侨ԵÃ

Download Report

Transcript 侨ԵÃ

ฟาร์ มตัวอย่ าง ก. ดินชุดโวราช ปริมาณฝนสู ง (เฉลีย่ มากกว่ า 1,700 มม./ปี ) เป็ นฟาร์ มขนาดใหญ่ (พืน้ ที่ฟาร์ ม 120 ไร่ ปลูกยาง 82 ไร่ ) เกษตรกรฐานะดี
นายไพจิตร กาญจนเสน อายุ 56 ปี
สภาพทั่วไปของฟาร์ ม : สถานที่ ต้ งั บ้านเลขที่ 87 หมู่ 6 บ้านทุ่งนาเมือง ตาบลนาโพธิ์
กลาง จังหวัดอุบลราชธานี หมู่บา้ นเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติอยูห่ ่ างจากชายฝั่งแม่น้ า
โขงไม่ไกลนักและอยูใ่ นแนวรอยต่อเขตป่ าดงนาทาม ส่ วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติผาแต้ม
ลักษณะฟาร์ ม: ขนาดฟาร์ ม 120 ไร่ ลักษณะพื้นที่เป็ นที่ลุ่มสลับที่ดอน บริ เวณโดยรอบ
เป็ นป่ าเสื่ อมโทรม ดินมีลกั ษณะเป็ นดินร่ วนปนทราย บริ เวณที่ลุ่มเป็ นดินน้ าซับ เกษตรกรจึง
ขุดบ่อเลี้ยงปลาและรองรับน้ าไว้ใช้ในหน้าแล้ง พื้นที่โดยรอบปลูกปาล์มน้ ามัน
เกษตรกรมีสมาชิกในครอบครัว 7 คน ใช้แรงงานทาการเกษตร 2 คน จ้างแรงงานประจา
4 คน เพื่อกรี ดและดูแลรักษาสวนยาง อาชีพรองของเกษตรกรคือค้าขายผลิตผลทางการเกษตร
กิจกรรมในฟาร์ ม : ลักษณะผสมผสานระหว่างการปลูกพืช ไม้ยืนต้นและการเลี้ ยงสัตว์ใน
ลักษณะวนเกษตร (Agroforestry) ซึ่ งประกอบด้วยไม้ผล (มะม่วง มะขาม กระท้อน มะม่วง)
ยางพารา ปาล์มน้ ามันและทานา นอกจากนี้ ยงั ปลูกไม้ใช้สอยเช่นสะเดา ไผ่ พร้อมทั้งเลี้ยงปศุ
สัตว์โดยการปล่อยพื้นที่ว่างเปล่าจานวน 8 ไร่ เป็ นแปลงหญ้าสาหรับเลี้ยงวัว กระบือและใน
ระหว่างแถวปาล์มยังปลูกหญ้ากินนีสีม่วงแซมด้วย ปั จจุบนั ปาล์มน้ ามันอายุประมาณ 1 ปี
จากข้อมูลในตารางดินในฟาร์ มตัวอย่างมีอินทรี ยวัตถุ โพแทสเซี ยมและ ฟอสฟอรัส อยูใ่ นเกณฑ์ที่
ต่ากว่ามาตรฐานของดินทัว่ ไป ส่ วนระดับ pH อยูใ่ นระดับที่ค่อนข้างเป็ นกรด จึงสรุ ปได้ว่าดินในแปลง
ตัวอย่างมี pH ที่เหมาะสมในการปลูกยางพารา (pH 4.4-5.5 )
ข้ อเสนอแนะ: ควรมีการจัดการเรื่ องธาตุอาหารในดินโดยการใส่ ปุ๋ยคอกหรื อปุ๋ ยอินทรี ยร์ ่ วมกับปุ๋ ยเคมี
เพื่อเพิม่ อินทรี ยวัตถุและธาตุอาหารที่จาเป็ นต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิต
การวิเวราะห์ การเจริญเติบโตยางพาราแปลงตัวอย่ าง
จากการสุ่ มวัดการเจริ ญเติบโตต้นยางพาราพบว่าขนาดลาต้นมีเส้นรอบวงเฉลี่ย 44 .6 เซนติเมตร
และมีความสูงเฉลี่ย 13 เมตร และเปอร์เซ็นต์แสงส่ องพื้นเฉลี่ย 10 เปอร์เซ็นต์
ต้ นทุนการผลิตยางพาราพืน้ ที่
ตารางที่ 2 ต้ นทุนการผลิตยางพาราตั้งแต่ เริ่มปลูกจนถึงปัจจุบัน
ปี ที่ 1
ปี ที่ 2
ปี ที่ 3
ปี ที่ 4
ปี ที่ 5
ปี ที่ 6
ปี ที่ 7
ปี ที่ 8
ปี ที่ 9
ปี ที่ 10
10,000
10,000
10,000
10,000
10,000
12,000
12,000
12,000
12,000
9,120
12,160
19,200
- ปุ๋ ยเคมี (สู ตร 15-7-18 )
25,000
26,500
26,500
28,500
- ปุ๋ ยคอก ( ปุ๋ ยมูลสัตว์ )
11,040
11,040
14,400
14,400
- อื่นๆ......แกลบ.....
