หัวข้อ - สำนัก สุขาภิบาล อาหาร และ น้ำ

Download Report

Transcript หัวข้อ - สำนัก สุขาภิบาล อาหาร และ น้ำ

นโยบายและกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับงานส ุขาภิบาลอาหาร
โดย... พรพรรณ ไม้สพ
ุ ร
ศ ูนย์บริหารกฎหมายสาธารณส ุข
10 กุมภาพันธ์ 2554
หัวข้อการบรรยายประกอบด้วย

การแปลงนโยบายระดับประเทศสู่ทอ้ งถิ่น
 กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับงานสุขาภิ บาลอาหาร
 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
(หมวด 8 และ 9)
 บทบาทของเจ้าพนักงานตามกฎหมาย
สาธารณสุขในการบังคับใช้กฎหมาย
ตัวอย่างเรือ่ งร้องเรียน
สถานที่จาหน่ายอาหาร
พบแมลงสาบ/ขีแ้ มลงสาบ/
ขีห้ นู/เส้ นผม/เศษวัตถุ
อืน่ ๆในอาหาร
กลิน่ /ควัน จากการปิ้ งย่ าง/หรือ
การปรุงอาหารด้ วยวิธีอนื่ ๆ
นาอาหารทีเ่ สี ยมาปรุงอาหาร
กิ น อาหารจากร้ านนี้ แ ล้ ว
ท้ องเสี ย /อาหารเป็ นพิษ
แสบตาจากแอลกอฮอล์
สาหรับอุ่นอาหาร
จาน/ชามและอุปกรณ์ อนื่ ๆสกปรก
ร้ านอาหาร/แผงลอย ไม่ สะอาด
พืน้ เฉอะแฉะ /มีหนู แมลงสาบวิง่
โรงงานปลาหมึกดองกรอบ
โซดาไฟสีแดง
ฟอร์มาลินผสมสีแดง
ผลิตเสร็จพร้อมส่งให้ลกู ค้า
นโยบายอาหารปลอดภัย
วัตถ ุประสงค์ทวั่ ไป
• เพือ่ คุ้มครองผู้บริโภคด้ านอาหาร
• เพือ่ การสร้ างเสริมสุ ขภาพประชาชน
วัตถ ุประสงค์เฉพาะ
• รณรงค์ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร (เน้ น 6 ชนิด)
• ส่ งเสริมพัฒนา “ตลาดสดน่ าซื้อ” (สุ ขาภิบาลอาหาร/สถานที)่
• ส่ งเสริม “ร้ านอาหารสะอาด รสชาติอร่ อย” (CFGT.)
• ส่ งเสริม “การมีบัตรประจาตัวผู้สัมผัสอาหาร”
• ส่ งเสริม “การมีส้วมทีถ่ ูกสุ ขลักษณะในร้ านอาหาร”
กลวิธี
• ใช้ มาตรการด้ านกฎหมายการสาธารณสุ ข & อาหาร ควบคู่กนั
• ใช้ กลไกของส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค และส่ วนท้ องถิน่ แบบบูรณาการ
• ใช้ มาตรการประชาสั มพันธ์ การมีส่วนร่ วมของประชาชน
ตรวจสอบ
คุณภาพ
อาหาร
ตลาดสด
น่ าซื้อ
ร้านอาหาร
สะอาด
รสชาติ
อร่อย
บัตร
ประจาตัวผู ้
สัมผัส
อาหาร
ส้วมที่ถกู
สุขลักษณะ
ใน
ร้านอาหาร
ราชการส่ วนท้ องถิ่น
กฎกระทรวงเรื่องตลาด
• มาตรฐานด้ านโครงสร้ าง สถานที่
• สุ ขลักษณะการจาหน่ าย/วางสิ นค้ า
• สุ ขลักษณะผู้ขาย/ผู้ช่วยขายในตลาด
• ระบบกาจัดสิ่ งปฏิกลู มูลฝอย นา้ เสี ย
ตลาดใหม่
กระทรวงสาธารณสุ ข
โครงการตลาดสดน่ าซื้อ
ผ่านมาตรฐานทั้ง 3 ด้ าน
• การสุ ขาภิบาล
• ความปลอดภัย (6 ชนิด)
• การคุ้มครองผู้บริโภค (3 ข้ อ)
• มาตรฐานระดับดี 17 ข้ อ
• มาตรฐานระดับดีมาก 17 + 18 ข้ อ
ตลาดเก่ า
ราชการส่ วนท้ องถิ่น
ข้ อกาหนดของท้ องถิ่น
• สุ ขลักษณะของอาคาร สถานที่
• สุ ขลักษณะการปรุ ง/ประกอบ/ขาย
• สุ ขลักษณะผู้สัมผัสอาหาร
• การระบายอากาศ/กาจัดสิ่ งปฏิกูล มูลฝอย
•ร้ านอาหาร CFGT.
