คลิกที่นี่ - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
Download
Report
Transcript คลิกที่นี่ - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ประสิทธิภาพการผลิตยางพารา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
นางประนาถ พิพธิ กุล
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ศุภวัจน์ รุ่งสุรยิ ะวิบลู ย์
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1.ความสาคัญของการศึกษา
* NE เป็ นพื้นที่ใหม่ท่รี ฐั สนับสนุนให้มีการปลูกยางพารา
ในพื้นที่ท่เี หมาะสม
* ผลิตเพือ่ สนองความต้องการของตลาดทัง้ ในและต่างประเทศที่
เพิม่ ขึ้น
* ในช่วงปี 2548-2552 เนื้อที่ปลูกมีอตั ราการขยายตัวเพิม่
32% ต่อปี ผลผลิตมีอตั ราการขยายตัวเพิม่ 19%ต่อปี
* แต่ผลผลิตต่อไร่เพิม่ ขึ้นในอัตรา 2.42 % เท่านัน้
2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา
2.1 ศึกษาสภาพการผลิตยางพาราในภาคNE
2.2 ทราบค่าประสิทธิภาพการผลิตยางพาราเชิงเทคนิคในภาค
NE ตอนบน ตอนกลางและตอนล่าง
2.3 ศึกษาแนวทางและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงประสิทธิภาพ
การผลิตยางพาราในภาค NE
3.ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาการวัดประสิทธิภาพการผลิตยางพาราตามแหล่งผลิตที่
สาคัญและช่วงอายุยางที่ให้ผลผลิตแล้วในภาค NE โดย
พืน้ ที่
ช่ วงอายุ
NE ตอนบน เลย อุดรธานี หนองคาย นครพนม
NE ตอนกลาง กาฬสินธุ์ อานาจเจริญ ยโสธร
NE ตอนล่าง อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรรี มั ย์
อายุ 7-12 ปี จานวน 463 ตัวอย่าง
อายุ 13-17 ปี จานวน 314 ตัวอย่าง
อายุ 18 ปี ขึ้นไป จานวน 426 ตัวอย่าง
4.วิธีการศึกษา
4.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกร
4.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
วิเคราะห์ฟังก์ชน่ั การผลิตโดยใช้แบบจาลองเส้นพรมแดนการผลิตเชิงเฟ้ นสุม่
- กาหนดตัวแปรปั จจัยที่ส่งผลต่อผลผลิตยางพารา
- กาหนดรูปแบบที่เหมาะสมของฟั งก์ชนั การผลิต
- ประเมินหาค่าตัวแปรที่ไม่ทราบค่าของฟั งก์ชนั การผลิตด้วยวิธี MLE
5.ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั
นาผลการศึกษามาใช้เป็ นข้อมูลประกอบการจัดทานโยบาย
การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตยางพาราในภาคตะวันออก
เฉียงเหนือให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด เกษตรกรได้รบั
ผลตอบแทนสูงสุด
6.สภาพการผลิตยางพารา
การผลิตปี 2552
พื้นที่ปลูกยางทัง้ ประเทศ 16.8 ล้านไร่
พื้นที่ปลูกยางNE 3 ล้านไร่ หรือ18%
พื้นที่กรีดยางทัง้ ประเทศ 11.5 ล้านไร่
พื้นที่กรีดยางNE 0.72 ล้านไร่ หรือ 6%
ผลผลิตทัง้ ประเทศ 3.14 ล้านตัน
ผลผลิตNE 0.194 ล้านตัน หรือ 6%
6.สภาพการผลิตยางพารา (ต่อ)
พืน้ ทีป่ ลูกยางพาราภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ล้านไร่
2.80
3.00
2.14
2.00
1.00
3.00
1.54
1.00
0.00
2548
2549
2550
2551
2552
พื้นที่ปลูกยางพาราตัง้ แต่ปี 2548 – 2552 เพิม่ ขึ้น
32.14%
6.สภาพการผลิตยางพารา (ต่อ)
ผลผลิตยางพาราภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ล้านตัน
0.198
0.200
0.155
0.136
0.150 0.096 0.117
0.100
0.050
0.000
2548
2549
2550
ผลผลิตยางพาราตัง้ แต่ ปี 2548 –
19.10%
2551
2552
2552 เพิ่มขึ้น
6.สภาพการผลิตยางพารา (ต่อ)
ต้ นทุนการผลิตยางพาราภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ล้านตัน