2,700
2,700
2,700
2,700
รายการ
1. เตรี ยมดิน ( ค่าบุกเบิก / ไถครั้งที่ 1 / ไถครั้งที่ 2)
7,500
2. การทาแนวกันไฟ ( แรงงาน / อุปกรณ์)
10,000
3. การปลูก
22,000
- ค่าพันธุ์
- วัสดุและอุปกรณ์ปลูก
118
- ค่าขนส่ งพันธุ์
700
- ปุ๋ ยรองก้นหลุม (สู ตร 15-15-15)
1,400
650
- ยากาจัดศัตรู พืช
12,000
- เครื่ องพ่นยา
การปลูกยางพารา : เกษตรกรปลูกยางพารา 3 แปลง แปลงแรกพื้นที่ 30 ไร่ ปลูกยางพันธุ์ RRIM600
เมื่อที่ พ.ศ. 2539 แปลงที่ สองพื้นที่ 22 ไร่ ปลูกพันธุ์ RRIM600 ปี พ.ศ. 2540 และ PBM 24 แปลงที่
สามพื้นที่ 30 ไร่ ปลูกยางพันธุ์ RRIM600ปี พ.ศ. 2545
2,800
แรงงานปลูก
- จ้าง (ขุดหลุม/ปลูก/กลบ)
6,000
4. การบารุ งรักษา
- ปุ๋ ยเคมี (สู ตร 18-4-5 )
4,200
7,600
7,600
- ปุ๋ ยเคมี (สู ตร 18-10-6 )
การกาจัดวัชพืช
- ยากาจัดวัชพืช (ไกรโฟเซต)
12,000
- ไถพรวนกาจัดวัชพืชและกลบปุ๋ ย
10,000
10,000
6,000
6,000
6,000
200
200
200
200
200
240
240
240
2,500
2,500
2,500
3,000
3,000
3,000
3,000
54,870
1,600
1,600
1,600
109,700
57,080
60,440
62,440
แรงงานจ้าง (บาท) - แรงงานดายหญ้า/ถางหญ้า
- จ้างแรงงานใส่ ปุ๋ย
180
200
- แรงงานฉีดพ่น
300
- จ้างแรงงานตัดแต่งกิ่ง
2,500
2,500
2,500
5. การกรี ดยาง
วัสดุอุปกรณ์กรี ดยาง/ กรี ดน้ ายาง (มีดกรี ดยาง/หินลับมีด/แบตเตอรี่ /เครื่ อง
ชาร์จแบตเตอรี่ )
วิเวราะห์ การลงทุนและผลตอบแทนในการปลูกยางพารา (ตัวอย่ างแปลงปลุกที่ 2)
การปลูก : พื้นที่ปลูก 22 ไร่ ปลูกเมื่อเดือนกรกฎาคมปี พ.ศ. 2540 พื้นที่ปลูกร้อยละ 90 เป็ น
พันธุ์ RRIM600 ส่ วนที่เหลือเป็ นพันธุ์ PBM 24 ต้นพันธุ์เป็ นต้นตอตาเขียวขนาด 2 ฉัตร แหล่ง
ต้นพันธุ์จากกลุ่มเกษตรกรก้าวหน้า ระยะห่ างในการปลูก 3.3 x 6 เมตร ขนาดหลุมปลูก 50 x 5
0 x 50 เซนติเมตร โดยใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 รองก้นหลุม
การกาจัดวัชพืช : ในปี แรกและปี ที่ 2 ไม่มีการกาจัดวัชพืชเพราะเกษตรกรปลูกข้าวไร่ แซมตาม
ร่ องยางพาราปกติ ทุกปี จะมีการกาจัดวัชพืชปี ละ 2 ครั้ ง โดยใช้แรงงานคนและใช้สารกาจัด
ศัตรู พืชโดยครั้งที่ 2 จะทาพร้อมกับการทาแนวกันไฟในช่วงปลายฤดูฝนของทุกปี
การใช้ปุ๋ย : ในปี ที่ 1-3 ใช้สูตร 18-4-5 ปี ที่ 4-6 ใช้สูตร 18-10-6 และปี ที่ 7--10 ใช้สูตร 15-7-18
ปี ละ 2 ครั้งโดยใส่ ในต้นฤดูฝนและปลายฤดูฝน ส่ วนปุ๋ ยคอกจะใส่ ในปี ที่ 7-10 และมีการใส่
แกลบด้วย
การกรี ด : แปลงนี้ จา้ งแรงงานประจา 2 คนเพื่อกรี ดและทายางแผ่นตลอดจนการดูแลรั กษา
ทัว่ ไป โดยมีการตกลงแบ่งรายได้ใน อัตราส่ วน 60:40 (เข้าของส่ วน: คนกรี ด) ทุกปี จะทาการ
เปิ ดหน้ายางในเดือนเมษายนและทาการกรี ดเดือนพฤษภาคม - กุมภาพันธ์หรื อมีนาคม ขึ้นอยู่
กับการร่ วงของใบยาง การกรี ดจะแบ่งขนาดลาต้นเพื่อกรี ดยางเป็ น ½ ของลาต้นและใช้เวลาใน