•ร้ านอาหาร 5 ดาว
กระทรวงสาธารณสุ ข
โครงการ CFGT.
• มาตรฐานร้ านอาหาร 15 ข้ อ
• มาตรฐานแผงลอย 12 ข้ อ
• ตรวจสอบ SI2. ได้ มาตรฐาน
โครงการร้านอาหาร 5 ดาว(สมัครใจ)
• ได้ป้าย CFGT. และ
• เพิ่ม 1)เมนูชูสุขภาพ 2)ส้วม HAS
3)ล้างมือ และ 4) ช้อนกลาง
ร้ านอาหาร
ราชการส่ วนท้ องถิ่น
ข้ อกาหนดของท้ องถิ่น
• สุ ขลักษณะส่ วนบุคคลของผู้สัมผัสอาหาร
• ผู้สัมผัสอาหาร หมายถึง บุคคลที่
เกีย่ วข้ องกับอาหารตั้งแต่ กระบวนการ
เตรียม ปรุ ง ประกอบ จาหน่ ายและเสิ ร์ฟ
รวมถึงล้ างและเก็บภาชนะอุปกรณ์
• สถานทีจ่ าหน่ ายอาหาร
• การจาหน่ ายอาหารในที/่ ทางสาธารณะ
กระทรวงสาธารณสุ ข
โครงการบัตรผู้สัมผัสอาหาร
• มีความรู้ ด้านสุ ขาภิบาลอาหาร โดยผ่ าน
การอบรมหรือทดสอบความรู้
• ต้ องตรวจสุ ขภาพและมีหนังสื อรับรองแพทย์
(ก่ อน และอย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั้ง)
• ต้ องปฏิบตั ิตนในขณะทางานตามข้ อกาหนด
ของท้ องถิ่น
• อืน่ ๆตามข้ อกาหนดของท้ องถิ่น
ผู้เตรียมอาหาร /ผู้ปรุง-ประกอบอาหาร/
ผู้เสิ ร์ฟอาหาร/ผู้จาหน่ ายอาหาร/ผู้ล้าง
และเก็บภาชนะอุปกรณ์
ราชการส่ วนท้ องถิ่น
กฎกระทรวงส้ วมในร้ านอาหาร/ปั๊ม
นา้ มันฯ (ออกตามกฎหมายว่ าด้วยการ
รักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบ
เรียบร้ อยของบ้ านเมือง)
• มาตรฐานด้ านโครงสร้ าง วัสดุอุปกรณ์
• ต้ องจัดให้ มสี ้ วมทีต่ ้ องด้ วยสุ ขลักษณะ
และเปิ ดให้ ประชาชนผู้ใช้ บริการได้ ใช้
ตลอดเวลาที่ให้ บริการ
• จานวนห้ องส้ วม(จานวนทีน่ ั่งสาหรับ
ลูกค้ าไม่ ตา่ กว่ า 20 ทีน่ ั่ง)
กระทรวงสาธารณสุ ข
โครงการส้ วมในร้ านอาหาร
1)ร้ านอาหารทีม่ พี นื้ ทีเ่ กินกว่ า 200 ตร.ม.
ต้ องจัดให้ มีส้วมตามที่
กฎกระทรวงกาหนด
(ปี 54 เป้ าหมาย 60 %)
2)ร้ านอาหารทีม่ พี นื้ ทีไ่ ม่ เกิน 200 ตร.ม.