4000.000 3746.780
3000.000
2000.000
1000.000
0.000
2038.700
1868.6
421.150
ค่าแรงงาน
ค่าดอกเบี้ยเงินลงทุน
ต้ น ทุ นการผลิ ต ยางพาราปี 2552 ไร่ ละ 8,075.23
บาท
7.ทฤษฎีและแนวคิด
7.1 ทฤษฎี
1. สมรรถภาพ (Performance) หมายถึง ความสามารถ
ของหน่วยผลิตในการแปรรูปปั จจัยการผลิต (input)เป็ นผลผลิต
ภายใต้การใช้เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ทีม่ ีอยูข่ ณะนัน้
2. ประสิทธิภาพของหน่วยผลิต(Efficiency) เป็ นวิธีวดั สมรรถภาพหน่วยผลิต โดยวัดได้จากเส้นพรมแดนการผลิต ซึง่ เป็ นเส้นทีใ่ ช้เป็ น
ตัวแทนของเทคโนโลยีการผลิต
7.ทฤษฎีและแนวคิด(ต่อ)
3. การวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิคที่วดั จากปั จจัยการผลิต :TE (inputoriented technical efficiency)
หมายถึง ความสามารถของหน่วยผลิตในการใช้ปัจจัยการผลิตในปริมาณ
น้อยที่สดุ เพือ่ ผลิตสินค้าให้ได้ปริมาณที่กาหนด โดยค่า TE อยู่ระหว่าง 0-1
TE=1 หมายถึง ผูผ้ ลิตทาการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพเชิงเทคนิค
TE<1 หมายถึง ผูผ้ ลิตทาการผลิตอย่างไม่มีประสิทธิภาพเชิงเทคนิค
7.ทฤษฎีและแนวคิด(ต่อ)
4.รูปแบบของฟั งก์ชนั ที่ใช้ในการวิเคราะห์
รูปแบบฟั งก์ชนั Cobb Douglas (CD)
y
b1
Ax1
b2
x2
โดยที่ A = ค่าคงที่ และ b1 , b2 = ตัวแปรทีต่ อ้ งการประเมินค่า
ซึง่ เทียบเท่ากับ logarithm ของ ln y ln A b1 ln x1 b2 ln x2
7.ทฤษฎีและแนวคิด(ต่อ)
5. การวัดค่าประสิทธิภาพเชิงเทคนิค ทาได้โดยการประเมินหาค่าตัวแปร
ด้วยวิธีการทางสถิตทิ เี่ รียกว่า การวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้ นสุม่
(Stochastic Frontier Analysis)
6. ฟั งก์ชนั เส้นพรมแดนเชิงเฟ้ นสุ่ม
yi f X i ; exp
vi ui
yi = ปริมาณผลผลิตของหน่วยผลิตที่ i
xi = ปริมาณปั จจัยการผลิตของหน่วยผลิตที่ i
β = ตัวแปรที่ไม่ทราบค่าที่ตอ้ งการประเมิน
vi ui คือตัวแปรความผิดพลาดเชิงเฟ้ นสุม่
7.ทฤษฎีและแนวคิด
7.2 แนวคิด
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตยางพารา โดยใช้
แบบจาลอง Stochastic Frontier ประมาณค่าแบบ MLR
ในรูปแบบของฟั งก์ชนั การผลิต Cobb Douglas
7.2.1 รูปแบบฟั งก์ชน่ั การผลิต
ln y f (ln x1 , ln x2 , ln x3 , ln x4 , ln x5 , ln x6 )
y
x1
x2
x3
x4
x5
x6
ผลผลิต
แรงงาน
ปุ๋ยเคมี
ปุ๋ยคอก
ปุ๋ยชีวภาพ
นา้ มันเชื้อเพลิง
ทุน
7.ทฤษฎีและแนวคิด
7.2.2 ฟั งก์ชน่ั ประสิทธิภาพภาพทางเทคนิคการผลิตยางพารา
จากปั จจัยด้านสังคมและการจัดการผลิต ดังนี้
ei u f (ln age, ln exp,ln area, tap, ln rain, slope, soil, u )
อายุ
age
exp
area
tap
rain
slope
soil
u
ประสบการณ์
ขนาดพื้นที่
ระบบกรีด
ปริมาณนา้ ฝน
พื้นที่ลาดชัน
ลักษณะดิน
Error term
8. ผลการศึกษา
8.1 ลักษณะทั่วไป
8.1.1 สภาพพื้นที่ปลูกยางพารา
ร้อยละ 88 ของพื้นที่ปลูกยางพาราทัง้ ภาคเป็ นที่ราบ
ร้อยละ 12 เป็ นพื้นที่ลาดชันน้อยและลาดชันมาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนปลูกยางพาราในที่ราบ 85%
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางปลูกยางพาราในที่ราบ 84%
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างปลูกยางพาราในที่ราบ 99%
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.2 สภาพพื้นที่ปลูกยางพารา
ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือทั้งภาค
ตะวันออกเฉียงตอนบน
