ch4 - UTCC e
Download
Report
Transcript ch4 - UTCC e
บทที4่
สภาพแวดล้อมทางการค้าระหว่างประเทศ
ภายใต้การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ความหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
หมายถึง การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป โดยมี
กระบวนการที่เกี่ยวกับการยกเลิกการจงใจเลือกปฏิบตั ิ(Discrimination) ทางด้านการค้า
และการชาระเงินระหว่างประเทศ
กระบวนการ
ลดหรื อยกเลิกอุปสรรคกีดขวางทางการค้า ทั้งในรู ปภาษีศุลกากร
และมิใช่ภาษีศุลกากร ให้แก่กนั และกันเพื่อก่อให้เกิดการค้าเสรี ข้ ึนภายในกลุ่มอย่าง
กว้างขวาง รวมถึงความร่ วมมือทางด้านต่างๆอาทิการลงทุน และการค้นคว้าวิจยั
1
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เกิดการค้าเสรี ข้ ึนภายในกลุ่ม
เพื่อเสริ มสร้างความจาเริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เพื่อเร่ งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ
เพื่อการจัดสรรทรัพยากรให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ก่อให้เกิดการจ้างงานเต็มที่ และการกระจายรายได้
ระหว่างประเทศสมาชิก
เพื่อส่ งเสริ มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก
ให้แข็งแกร่ งมากยิง่ ขึ้น
2
สาเหตุทมี่ ีการรวมกล่ มุ
1.ความเชื่อในการค้าเสรี
2.หลีกเลี่ยงการพึ่งพาตลาดของประเทศที่กีดกันทางการค้า
3. ความล่าช้าของการเจรจาของGATT/WTO
3
ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจ
1.
สร้างบรรยากาศการค้าและการลงทุนที่เอื้ออานวยความสะดวกมาก
ยิง่ ขึ้น
2.
เพื่อเสริ มสร้างและรักษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
3.
เพิ่มอานาจในการเจรจาต่อรองทางการค้าได้มากยิง่ ขึ้น
4.
ผลผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากความชานาญในการผลิตและการ
แบ่งงานกันทาระหว่างประเทศสมาชิก ก่อให้เกิดมีการจัดสรรทรัพยากร
อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ
4
ลักษณะของการรวมทางเศรษฐกิจ
1.เขตการค้ าเสรี (Free Trade Area)
-การยกเว้นภาษีศุลกากรและข้อจากัดทางการค้าที่มิใช่ภาษีระหว่างประเทศสมาชิก
-แต่ประเทศสมาชิกมีอิสระเต็มที่ในการกาหนดอัตราภาษีศุลกากรเรี ยกเก็บกับประเทศคู่
ค้านอกกลุ่ม
-ไม่มีขอ้ ตกลงเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตและข้อตกลงที่เกี่ยวกับนโยบายทาง
การเมืองของกลุ่มประเทศสมาชิก
-ตัวอย่างของเขตการค้าเสรี ได้แก่
เขตการค้าเสรี ยโุ รป (European Free Trade Association : EFTA)
เขตการค้าเสรี อาเซียน (ASEAN Free Trade Area)
เขตการค้าเสรี แปซิฟิค (Pacific Free Trade Area : PAFTA)
เขตการค้าเสรี ลาตินอเมริ กา (Latin Amereca Free Trade Area : LAFTA)
ข้อตกลงการค้าเสรี อเมริ กาเหนือ (North American Free Trade Agreement)
5
2. สหภาพศุลกากร (Customs Union)
-เหมือนเขตการค้าเสรี แต่มีขอ้ ตกลงเพิม่ เติมว่าประเทศสมาชิก
จะต้องกาหนดอัตราภาษีศุลกากรที่เรี ยกเก็บจากประเทศคู่คา้
นอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน(Common External Tariff)
-ตัวอย่างของการรวมกลุ่มแบบสหภาพศุลกากรนี้ได้แก่ สหภาพ
ยุโรป (European Union : EU) ซึ่งได้เริ่ มดาเนินการในปี พ.ศ.
