุผล (Causal Research)
• การทดลอง (Experiment) จะช่วยควบคุมตัวแปรแทรกซ้ อนอื่นๆที่
เราไม่สนใจศึกษาแต่อาจมีผลต่อตัวแปรตาม
ตัวอย่าง
ทดลองวางตาแหน่งของผ้าอ้อมให้อยู่ในทีท่ ีต่ ่างกัน เช่น ใกล้นม
แคลเซี ยมสูง ใกล้กระดาษทิ ชชู่ เพือ่ หาว่าตาแหน่งใดทาให้คนซื ้อ
มากทีส่ ดุ
3-22
ขัน้ ที่ 3 เลือกวิธีการในการเก็บข้ อมูลปฐมภูมิ
• การทาแบบสารวจ (Survey Methods)
–
–
–
–
แบบสอบถามทางไปรษณีย์ (Mail questionnaires)
การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Telephone interviews)
การสัมภาษณ์แบบต่อหน้ า (Face-to-face interviews)
การใช้ แบบสอบถามออนไลน์ (Online questionnaires)
• การสังเกต (Observation)
– การสังเกตโดยบุคคล (Personal)
– การสังเกตด้ วยเครื่ องมือกล (Mechanical)
3-23
การทาแบบสารวจ
1)แบบสอบถามทางไปรษณีย์
• ข้ อดี
– ผู้ตอบไม่ร้ ูสกึ กดดัน
– ต้ นทุนต่า
– เหมาะกับงานวิจยั ที่ต้องทา
ต่อเนื่อง
• ข้ อเสีย
– การตอบกลับช้ าและมีอตั รา
การตอบกลับต่า
– คาถามไม่สามารถยืดหยุน่ ได้
มากนัก
– จานวนของคาถามถูกจากัด
3-24
การทาแบบสารวจ
2)การสัมภาษณ์ ทางโทรศัพท์
• ข้ อดี
– รวดเร็ว
– คาถามสามารถยืดหยุน่ ได้
มาก
– ต้ นทุนต่า
– ลดการลาเอียง (bias) ของผู้
สัมภาษณ์ได้
• ข้ อเสีย
– ไม่คอ่ ยได้ รับความร่วมมือจาก
ผู้บริโภคเท่าที่ควร
– ความยาวและจานวนของ
คาถามถูกจากัด
– การเลือกสายรับเข้ าของ
ผู้บริโภค
3-25
การทาแบบสารวจ
3)การสัมภาษณ์ แบบต่ อหน้ า
• ข้ อดี
– คาถามสามารถยืดหยุน่ ได้
– จานวนคาถามสามารถออกแบบ
ให้ มากได้
– สามารถอธิบายคาถามได้ กรณี
ผู้บริโภคไม่เข้ าใจ
– สามารถสังเกตท่าทีของผู้บริ โภค
• ข้ อเสีย
– ต้ นทุนสูง
– ผู้สมั ภาษณ์อาจมีความลาเอียงได้
– ใช้ เวลามากในการสัมภาษณ์
3-26
การทาแบบสารวจ
4)การใช้ แบบสอบถามออนไลน์
• ข้ อดี
–
–
–
–
เก็บข้ อมูลได้ ทนั ที
คาถามสามารถยืดหยุน่ ได้
ต้ นทุนต่า
ลดความลาเอียงของผู้
สัมภาษณ์
– ผู้ให้ ข้อมูลสามารถเข้ ามาทา
แบบสอบถามได้ โดยไม่จากัด
สถานที่
• ข้ อเสีย
– ไม่สามารถทราบได้ วา่ ใครเป็ น
คนตอบแบบสอบถาม
– คาตอบที่ได้ อาจจะเป็ นคาตอบ
ที่ลวงหรื อตอบเล่นๆได้
– จากัดความยาวของคาถาม
– การลาเอียงจากการเลือกตอบ
โดยสมัครใจ
3-27
ตัวอย่ าง
• แบบสอบถามแบบต่อหน้ า
โอวัลติน
• แบบสอบถามออนไลน์
http://www.doeb.go.th/surveyonline/
3-28
การสังเกต
เน้ นการบันทึกพฤติกรรมแบบไม่ให้ ผ้ บู ริโภครู้ตวั