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
พื้นที่ราบ
พื้นที่ชนั
%
88
85
84
99
12
15
16
1
100
100
100
100
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.3 ลักษณะดินที่ปลูกยางพารา
ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือทั้งภาค
ตะวันออกเฉียงตอนบน
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
หน่ วย : %
เหมาะสม
ที่สดุ
เหมาะสม
ปานกลาง
เหมาะสม
น้อย
17
22
17
10
54
25
63
76
29
53
20
14
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.4 ขนาดพื้นที่ปลูกยางพารา
ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือทั้งภาค
ตะวันออกเฉียงตอนบน
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
1-15 ไร่ 16-30 ไร่ มากกว่า 30
ไร่
86
88
90
80
12
11
9
17
2
1
1
3
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.5 พื้นที่ปลูกยางพาราแยกตามช่วงอายุ
ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือทั้งภาค
ตะวันออกเฉียงตอนบน
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
อายุ
7-12 ปี
34
34
31
37
อายุ
อายุ
13-17 ปี 18 ปี ขึ้นไป
31
35
33
25
35
31
36
38
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.6 การใช้แรงงาน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทัง้ ภาค ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนบน ตอนกลาง และตอนล่าง
ใช้แรงงานในสวนยาง 95%ในการกรีดและ
เก็บยาง อีก 5%ใช้ในการใส่ป๋ ุยและกาจัดวัชพืช
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.7 การใส่ป๋ ุยยางพารา
ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือทั้งภาค
ตะวันออกเฉียงตอนบน
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
หน่ วย : %
ปุ๋ย
เคมี
ปุ๋ย
คอก
ปุ๋ย
ชีวภาพ
28
50
23
22
49
8
55
61
23
42
22
17
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.8 น้ามันเชื้อเพลิงและเงินลงทุน
ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือทั้งภาค
ตะวันออกเฉียงตอนบน
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
นา้ มันเชื้อเพลิง
(ลิตร/ไร่)
เงินลงทุน
(บาท/ไร่)
13.21
6.34
22.44
13.88
1,084
864
1,207
1,133
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.1.9 รูปแบบผลผลิต
นา้ ยางสด 18%
ยางแผ่นดิบ 40%
ยางก้อนถ้วยและขี้ยาง 42 %
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.2 ฟังห์ช่ันการผลิตและฟังก์ช่ันประสิทธิภาพเทคนิคการผลิต
8.2.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ฟังก์ช่ันการผลิต
lnY=0.23+0.14lnx1+0.09lnx2-0.02lnx3+0.03lnx4+0.08lnx5+0.16lnx6
t-value(13.17)
(5.46)
(4.61)
(-1.46)
(1.65)
(4.84)
(4.48)
ฟังก์ชั่นประสิทธิ ภาพการผลิต
ei-u=-5.46-1.08lnage-2.67lnexp+0.40lnarea+2.30tap-1.43lnrain-1.81slope-0.81soil
t-value (-4.78)
4.00)
(-3.61)
(-6.34)
(3.46)
(4.39)
(-3.93)
(-4.83)
(-
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.2 ฟังห์ช่ันการผลิตและฟังก์ช่ันประสิทธิภาพเทคนิคการผลิต
8.2.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ฟังก์ช่ันการผลิต
lnY=0.08+0.05lnx1+0.11lnx2-0.008nx3+0.07lnx4+0.02lnx5+0.23lnx6
t-value(2.11)
(1.53)
(4.25)
(-0.13)
(2.66)
(0.96)
(5.22)
ฟังก์ชั่นประสิทธิ ภาพการผลิต
ei-u=-3.88+0.46lnage-3.60lnexp+0.43lnarea+0.34tap+1.14lnrain+0.02slope-0.28soil