2500
6
3.ตลาดร่ วม (Common Market)
-เป็ นลักษณะการรวมกลุ่มที่เป็ นการขยายรู ปแบบของสภาพ
ศุลกากรออกไป
-มีขอ้ ตกลงเพิ่มขึ้นจากเดิมคือการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตสามารถ
ดาเนินไปได้โดยเสรี ระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน
-ตัวอย่างของตลาดร่ วมได้แก่ สหภาพยุโรป (EU) ซึ่งได้
พัฒนาการจนประสบผลสาเร็ จในการดาเนินการเป็ นตลาดร่ วมใน
ปี พ.ศ. 2535
7
4.สภาพเศรษฐกิจ (Economic Union)
-เป็ นการรวมกลุ่มที่มีลกั ษณะเหมือนกับตลาดร่ วมทุกประการ
-ประเทศสมาชิกยังจะต้องกาหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจต่าง ๆ
เป็ นรู ปแบบเดียวกันรวมทั้งมีนโยบายการขนส่ งระหว่างประเทศ
ร่ วมกันด้วย
-ถือเป็ นระบบเศรษฐกิจเดียวกันดังนั้นอาจจะมีการจัดตั้งหน่วยงาน
กลางขึ้นมาดูแลหรื อควบคุมนโยบายที่ได้จดั ตั้งร่ วมกัน
-ตัวอย่างเช่นสหภาพยุโรป
8
5.การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ์ (Full Economic
Integration)
- เป็ นการรวมกลุ่มที่มีโครงสร้างเหมือนกับสหภาพเศรษฐกิจ
-ประเทศสมาชิกยังจะต้องดาเนินนโยบายการเมือง การปกครอง
แบบเดียวกัน
-มีวตั ถุประสงค์กเ็ พื่อรวมเป็ นชาติเดียวกัน และมีสหภาพเป็ นผู ้
กาหนดนโยบายให้ประเทศสมาชิกดาเนินการจึงอาจเรี ยกว่า
สหภาพเหนือชาติ (Supernational Union)
-เช่นการรวมประเทศเยอรมันตะวันออกและตะวันตกเป็ นชาติ
เดียวในปี ค.ศ.1990 รวมถึงการรวมมลรัฐต่าง ๆ เป็ นประเทศ
เดียวกัน(Nation state) ของสหรัฐอเมริ กา และสหภาพโซเวียต
9
ผลทีเ่ กิดจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
1.ผลทางบวก
-ทาให้การค้าขยายตัว เรี ยกว่า การสร้างปริ มาณการค้า (Trade Creation)
-เนื่องจาก
-ขนาดตลาดใหญ่ข้ ึน
-เกิดการแบ่งงานกันตามความชานาญในการผลิตของ
แต่ละประเทศ ก่อให้เกิดมีการใช้ทรัพยากรได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
-ผูบ้ ริ โภคสามารถเลือกซื้ อสิ นค้าราคาถูกจากประเทศ
สมาชิกได้มากยิง่ ขึ้น
-ผลคือการค้าขยายตัวภายหลังจากที่มีการรวมกลุ่ม และส่ งผลให้
สวัสดิการทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิกโดยรวมดีข้ ึน
10
2.ผลทางลบ
-อาจทาให้การค้าหดตัวได้ เรี ยกว่า การหันเหทิศทางการค้า
(Trade diversion)
-เนื่องมาจาก
-การที่ประเทศสมาชิกในกลุ่มมีการนาเข้าสิ นค้า
และบริ การจากประเทศสมาชิกที่มีการผลิตสิ นค้าชนิดนั้นด้วย
ต้นทุนที่สูงและมีราคาแพงกว่า(แต่ได้รับการยกเว้นภาษี
ศุลกากร)
-การใช้ทรัพยากรไม่มีประสิ ทธิภาพ
-ผลคือสร้างความเสี ยหายต่อสวัสดิการทางเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศนั้นๆ