ควรจัดให้ มีส้วมตามที่
กฎกระทรวงกาหนด
(ตาม
ความสมัครใจ)
กระบวนการได้ มาซึ่งอาหารของประชาชน
แหล่งเลีย้ งสั ตว์
พรบ.ฆ่ า&
จาหน่ าย
เนือ้ สั ตว์
โรงฆ่ าสั ตว์
แหล่งปลูกพืช
สถานที่ผลิตอาหาร
พรบ.
โรงงาน
ตลาด/ร้ านสะสมอาหาร
พรบ.การ
สาธารณสุ ข
พรบ. รักษา
ความสะอาดฯ
ร้ านอาหาร
หาบเร่ แผงลอย
อาหารสะอาด
ผูบ้ ริโภคปลอดภัย
ครัวเรือน
พรบ.
อาหาร
ราชการส่ วนท้ องถิ่น
ใช้ พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุ ข เพือ่
คุ้มครอง
สุ ขภาพ
ประชาชน
ป้องกัน
จุลนิ ทรีย์
ที่ก่อโรค
มลพิษ
สิ่ งแวดล้อม
บทบาทกรมอนามัย & ท้ องถิ่น ตาม พรบ.สาธารณสุข
รัฐมนตรี
• ออกกฎกระทรวง
• ออกประกาศกระทรวง
ราชการส่ วนท้ องถิ่น
เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
•ตราข้ อกาหนดฯ
•บังคับใช้ ตามข้ อ
กาหนด/พ.ร.บ.
คณะกรรมการสาธารณสุข
อธิบดีกรมอนามัย(เลขาฯ)
สนับสนุน/แนะนา
สอดส่ องดูแล
จพง.สาธารณสุข
(ศูนย์/สสจ./สสอ./สอ.)
• กาจัดสิ่งปฏิกูล/มูลฝอย
• สุขลักษณะของอาคาร
• เหตุราคาญ
• การควบคุมการเลีย้ งสัตว์
• กิจการที่เป็ นอันตรายต่ อสุขภาพ
• ตลาด/สถานที่ขาย/สะสมอาหาร
• การขายสินค้ าในที่/ทางสาธารณะ
บทบัญญัติ พรบ.สธ. ที่เกี่ยวข้องด้านอาหาร
1
2
3
ตลาด (หมวด 8)
สถานที่จาหน่ ายอาหารและ
สถานที่สะสมอาหาร (หมวด 8)
การจาหน่ ายสินค้าประเภทอาหาร
ในที่หรือทางสาธารณะ (หมวด 9)
สารบัญญัติ พรบ. สธ. เรื่อง “ตลาด”
ตลาด
สถานทีซ่ ึ่งปกติจัดไว้ ให้ ผ้ ูค้า ใช้ เป็ นทีช่ ุมนุมเพือ่
จาหน่ ายสิ นค้ าประเภท สัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรือ
อาหารอันมีสภาพเป็ น ของสด ประกอบ หรือปรุงแล้ ว
ของเสียง่ าย ทั้งนี้ ไม่ ว่าจะมีสินค้ าประเภทอืน่ ด้ วย
หรือไม่ กต็ าม หมายรวมถึง บริเวณ ซึ่งจัดไว้ เพือ่ การ
ดังกล่ าวเป็ นประจา / ครั้งคราว / ตามวันที่กาหนด
“ตลาด ตามกฎหมายสาธารณสุข
ตามมติคณะกรรมการสาธารณสุข
ในการประชุมครั้งที่ 40-4/2548 วันศุกร์ที่ 16 ก.ย. 48
การพิจารณาว่ าการประกอบกิจการในลักษณะใด
จึงจะถือว่ าเป็ น “ตลาด” ตามกฎหมายสาธารณสุ ข นั้น ต้ อง
ยึดถือองค์ ประกอบตามนิยามคาว่ า “ตลาด” เป็ นสาคัญ
โดยไม่ ต้องพิจารณาจานวนแผงของการจาหน่ าย
อาหารสดว่ าต้ องมีเท่ าใด หากลักษณะและองค์ ประกอบของ
การประกอบกิจการเป็ นไปตามนิยาม ย่ อมถือว่ าเป็ น
“ตลาด” ตามกฎหมายสาธารณสุ ข
ผูจ้ ดั ตัง้ ตลาด
เอกชน
ต้องขอ
อนุญาต
เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่น
มีอานาจ
ออก
กระทรวง ทบวง กรม
เปลี่ยนแปลง