การกรี ดยางปกติจะกรี ด 2 วัน หยุด 1 วัน ยกเว้นในช่วงที่ฝนตกชุก
ตารางที่ 1 ผลวิเวราะห์ เวมีดนิ ในฟาร์ มตัวอย่ าง
บริเวณที่เก็บ
ในแปลง
นอกแปลง
ววามลึกดิน (cm)
0-30
30-60
0-30
30-60
pH *
EC (mS)
4.78
0.004
4.84
0.006
4.82
0.009
4.67
0.008
Organic metter (%)
K (ppm)
P (ppm)
หมายเหตุ* pH ที่เหมาะสมกับการปลูกยาง 4.0-5.5
0.35
25.45
5.76
0.25
24.47
0.37
0.59
18.58
1.94
890
อุปกรณ์ทายางแผ่น ( ถังเก็บน้ ายาง/ถังรวมน้ ายาง/ตะกงยาง/ตุ่มล้างยาง/
น้ ากรด/ยาทาหน้ายาง/จักรรี ดยาง)
6. โรงเรื อนและอุปกรณ์อบยาง
10,000
รวมต้นทุนการผลิตต่อปี
67,398
0.37
61,250
37,820
30,860
31,900
ผลผลิตฟาร์ มตัวอย่ าง
เกษตรกรมีการขายผลผลิต 2 ครั้งต่อเดื อน ในรู ปของยางแผ่นที่สหกรณ์รับซื้ อยางพาราอาเภอศรี
เมืองใหม่ และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรอาเภอ ศรี เมืองใหม่ โดยภาพรวมผลผลิต
ยางแผ่นในเดื อ นแรกจะได้ประมาณ 30-40 กิ โ ลกรั ม (1 แผ่น ประมาณ 1.3 กิ โ ลกรั ม ) และขี้ ย าง
ประมาณ 60-70 กิโลกรัม ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ปริ มาณฝนและความสมบูรณ์ของต้นยาง จากนั้นผลผลิตจะเพิ่ม
เป็ น 50 – 60 แผ่นต่อวัน ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ผลผลิตในฤดูหนาว (เดือนตุลาคม –
เดื อนมกราคม) มี ปริ มาณมากที่ สุดประมาณ 55-70 แผ่นต่ อวัน การกรี ดจะยุติลงเมื่ อยางเริ่ มผลัดใบ
ในช่วงเดือน กุมภาพันธุ์ – มีนาคม ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ความชื้นในดินด้วย ปกติช่วงเดือนสุ ดท้ายของการกรี ด
ผลผลิตจะอยูป่ ระมาณ 40-50 แผ่นต่อวัน
สรุ ปและวิจารณ์ ผล
จากการศึกษาฟาร์มตัวอย่าง พบว่าแม้เกษตรกรจะมีการใช้ปุ๋ยและดูแลรักษาอย่างดี แต่ตน้ ยางพารา
ก็ยงั มีการเจริ ญเติบโตต่ากว่ามาตรฐาน เพราะต้นยางพาราที่เปิ ดกรี ดควรมีขนาดเส้นรอบวงไม่ต่ากว่า 4550 เซนติเมตร แต่ในฟาร์มตัวอย่างมีขนาดเส้นรอบลาต้นหลังกรี ดแล้ว 3 ปี เฉลี่ยเพียง 44.6 เซนติเมตร
ส่ วนผลการวิเคราะห์ผลตอบแทนและต้นทุนการผลิตเชิงเศรษฐศาสตร์ น้ นั เนื่องจากต้องรอข้อมูล
ผลผลิตและจานวนวันกรี ดรายเดือนจากสหกรณ์รับซื้ อยางพาราและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตรอาเภอ ศรี เมืองใหม่ ซึ่งอยูร่ ะหว่างการติดต่อขอความอนุเคราะห์ขอ้ มูล โดยการสรุ ปวิเคราะห์
ผลที่สมบูรณ์จะเสร็ จสิ้ นเมื่อสิ้ นสุ ดโครงการวิจยั ฯ สิ้ นปี 2549
ผังฟาร์ ม
พืน้ ทีเ่ ลีย้ งวัว เลีย้ งววาย 8
ไร่
ยางพาราแปลงที่ 3 พืน้ ที่ 30 ไร่
บ่ อ
ปลา
0.2
12.46
20,300
บ้ านพัก
วนงาน
ยางพาราแปลงที่ 2
พืน้ ที่ 22 ไร่
มะม่ วง มะขาม
ต้ นมะม่ วงหิมพานห์ สะเดา
กระท้อน
บ่ อ
ปลา
บ่ อ
ปลา
ยางพาราแปลงที่ 1
พืน้ ที3่ 0 ไร่