11
ผลประโยชน์ ของการรวมกลุ่มในระยะยาว
1. ผลจากการแข่ งขันภายในกลุ่ม
-ถ้าก่อนการรวมกลุ่ม ตลาดในแต่ละประเทศมีลกั ษณะเป็ นตลาดแข่งขันไม่
สมบรู ณ์ เช่นอาจจะเป็ นตลาดผูกขาดหรื อตลาดผูข้ ายน้อยรายดังนั้นการรวมกลุ่ม
จะทาให้ตลาดจะมีการแข่งขันมากขึ้น
-ผูผ้ ลิตต้องปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพสิ นค้า เพื่อเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขัน
-ผูบ้ ริ โภคมีทางเลือกในการบริ โภคมากขึ้น
2.ความก้ าวหน้ าและการแลกเปลีย่ นทางเทคโนโลยี
-มีการลดต้นทุนและพัฒนาสิ นค้าด้วยเทคโนโลยี
-เกิดการค้นคว้าวิจยั และประดิษฐ์คิดค้นสิ่ งใหม่ๆ
-สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดที่ใหญ่ข้ ึนได้
12
3. เกิดการเคลือ่ นย้ ายเงินทุนและแรงงานระหว่ างประเทศได้ โดยเสรี
-ช่วยให้สามารถเคลื่อนย้ายปั จจัยการผลิตไปยังแหล่งผลิตที่มีตน้ ทุนต่า
-กระตุน้ การลงทุนและการจ้างงาน ทาให้เศรษฐกิจขยายตัว
(เช่นไทย-เวียดนาม)
-แก้ไขการขาดแคลนเงินทุนและแรงงาน เช่นประมงไทย
-โครงสร้างขั้นพื้นฐานที่เอื้อประโยชน์ต่อกันเช่นกลุ่ม ACMECS ทาโครงการ
East West Corridor
4.ผลประโยชน์ จากการประหยัดต่ อขนาดของการผลิต (Economics of scale)
-การขยายตัวของตลาดทั้งในและนอกประเทศ
-การขยายกาลังการผลิตและปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพ
-ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยลดลง
-การแบ่งงานกันทาตามความถนัด (Division of Labor)
13
ระบบสิ ทธิประโยชน์ ทางการค้ า (Trade Preference Systems)
: การลดภาษีศุลกากรระหว่างประเทศคู่คา้
: การลดหรื อผ่อนปรนกฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรคทางการค้า
1. Generalized System Of Preference (GSP)
จากประเทศที่พฒั นาแล้ว 28 ประเทศ
2. The Global System of Trade Preference Among
Developing Countries (GSTP)
จากประเทศกาลังพัฒนา 48 ประเทศ
3. Common Effective Preferential Tariff (CEPT)
จากประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ
4. Free Trade Area (FTA) จากประเทศที่ร่วมทาข้อตกลง
14
!อาจกระทาฝ่ ายเดียวหรือต่ างตอบแทนก็ได้
1. Generalized System Of Preference (GSP)
-EU กับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ
เช่นข้อตกลงพิเศษเกี่ยวกับการส่ งสิ นค้าเข้าเบนลักซ์ (Benelux)
ได้แก่เบลเยีย่ มและลักเซ็มเบอร์ก รวมถึงประเทศเยอรมัน
ตะวันตก ว่าด้วยการให้ความสนับสนุนทางด้านราคา
ในการส่ งออกน้ ามันพืช
-การให้ GSPของสหรัฐและEU แก่ไทย