ขยาย/ลด
ขนาดตลาด
ต้องปฏิบตั ิตาม
ไม่ตอ้ งขออนุญาต
แต่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม
เงื่อนไขเฉพาะที่
แจ้งเป็ นหนังสือ
ข้ อกาหนดของท้ องถิน่
เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
ข้ อกาหนด
ของท้ องถิ่น
ส ุขลักษณะของตลาด (ม.35)
• ที่ตงั้ แผนผัง สิ่ งปลูกสร้าง
• การจัดสถานที่ การวางสิ่ งของ
• การรักษาความสะอาด
• การกาจัดสิ่ งปฏิ กลู มูลฝอย การระบายน้ าทิ้ง
• การป้องกันเหตุราคาญและการระบาดของโรค
•สุขลักษณะของผูข้ ายและ ผูช้ ่วยขายในตลาด (ม.37)
กฎกระทรวง
ว่ าด้ วยสุ ขลักษณะของตลาด
พ.ศ. 2551
ออกตามพระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุ ข
พ.ศ. 2535
ผลของ
กฎกระทรวงฉบับใหม่
ลักษณะของตลาด
แบ่งเป็น 2ประเภท
ตลาดประเภทที่ 1
มีโครงสร้ างอาคาร
ใช้ บังคับตั้งแต่ 18 มกราคม 2551
ในเขตพืน้ ที่ กทม. เมืองพัทยา เทศบาล
ตลาดประเภทที่ 2
ไม่ มีโครงสร้ างอาคาร
โดยไม่ มเี งือ่ นไขเรื่องเวลา
แนวทางดาเนินการของราชการส่วนท้องถิ่น
1. ตรวจสอบข้อกำหนดของท้องถิ่น แล้วแก้ไข
ปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้สอดคล้อง
กฎกระทรวง
2. สำรวจตลำดในเขตพืน้ ที่ ว่ำเป็ นไปตำม
หลักเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่
3. ออกคำแนะนำให้ผปู้ ระกอบกิจกำรตลำด
แก้ไขปรับปรุงให้ถกู ต้อง ตำมข้อกำหนด
ของท้องถิ่นหรือกฎกระทรวง
สถานที่จาหน่ ายอาหาร
อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ ที่/ทางสาธารณะ
(และมิใช่ เป็ นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้ เพือ่ ประกอบ/ ปรุงอาหาร
จนสาเร็จ และจาหน่ ายให้ ผู้ซื้อสามารถบริโภคได้ ทันที ทั้งนีไ้ ม่ ว่าจัด
บริเวณไว้ สาหรับการบริโภค ณ ทีน่ ้ัน หรือนาไปบริโภคที่อนื่ ก็ตาม
สถานที่สะสมอาหาร
อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ ที่/ ทางสาธารณะ
(และมิใช่ เป็ นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้ สาหรับเก็บอาหารอัน
มีสภาพเป็ นของสด หรือของแห้ ง หรือ อาหารรูปลักษณะอื่นใด
ทีผ่ ู้ซื้อ ต้ องนาไปทา ประกอบ ปรุง เพือ่ บริโภค ในภายหลัง
ผูจ้ ดั ตัง้ สถานที่จาหน่าย / สะสมอาหาร
กรณี ที่มีพ้ ืนที่เกินกว่า
200 ตร.ม. และมิใช่
การขายของในตลาด
ขออนุญาต
กรณี ที่มีพ้ ืนที่ไม่เกิน
200 ตร.ม. และมิใช่
การขายของในตลาด
ปฏิบตั ิ ตาม
ข้อกาหนดของท้องถิ่น
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
แจ้ง
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ข้อกาหนดของ