• การสังเกตโดยบุคคล (Personal observation)
– การเฝ้าสังเกตวิธีการใช้ หรื อเลือกซื ้อสินค้ า
• การวัดโดยไม่เข้ าไปร่วม (Unobtrusive measures)
– การตรวจห้ องครัว หรื อ ถังขยะ
• การสังเกตด้ วยเครื่ องมือกล (Mechanical observation)
– People meters by AC Nielsen เพื่อบันทึกลักษณะการชมรายการ
โทรทัศน์ของผู้บริโภค
3-29
คุณภาพของข้ อมูล (Data Quality)
• ความเที่ยงตรง (Validity)
ความสามารถของการวิจยั ที่จะวัดสิ่งที่ต้องการจะวัดจริ งๆ
ตัวอย่าง ความชอบในรสชาติ ≠ ความชอบในยี่ห้อ
• ความเชื่อถือได้ (Reliability)
ความสามารถของวิธีการวัดที่ทาได้ อย่างไม่มีความคลาดเลื่อน
ตัวอย่าง คาถามเรื่ องละเอียดอ่อน คาถามเรื่ องนามธรรม
• ความเป็ นตัวแทนประชากร (Representativeness)
ระดับความใกล้ เคียงกันระหว่างผู้บริ โภคที่เป็ นผู้ให้ ข้อมูลในการวิจยั กับ
กลุม่ ประชากรจริ งที่องค์กรให้ ความสนใจ
3-30
ขัน้ ที่ 4 การออกแบบกลุ่มตัวอย่ าง
การคัดเลือกผู้ให้ ข้อมูล
• การสุม่ ตัวอย่างที่ใช้ ความน่าจะเป็ น (Probability samples)
– ทุกคนมีโอกาสถูกเลือกเป็ นตัวอย่างภายใต้ ความน่าจะเป็ นเท่ากันที่สามารถ
คานวณได้
– หาข้ อสรุปของประชากรได้
• การสุม่ ตัวอย่างที่ไม่ใช้ ความน่าจะเป็ น (Non-probability samples)
– ทุกคนมีโอกาสถูกเลือกมาเป็ นตัวอย่างไม่เท่ากัน
– หาข้ อสรุปของประชากรไม่ได้
3-31
กลุ่มตัวอย่ างที่ใช้ ความน่ าจะเป็ น
• การสุ่มตัวอย่ างแบบง่ าย (Simple random sample)
เช่น การจับฉลาก
• การสุ่มตัวอย่ างแบบมีระบบ (Systematic random sample)
เช่น สุม่ จากคนที่ลาดับลงท้ ายด้ วย 4 และ 9
• การสุ่มตัวอย่ างแบบกาหนดชัน้ กลุ่ม (Stratified sample)
สุม่ จากกลุม่ ประชากร เช่น เพศชาย เพศหญิง
3-32
กลุ่มตัวอย่ างที่ไม่ ใช้ ความน่ าจะเป็ น
• ใช้ วิจารณญาณส่วนบุคคลในการเลือกผู้ให้ ข้อมูล
• การสุ่มตัวอย่ างโดยใช้ ความสะดวก (Convenience sample)
กลุม่ ตัวอย่างประกอบด้ วยบุคคลที่สะดวกที่สดุ ในการเข้ าถึงในเวลา
และสถานที่ที่ไปเก็บข้ อมูล
• การสุ่มตัวอย่ างแบบโควต้ า (Quota sample)
คนในกลุม่ มีคณ
ุ ลักษณะเป็ นสัดส่วนเดียวกับที่จะพบเห็นในประชากร
จริ ง
คล้ ายกับการสุม่ แบบกาหนดชันกลุ
้ ม่ แต่ตา่ งกันที่การเลือกคนเป็ นไป
ตามวิจารณญาณส่วนบุคคล
3-33
ขัน้ ที่ 5 การรวบรวมข้ อมูล
-คุณภาพของการเก็บข้ อมูลมีผลต่อความถูกต้ องแม่นยาของข้ อมูล
-การจัดเก็บข้ อมูลในต่างประเทศ