-สหราชอาณาจักรกับประเทศกาลังพัฒนาในเครือจักรภพ
อาทิอินเดีย เช่นการยกเว้นภาษีสินค้านาเข้าสิ นค้าโภคภัณฑ์
ขั้นปฐมและสิ นค้าอุตสาหกรรมบางประเภท
15
2. ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางการค้ าระหว่ างประเทศกาลังพัฒนา (GSTP)
หมายถึง
การลดหย่อนภาษีระหว่างประเทศกาลังพัฒนา และ
ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด ภายใต้ระบบ GSTP รวม 48 ประเทศ
อัตราภาษีศุลกากรที่ลดหย่อนร้อยละ 2.5 – 100
ทั้งนี้หากประเทศสมาชิกใดได้รับผลกระทบอาจขอถอนการลดหย่อนได้
ตามความเหมาะสม
ขอบเขตของสิ นค้าภายใต้สิทธิ
เป็ นสิ นค้าที่อยูใ่ นบัญชีรายการที่ประเทศสมาชิกตกลงให้สิทธิ ลดหย่อน
อัตราภาษีศุลกากรขาเข้าแก่สินค้ารวม 1,627 รายการ
(สิ นค้า 11 รายการ เป็ นสิ นค้าที่ประเทศไทยให้สิทธิ ลดหย่อนภาษีแก่
ประเทศสมาชิก และสิ นค้า 1,616 รายการ เป็ นสิ นค้าที่ประเทศสมาชิก
ข้อตกลง GSTP ให้สิทธิ ลดหย่อนภาษีแก่ประเทศสมาชิกรวมทั้งประเทศ
ไทย)
16
เงือ่ นไขทางการค้ า
(1) เงือ่ นไขแหล่งกาเนิดสิ นค้ า
- เป็ นสิ นค้าที่มีกาเนิดสิ นค้าหรื อผลิตโดยใช้วตั ถุดิบในประเทศไทยหรื อใน
ประเทศกาลังพัฒนาที่ขอใช้ GSTP ทั้งหมด
- หากใช้วตั ถุดิบนาเข้า จะต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของต้นทุนสิ นค้า F.O.B.
ผูส้ ่ งออกจะต้องแนบหนังสื อรับรองแหล่งกาเนิ ดสิ นค้าแบบ GSTPพร้อม
กับสิ นค้าที่ส่งออกแสดงต่อศุลกากรในประเทศผูน้ าเข้า
(2) เงือ่ นไขการขนส่ งโดยตรง (Direct Consignment)
-สิ นค้าจะต้องถูกส่ งโดยตรงไปยังประเทศกาลังพัฒนาที่ให้สิทธิ GSTP
-สิ นค้าอาจแวะผ่านดินแดนของประเทศอื่นได้เพื่อขนถ่ายเปลี่ยนพาหนะที่
ใช้บรรทุกสิ นค้า โดยสิ นค้าจะต้องไม่ถกู นาไปซื้ อขายหรื อบริ โภคขณะแวะ
ผ่าน และจะต้องไม่เปลี่ยนแปลงหรื อแปรสภาพสิ นค้ามากไปกว่าการยกขึ้น
เพื่อขนถ่ายสิ นค้า หรื อการรักษาสิ นค้าให้คงอยูใ่ นสภาพที่ดีเหมือนเดิม
สภาพดีในประเทศที่สาม
17
3. ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางการค้ าระหว่ างประเทศสมาชิก
อาเซียน (CEPT)
การลดหย่อนภาษีระหว่างประเทศสมาชิก
อาเซียน 10 ประเทศ ในลักษณะต่างตอบแทน
ประเทศสมาชิกได้แก่ บรู ไน มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
อินโดนีเซีย สิ งค์โปร์ ไทย กัมพูชา ลาว พม่า
และเวียดนาม
สิ นค้ าโดยครอบคลุมสิ นค้าส่ วนใหญ่
(ยกเว้นรายการที่สงวน)
อัตราภาษีทวั่ ไปที่ร้อยละ 0 – 5
เงื่อนไขต่ างๆ คล้ายกรณี GSTP
หมายถึง
18
4. ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางการค้ าของประเทศทีร่ ่ วมทาข้ อตกลง
หรือเขตการค้ าเสรี (FTA)