ท้องถิ่น
สุขลักษณะสถานที่จาหน่ าย/ สะสมอาหาร
๏ ที่ตงั้ การใช้ การดูแลรักษาสถานที่
๏ อาหาร กรรมวิธีการจาหน่ าย ทา
ประกอบ ปรุง เก็บ สะสมอาหาร
๏ สุขวิทยาส่วนบุคคล
๏ ภาชนะ อุปกรณ์ น้ าใช้ และของใช้อ่ืนๆ
๏ การป้องกันเหตุราคาญ
และการป้องกันโรคติดต่อ
การควบคุมเรื่องการจาหน่ ายสิ นค้ า ในทีห่ รือทางสาธารณะ
ผู้จาหน่ ายสิ นค้ าในที/่
ทางสาธารณะ
ต้ อง
ปฏิบัติ
ตาม
ถ้ าเปลีย่ น
แปลง
ขออนุญาต
• ชนิด/ประเภทสิ นค้า
• ลักษณะการจาหน่าย
• สถานที่ขาย
• เงื่อนไขอื่น ๆ
ต้ องแจ้ ง
ข้ อกาหนดของท้ องถิ่น
เจ้ า
พนักงาน
ท้ องถิ่น
มีอานาจ
ประกาศเขต
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ข้อกาหนดของท้องถิ่น
สุ ขลักษณะเกีย่ วกับ
• ผู้ขาย/ผู้ช่วยขาย
• กรรมวิธีการจาหน่ าย ทา
ประกอบ ปรุง เก็บ/สะสม
• ความสะอาดภาชนะ นา้ ใช้ ของใช้
• การจัดวาง/ การเร่ ขาย
• เวลาจาหน่ าย
• ป้องกันเหตุราคาญ/ โรคติดต่ อ
ร่วมกับเจ้า
พนักงานจราจร
ประกาศเขต
• ห้ ามขายหรือซื้อโดยเด็ดขาด
• ห้ ามขายสิ นค้ าบางชนิด
• ห้ ามขายสิ นค้ าตามกาหนดเวลา
• เขตห้ ามขายตามลักษณะ
• กาหนดเงื่อนไขการจาหน่ าย
ปิ ดทีส่ านักงานฯ และบริเวณทีก่ าหนดเป็ นเขต
และระบุวนั บังคับ โดยไม่ น้อยกว่ า 15 วัน นับแต่ วนั ประกาศ
มาตรการควบคุมกิจการทีต่ ้ องขออนุญาต
โทษจาคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000 บาท หรือ
ม.71
1.ไม่ ได้ รับ
ใบอนุญาต
ทั้งจาทั้งปรับ
ม.72 โทษจาคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000บาท
ม.77 โทษปรับ >2,000บาท
2. ไม่ ปฏิบัตติ าม
• พรบ.
• กฎกระทรวง
• ข้ อกาหนดของท้ องถิ่น
• เงื่อนไขในใบอนุญาต
สั่ งให้ ปรับปรุง/แก้ ไข
จพถ.มี
อานาจ
สั่ งพักใช้ ใบอนุญาต
* ครั้งละไม่ เกิน 15 วัน
สั่ งเพิกถอนใบอนุญาต
* ถูกพักใช้ 2 ครั้งขึน้ ไป
* ต้ องคาพิพากษาว่ าผิด
* มีอนั ตรายร้ ายแรง
มาตรการควบคุมกิจการทีต่ ้ องแจ้ง
1. ผู้ใดประกอบ
กิจการโดยไม่ แจ้ ง
2. กรณีดาเนิน
กิจการโดยไม่ แจ้ ง
แล้วเคยได้ รับโทษ
เพราะไม่ แจ้ งมา
แล้วครั้งหนึ่ง
(ม.72 ว.2) โทษจาคุกไม่ เกิน 3 เดือน
หรือปรับไม่ เกิน 5,000 บาท
สั่ งให้ หยุดกิจการ
ถ้ าฝ่ าฝื นอีก
สั่ งห้ ามดาเนินกิจการ
ตามเวลาที่กาหนด
แต่ ไม่ เกิน 2 ปี
(ม.80) โทษจาคุก
ไม่ เกิน 6 เดือน หรือ
ปรับไม่ เกิน 10,000บาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
และปรับอีกวันละ
ไม่ เกิน 5,000 บาท
บทบาทของเจ้าพนักงาน
ตามกฎหมายสาธารณส ุข
ในการบังคับใช้กฎหมาย
โดย...