ปั ญหาเรื่ องการเข้ าถึง การครอบคลุมของระบบสาธารณูปโภค และภาษา
-การหาผลกระทบของแต่ละส่วนประสมทางการตลาดต่อประสิทธิภาพ
ของกลยุทธ์การตลาดโดยรวม
นิยมใช้ ข้อมูลจากแหล่งเดียวกัน
ข้ อมูลจากคณะผู้บริโภค (consumer panel) ที่เข้ าร่วมการวิจยั โดยใช้
เครื่ องมือในการเก็บพฤติกรรมการซื ้อและการชมโฆษณาของแต่ละ
บุคคล เช่น เครื่ องสแกนเนอร์ ในร้ านค้ าปลีก เครื่ องบันทึกการรับชม
โทรทัศน์
3-34
ขัน้ ที่ 6 การวิเคราะห์ และตีความข้ อมูล
• การป้อนข้ อมูลและเลือกเทคนิคการประมวลผลข้ อมูล
• ตีความผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้
ตัวอย่ าง ในหน้ า 3-27
คาถาม ผู้บริโภคนิยมซื ้อสินค้ าเด็กจากแหล่งใด รายได้ ของผู้ปกครองมีผล
ต่อการเลือกซื ้อเสื ้อผ้ าเด็กจากแหล่งที่ตา่ งกัน
ดูแผนภาพที่ 3.6
สรุป ผู้มีรายได้ สงู นิยมซื ้อเสื ้อผ้ าเด็กที่ห้างสรรพสินค้ ามากกว่าผู้มี
รายได้ ต่า
3-35
ขัน้ ที่ 7 การนาเสนอรายงาน
• บทสรุปผู้บริหาร
• รายละเอียดวิธีการทาวิจยั
• การอภิปรายผล
• ข้ อจากัดของการศึกษา
• สรุปผลการวิจยั และข้ อเสนอแนะ
3-36
การวิจัยออนไลน์ (Online Research)
• มี 2 ประเภท
1)การติดตามออนไลน์ (Online Tracking)
การใช้ Cookies
2)การทดสอบ การใช้ แบบสอบถาม และการสนทนา
กลุม่ (Chatroom)
3-37
การติดตามออนไลน์
• อินเตอร์ เน็ตสามารถสะกดรอยและติตดามผู้บริโภคขณะใช้ งาน
• พฤติกรรมหลายอย่างถูกจับตาได้ เช่น
– ผู้บริโภคเข้ าไปที่ Web site ใดและใช้ เวลาเท่าไหร่
– ผู้บริโภคเข้ าไปใช้ บริการใดใน Web site นัน้
– ผู้บริโภคเข้ าไปที่ Web site ใดต่อจากนัน้
3-38
Cookies
• Cookies คือ ไฟล์ที่ถกู สร้ างขึ ้นโดยเว็บไซด์และเก็บในฮาร์ ดดิสก์
ของผู้ใช้ โดยมีรายละเอียดสาหรับการเยี่ยมชมต่างๆ เพื่อใช้ ในการ
อ้ างอิงในคราวหน้ า
• ช่วยในการสังเกตพฤติกรรมของผู้บริโภคและปรับแต่งการนาเสนอ
ให้ เหมาะกับลูกค้ าแต่ละราย
• Issue ความเป็ นส่วนตัว vs. การปรับแต่งเฉพาะ (Customization)
3-39
จุดประสงค์ ของการวิจัยผ่ านช่ องทางออนไลน์
•
•
•
•
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
การประมาณการตอบสนอง
การทดสอบตลาด
สารวจความคิดเห็นต่อผลิตภัณฑ์
3-40
ข้ อจากัดของการวิจัยออนไลน์
•
•
•
•
ความเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร
มีความลาเอียงในการตอบแบบสอบถาม
ผู้บกุ รุกมีอิทธิพลต่อการโจรกรรมข้ อมูล
ภัยคุกคามต่อระบบข่าวกรองทางการตลาด
3-41