หมายถึงการให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศที่ร่วมทาข้อตกลง
เป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มลงให้เหลือ
น้อยที่สุด หรื อเป็ น 0% และใช้อตั ราภาษีปกติที่สูงกว่าประเทศ
นอกกลุ่ม
กรอบเจรจาในอดีตมุ่งในด้านการเปิ ดเสรี ดา้ นสิ นค้า โดยการลด
ภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็ นหลัก ในระยะหลัง ๆ นั้น รวม
ไปถึงการเปิ ดเสรี ดา้ นบริ การและการลงทุนด้วย
การทา FTA ของประเทศต่ างๆ เกิดจากความล่าช้าของWTO
19
การทา FTA ของประเทศไทยกับประเทศต่ างๆ
ปัจจุบนั ประเทศไทยได้ทาFTA กับประเทศต่างๆ อาทิ
-กลุ่มประเทศอาเซี ยน-จีน
- อินเดีย
-นิวซี แลนด์
-ออสเตรเลีย*
-สหรัฐอเมริ กา
-ญี่ปุ่น
-บาห์เรน
- เปรู
-กลุ่ม BIMSTEC
-กลุ่ม EFTA
และยังมีแผนที่ทา FTA เพิ่มขึ้นกับอีกหลายประเทศ
20
เป้ าหมายของการจัดทาเขตการค้ าเสรี
1.เพื่อสร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ เพิ่มบทบาทและสร้างอานาจในการ
เจรจาต่อรองทางการค้าของไทยในเวทีโลก
2.สร้างฐานเพื่อเสริ มสร้างโอกาสและขยายลู่ทางทางการค้ากับกลุ่ม
ประเทศต่างๆ ในการรักษาตลาดเดิมและแสวงหาตลาดใหม่ ดังนั้นการ
เปิ ดFTA จะเป็ นการกระตุน้ ตลาดให้มีขนาดใหญ่ข้ ึน
3.เพื่อรักษาและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันสิ นค้าไทยใน
ตลาดโลก
4.ส่ งเสริ มการลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อให้ไทยเป็ นศูนย์กลางการ
ลงทุนในภูมิภาค
5.ส่ งเสริ มให้มีการพัฒนาและปรับโครงสร้างการผลิตในประเทศให้มี
ศักยภาพมากยิง่ ขึ้น
21
ข้ อดีของการทา FTA
1.เป็ นการตกลงทางการค้าที่ง่ายกว่าการเจรจาหลายฝ่ าย
ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อนและหาข้อสรุ ปได้เร็ ว
2.กรณี ที่มีขอ้ พิพาททางการค้าถือได้วา่ เป็ นเวทีแรกที่จะเข้า
ไปดาเนินการแก้ไขปั ญหาได้ และลดอุปสรรคทางการค้า
การลงทุน
22
ข้ อเสี ยของการทา FTA
1
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
.FTAจะไม่มีกฎระเบียบระหว่างประเทศที่ชดั เจน ใช้หลักของ WTO เป็ นพื้นฐาน
การเจรจาหาข้อยุติกรณี ขอ้ พิพาทบางครั้งทาได้ยาก ขึ้นอยูก่ บั อานาจการต่อรอง
ของทั้งสองประเทศที่อาจมีฝ่ายได้และเสี ยเปรี ยบ
การเจรจาอาจไม่มีความรอบคอบเพียงพอ
การทาFTA อาจส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอุตสาหกรรมทารก
หากประเทศที่มาทา FTA มีโครงสร้างการผลิตและการส่ งออกที่คล้ายกัน
อาจจะกลายเป็ นคู่แข่งทางการค้ากันได้
เมื่อประเทศคู่หนึ่งจัดทา FTA ส่ งผลให้ประเทศอื่นๆจัดทา FTA เพิม่ ขึ้นตาม
ซึ่งอาจจะนาไปสู่ ความขัดแย้งทางการค้าเพิ่มขึ้น