ศ ูนย์บริหารกฎหมายสาธารณส ุข
กรมอนามัย
อำนำจหน้ำที่ของเจ้ำพนักงำน
1
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
เจ้าพนักงาน
สาธารณสุข
ผูซ้ ึ่งได้รบั แต่งตัง้ จาก
เจ้าพนักงานท้องถิ่น
3
2
1.อานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
1. ออกข้อกาหนดของท้องถิ่น
2. ออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง
ตรวจตราดูแลกิจการต่าง ๆ
3. ออกคาสัง่ ให้ผูป้ ระกอบการ/บุคคล แก้ไข
ปรับปรุง กรณี ปฏิบตั ิไม่ถกู ต้อง
4. กรณี ไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ อาจสัง่ ให้หยุด
กิจการ/พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาตได้
แล้วแต่กรณี
5. เปรียบเทียบคดีในบางคดี
6. แต่งตัง้ ผูไ้ ด้รบั การแต่งตัง้ จาก จพถ.
7. อื่นๆที่ระบุไว้ใน พรบ.
2.อานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน
สาธารณสุข
ม. 46
1. แจ้ง จพง.ท้องถิ่นเพื่อออกคาสัง่
เมื่อพบเห็นการปฏิ บตั ิท่ีไม่ถกู ต้อง
2. ออกคาสัง่ ให้แก้ไขปรับปรุงได้
กรณี ที่เป็ นอันตรายร้ายแรงและ
ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน แล้วแจ้ง
จพง.ท้องถิ่น ทราบ
1) เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่น
2) เจ้าพนักงาน
สาธารณสุข
3) ผูไ้ ด้รบั แต่ง
ตัง้ จาก จพง.
ท้องถิ่น
ม.44
(1) เรียกบุคคลมาให้ ถ้อยคา ทาคาชี้แจงหรือส่ งเอกสาร
(2) เข้ าไปในอาคารหรือสถานทีใ่ ดๆในระหว่ างพระ
อาทิตย์ ขนึ้ -ตก หรือในเวลาทาการเพือ่ ตรวจสอบ
ควบคุม หรือดูหลักฐาน
(3) แนะนาให้ ผู้ประกอบการปฏิบัติให้ ถูกต้ องตาม
เงื่อนไขหรือข้ อกาหนดของท้ องถิ่น
(4) ยึดหรืออายัด สิ่ งของใดๆที่อาจเป็ นอันตราย
เพือ่ ดาเนินคดี หรือทาลายในกรณีทจี่ าเป็ น
(5) เก็บหรือนา สิ นค้ า หรือสิ่ งของใดๆที่ สงสั ย
หรืออาจก่อเหตุราคาญในปริมาณทีส่ มควร
เพือ่ เป็ นตัวอย่ างในการตรวจสอบ โดยไม่ ต้องใช้ ราคา
แบบตรวจแนะนาของเจ้ าพนักงานตามมาตรา 44 (3)
แห่ งพระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ.2535
สาหรับ ผปก. /
จพถ. / จพส.
1. วันที.่ .... เดือน ........... พ.ศ. ........
2. ชื่อ เจ้ าของ/ผู้ครอบครอง .............................................
3. สถานประกอบการชื่อ .................. กิจการ ....................... ตั้งอยู่เลขที.่ .......
ถนน.............. ตาบล........... อาเภอ............... จังหวัด................โทร. ..........
4. ข้ อแนะนา (เพื่อการปรั บปรุ งแก้ ไข)
(1) ............................................................................................................
(2) ............................................................................................................
ภายใน..........วัน มิเช่ นนั้น จะดาเนินการออกคาสั่ งทางปกครองต่ อไป
อนึ่ง หากท่ านมีข้อโต้ แย้ ง ให้ จัดส่ งคาโต้ แย้ งต่ อจพง.ภายในกาหนดเวลาข้ างต้ น
ลงชื่อ .........................
ลงชื่อ .........................
( ....................... )
เจ้ าของ /ผู้ครอบครอง
( ....................... )
เจ้ าพนักงาน ...............