t-value (-1.02)
(0.08)
(-1.05)
(1.03)
(2.05)
(1.17)
(0.15)
(-1.42)
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.2 ฟังห์ช่ันการผลิตและฟังก์ช่ันประสิทธิภาพเทคนิคการผลิต
8.2.3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ฟังก์ช่ันการผลิต
lnY=0.51+0.31lnx1+0.12lnx2-0.12lnx3-0.06lnx4+0.62lnx5+0.35lnx6
t-value(2.23)
(6.90)
(3.00)
(-3.89)
(-0.23)
(6.79)
(3.50)
ฟังก์ชั่นประสิทธิ ภาพการผลิต
ei-u=0.49-0.11lnage-9.81lnexp-0.66lnarea+0.09tap+0.12lnrain-0.07slope-0.05soil
t-value (1.82)
(-1.42)
(-1.39)
(-5.89)
(0.76)
(1.03)
(-0.38)
(-0.86)
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
8.2 ฟังห์ช่ันการผลิตและฟังก์ช่ันประสิทธิภาพเทคนิคการผลิต
8.2.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
ฟังก์ช่ันการผลิต
lnY=0.28+0.15lnx1+0.07lnx2-0.01lnx3+0.02lnx4+0.13lnx5+0.15lnx6
t-value(11.33)
(2.75)
(1.67)
(-0.05)
(-0.44)
(2.73)
(2.11)
ฟังก์ชั่นประสิทธิ ภาพการผลิต
ei-u=-8.16-2.30lnage-3.36lnexp-0.546lnarea+3.27tap-6.04lnrain-3.34slope-0.93soil
t-value (-3.58)
(-2.64)
(-19.32)
(-2.48)
(3.02)
(-3.56)
(-2.14)
(-2.91)
8. ผลการศึกษา (ต่อ)
ภาค
ประสิทธิภาพ
ทางเทคนิค
การผลิตเฉลีย่
ภาคNE ภาคNE ภาคNE ภาคNE
ทั้งภาค ตอนบน ตอนกลาง ตอนล่ าง
0.78
0.87
0.48
0.76
8. ผลการศึกษา(ต่อ)
ร้อยละของเกษตรกร
ระดับประสิทธิภาพการผลิต
ภาคNE
ทั้งภาค
ภาคNE
ตอนบน
ภาคNE
ตอนกลาง
ภาคNE
ทั้งภาค
ตา่ กว่า0.5001
4.41
0.4378.02 57.96
5.87
0.5001-0.6000
4.41
0.22
20.06
4.69
0.6001-0.7000
9.56
3.46
10.19
12.91
0.7001-0.8000
21.11
6.05
6.69
24.65
0.8001-0.9000 81.63 51.21
44.49
4.78
48.36
0.9001-1.000
45.36
0.32
3.52
9.31
85.92
ข้อเสนอแนะจากการศึกษา
1. เพิม่ ประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิต โดยเกษตรกรควรได้รบั การ
พัฒนาเทคนิคการเลือกใช้ปัจจัยการผลิตที่มีความเหมาะสม เพิม่ ขึ้น
ร้อยละ 13 , 52 และ 24 สาหรับภาคะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง และภาคะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
ตามลาดับ
2. ลดความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค นองจากการปรับเทคนิค การใช้
ปั จจัยการผลิตแล้วการปลูกยางพารา ควรปลูกในพื้นที่ท่ีมีขนาด
เหมาะสม ประหยัดต่อขนาดและปลูกยางพาราในที่ดนิ ที่เหมาะสมในการ
ปลูก และให้ใช้ระบบกรีดยางตามที่กรมวิชาการเกษตรแนะนา
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
พัฒนาการผลิตยางพาราของเกษตรกรโดย
1. สนับ สนุ น การใช้ว ัส ดุ ท่ี มี คุ ณ ภาพ ตามมาตรฐานและต้อ งผลิ ต พัน ธุ์ ย าง
หลากหลายพัน ธุ์ เ พื่ อ กระจายการปลู ก ให้เ หมาะสมกับ พื้ น ที่ ต ามความ
ต้องการของเกษตรกร
2. แนะน าให้ก ารเปิ ดกรี ด ยางตามขนาดเปิ ดกรี ด หลีก เลี่ย งการเปิ ดกรี ด ต้น
เล็กเพือ่ ให้ได้ผลผลิตสูงตามคาแนะนา
3. ลดต้น ทุ น การผลิ ต โดยใช้ป๋ ุ ยเคมี ต ามค่ า วิ เ คราะห์ ดิ น การใช้ป๋ ุ ยอิ น ทรี ย์
ร่วมกับปุ๋ยเคมี และการปลูกพืชคลุมตระกูลถัว่ ในสวนยาง
4. ส่ ง เสริ ม และให้ค วามรู ้ใ นการเก็ บ ผลผลิ ต น้ า ยาง อย่ า งถู ก ต้อ งและมี
ประสิ ท ธิ ภาพ เพื่ อ ผลผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ ต้ น น้ า ให้ มี คุ ณ ภาพสู ง ก่ อนเข้ า
สู่กระบวนการทางอุตสาหกรรม