การทา FTA อาจทาให้สูญเสี ยระบบการค้าโลกได้
การจัดทา FTA อาจทาให้ประเทศเข้าสู่ภาวการณ์พ่ งึ พาประเทศที่เราจัดทา FTA ด้วย
จึงเสมือนเป็ นการพึ่งพาทางเศรษฐกิจมากจนเกินไป
23
ยุทธศาสตร์ ทสี่ าคัญ
1.เกษตร
ก.ควรเน้นอุตสาหกรรมที่ไทยมีศกั ยภาพในการแข่งขันสูง ได้แก่
อุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารแปรรู ป
ข.การเจรจาสิ นค้าเกษตรที่มีความอ่อนไหวควรกาหนดให้มีเวลา
ในการปรับตัวที่นานเพียงพอ
ค.ควรเจรจาเพื่อลดหรื อยกเลิกหรื อปรับเปลี่ยนไม่ให้เป็ น
อุปสรรค เกี่ยวกับมาตรฐานด้านสุ ขอนามัย ความปลอดภัยด้าน
อาหารและสิ่ งแวดล้อม
ง.ส่ งเสริ มการพัฒนาการผลิตให้ได้มาตรฐานสากลและการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างกัน
24
2.อุตสาหกรรม
ก.เน้นอุตสาหกรรมที่ไทยมีศกั ยภาพมากและมีกลุ่ม Cluster ได้แก่
ยานยนต์และชิ้นส่ วนแฟชัน่ (เสื้ อผ้า เครื่ องนุ่งห่ม อัญมณี และ
เครื่ องประดับ เครื่ องหนัง รองเท้า) สิ นค้าอิเลคทรอนิกส์
เฟอร์นิเจอร์ เครื่ องใช้ในบ้านและของแต่งบ้าน รถยนต์และ
ชิ้นส่ วน
ข.เจรจาลดหรื อยกเลิกหรื อเปลี่ยนปรับไม่ให้เป็ นอุปสรรค
เกี่ยวกับมาตรฐานสิ นค้า(TBT)และ สิ่ งแวดล้อม
ค.การพัฒนาการผลิตในประเทศให้ได้มาตรฐานสากล
จ.การเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสิ นค้า
25
3.บริการ
ก.เน้นธุรกิจที่มีความพร้อม เช่นท่องเที่ยว สุ ขภาพ ก่อสร้างออกแบบ
A.การท่องเที่ยว ได้แก่ภตั ตาคาร โรงแรม การบินและการขนส่ งทาง
อากาศ อินเตอร์เนต
B. การบริ การสุ ขภาพและLife Scienceได้แก่โรงพยาบาล การตรวจสุ ขภาพ
การดูแลผูส้ ูงอายุ สปา การบริ การLong-stay การบริ การวิชาชีพที่
เกี่ยวข้องเช่นหมอ พยาบาล ทันตแพทย์ และการวิจยั พัฒนายา
C.การก่อสร้างและออกแบบตกแต่ง:ก่อสร้าง วิศวกรรม สถาปั ตยกรรม
การออกแบบ การตกแต่งภายในการออกแบบเครื่ องแต่งกายและ
เครื่ องประดับ
ข.สนับสนุนธุรกิจที่มีอนาคตเช่น ICT Logistics บันเทิงและ ซ่อมบารุ ง
ค.ธุรกิจที่ยงั ไม่พร้อมเช่น ธนาคาร ประกันภัย โทรคมนาคม ขนส่ ง ให้มี
ระยะเวลาการปรับตัว(Transition Period ) 10 ปี
26
4. ทรัพย์ สินทางปัญญาที่เกีย่ วกับการค้ า
-เน้นระดับความคุม้ ครองภายใต้WTOเช่นพันธุ์ขา้ วหอมมะลิ
และการขอรับการคุม้ ครองทรัพย์สินทางปัญญาที่ไทยมี
ผลประโยชน์เช่นภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งที่มาทางชีวภาพ
-ส่ งเสริ มความร่ วมมือด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การใช้ประโยชน์ในข้อมูลสิ ทธิบตั ร เพื่อเพิ่มศักยภาพและ
ทักษะนักประดิษฐ์ไทยในการวิจยั พัฒนาต่อยอดต่อไป
27
28