การออกคาสัง่ ทางปกครอง
ต้อง จัดให้มีเหต ุผล ไว้ดว้ ย
เหตุผลอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย
(1) ข้อเท็จจริงอั นเป็ นสาระสาคัญ
(2) ข้อกฎหมายที่อ้างอิ ง
(3) ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุน
ในการใช้ดุลพินิจ
คาสั ่งทางปกครองที่อาจ
อุทธรณ์หรือโต้แย้งได้
(4) แจ้งสิทธิการโต้แย้ง /อุทธรณ์
ตัวอย่ างแบบออกคาสั่ง
(ตราครุ ฑ)
ที่ ......./........
สานักงานเทศบาล (อบต.) .............
วันที่....เดือน........... พ.ศ.........
เรื่ อง คาสั่งของเจ้ าพนักงานท้ องถิ่นให้ ระงับเหตุราคาญ
เรี ยน ......................................................
ตามที่เทศบาลได้ รับแจ้ งว่ าท่ านซึ่งประกอบกิจการที่
บ้ านเลขที่....... ถนน............ ตาบล............. อาเภอ.............จังหวัด
........... ได้ ก่อให้ เกิดเหตุเดือดร้ อนราคาญแก่ ผ้ ูอยู่อาศัยข้ างเคียง
เทศบาลจึงได้ ส่ง นาย/นาง/น.ส. ..................ตาแหน่ ง .....................
เจ้ าพนักงานสาธารณสุข ไปตรวจสอบ เมื่อวันที่............... พบว่ า
.......(สภาพข้ อเท็จจริง) ...........
จึงพิจารณาเห็นว่ าเป็ นเหตุราคาญตามบทบัญญัตมิ าตรา 25 (...)
แห่ งพรบ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535 และโดยที่เจ้ าพนักงาน
สาธารณสุขได้ ตรวจแนะนาตามอานาจหน้ าที่ตามมาตรา 44 (3)
แล้ ว ปรากฏว่ า ท่ านมิได้ ปรั บปรุ งแก้ ไขตามคาแนะนาของเจ้ า
พนักงานสาธารณสุข ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ในคาแนะนา
(เป็ นข้ อสนับสนุนให้ ใช้ ดุลพินิจออกคาสั่งซึง่ อาจมีเหตุผลอื่นๆ ก็ได้ )
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 28 แห่ ง พรบ. การ
สาธารณสุข พ.ศ.2535 ออกคาสั่งให้ ท่านปรั บปรุ งแก้ ไขและระงับ
เหตุราคาญ ดังนี ้
(1) ......................................................................................
(2) ......................................................................................
ภายในกาหนด....วัน (ตามความเหมาะสม) นับแต่ วันที่ได้ รับคาสั่งนี ้
หากไม่ ปฏิบัตติ ามคาสั่งภายในระยะเวลาดังกล่ าว จะมีโทษจาคุกไม่ เกิน
1 เดือนหรือปรับไม่ เกิน 2,000 บาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ ตามมาตรา 74
(แล้ วแต่ กรณีความผิด)
อนึ่ง หากท่ านไม่ พอใจคาสั่งหรือเห็นว่ าไม่ ได้ รับความ
เป็ นธรรม ท่ านมี สิทธิอุทธรณ์ คาสั่งของเจ้ าพนักงานท้ องถิ่นนีต้ ่ อ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ ภายใน 30 วันนับแต่ วัน ที่ได้
รับทราบคาสั่งนี ้
จึงเรียนมาเพื่อโปรดดาเนินการตามคาสั่งข้ างต้ นด้ วย
ขอแสดงความนับถือ
........................................
(..................................)
ตาแหน่ ง ..............................เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
การตรวจสอบความชอบด้ วยกฎหมาย



๓. การกระทาชอบหรือไม่
๒. ถูกต้ องตามขั้นตอนและวิธีการ
อันเป็ นสาระสาคัญหรือไม่
๑. มีอานาจตาม
กฎหมายหรือไม่
การอุทธรณ์ (ม. 66)
ผู้ทไี่ ด้ รับคาสั่ งและไม่ พอใจ
คาสั่ งของ จพง.ท้ องถิ่น
• ม.21, ม.22 สุ ขลักษณะอาคาร
• ม.27 ว.1, ม.28 ว.1,ว.3 เหตุราคาญ
• ม.45 สั่ งแก้ไข/หยุดกิจการ
• ม.48 ว.5 ให้ การแจ้ งเป็ นอันสิ้นผล
• ม.52 สั่ งหยุด/ห้ าม (ไม่ เกิน 2 ปี )
• ม.65 ว.2 สั่ งหยุด (ไม่ เสี ยค่ าธรรมเนียม)
• สั่ งไม่ ออก/ไม่ ต่ออายุ/เพิกถอนใบอนุญาต
คาสั่ งของ จพง.สาธารณสุ ข
• ม.46 ว.2 สั่ งกรณีร้ายแรง
คาสั่ งให้
เป็ นทีส่ ุ ด
รมว.สาธารณสุ ข
มีสิทธิอทุ ธรณ์ ได้
ภายใน 30 วัน
การเปรียบเทียบคดี
กทม.
1.คณะกรรมการ
เปรียบเทียบคดี
ต่ าง จว.
- ผู้แทน กทม.
- ผู้แทน สนง.อัยการสู งสุ ด
- ผู้แทนสานักงานตารวจฯ
- ผู้ว่าราชการจังหวัด
- อัยการจังหวัด
- ผู้บังคับการตารวจภูธร
จังหวัด
2. เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
หรือผู้ซึ่งเจ้ าพนักงาน
ท้ องถิ่นมอบหมาย
บรรดาความผิดที่
เห็นว่ าผู้ต้องหาไม่
สมควรได้ รับโทษ
จาคุก/ถูกฟ้องร้ อง
ความผิดทีม่ ีโทษปรับสถานเดียว/
โทษจาคุกไม่ เกิน 1 เดือน หรือปรับ
ไม่ เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
การดาเนิ นคดีทางศาล
มีการฝ่ าฝื น/กระทาความผิ ด
ผูเ้ สียหาย
จพถ. /จพส.
ร้องทุกข์
จพง.สอบสวน
ดาเนิ นการสืบสวน/สอบสวน
- ให้ขอ้ มูล
- พยาน
จพง.อัยการ
สัง่ ไม่ฟ้อง
ฟ้องเอง
ศาล
สัง่ ฟ้อง
ไต่สวนมูลฟ้อง
ยกฟ้อง
ประทับฟ้อง
สืบพยาน พิพากษา
สรุปโครงสร้างอานาจหน้าที่ตาม พรบ.สธ.
กฎ/ประกาศกระทรวง
รมต.
คณะ กก.สธ.
• สนับสนุน
อธิบดีกรมอนามัย • สอดส่องดูแล
คณะอนุกก.
แต่งตัง้
แจ้
ง
จพง. สธ.
ราชการส่วนท้องถิ่น
จพง.ท้องถิ่น
ออกคาสัง่
ตาม ม.8
• ออกข้อกาหนด
• อนุญาต/ไม่อนุญาต
• ออกคาสัง่
ผูไ้ ด้รบั
แต่งตัง้
ผปก./เอกชน/ประชาชน
มีการฝ่ าฝื น พรบ.
คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี
จพง.ท้องถิ่น/ผูไ้ ด้รบั มอบหมาย
เปรียบเทียบคดี(ปรับ) ดาเนิ นคดีทางศาล
ปรัชญาพื้นฐาน การใช้มาตรการกฎหมาย
เพื่อจัดการให้สงั คมอยูร่ ว่ มกัน
อย่างเป็นปกติส ุข
กระบวนการใช้ มาตรการกฎหมาย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ประมวลปั ญหาชุมชน
กาหนดนโยบายสาธารณะท้องถิ่น
ออก “ข้อบัญญัติทอ้ งถิ่น”
เปิ ดประชาพิจารณ์
ประชุมชี้แจงผูเ้ กี่ยวข้อง
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
บังคับใช้ขอ้ บัญญัติตามขัน้ ตอน
WEB SITE
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ถนนติวานนท์ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทร. 0-2590-4175, 0-2590-4223
0-2590-4252, 0-2590-4256
โทรสาร 0-2591-8180