ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

Download Report

Transcript ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

รายวิชาเศรษฐศาสตร์ แรงงาน
บทที่ 3
อุปสงค์แรงงาน
(Demand for Labor)
โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
สายวิชาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1
หัวข้ อ
•
•
•
•
•
ความหมายของอุปสงค์ แรงงาน
อุปสงค์ แรงงานในระยะสั้ น
อุปสงค์ แรงงานในระยะยาว
สาเหตุการเปลีย่ นแปลงอุปสงค์ แรงงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ แรงงานต่ อการเปลีย่ นแปลง
ค่ าจ้ าง
• ปัจจัยกาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ แรงงาน
• ตัวอย่ างผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
2
ความหมายของอุปสงค์ แรงงาน
3
• ความหมาย
-อุปสงค์ แรงงาน หมายถึง ความต้องการแรงงานในฐานะปัจจัยการผลิตที่
นายจ้างหรื อผูผ้ ลิตต้องการว่าจ้าง เมื่อมีตาแหน่งงานว่างหรื อเมื่อมีการ
ลงทุนใหม่หรื อลงทุนขยายงานเพิ่มเติม ณ ระดับอัตราค่าจ้างต่างๆที่
นายจ้างหรื อผูผ้ ลิตสามารถจะว่าจ้างได้
-อุปสงค์ แรงงานเป็ นอุปสงค์สืบเนื่อง (Derived demand) หมายความว่า
การเกิดขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์แรงงานเป็ นผลสื บเนื่องมาจาก
เหตุการณ์อื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์กบั แรงงาน เช่น เมื่อความต้องการสิ นค้า
และบริ การเพิ่มขึ้น ในขณะที่ราคาสิ นค้านั้นไม่เปลี่ยนแปลง ผูผ้ ลิตย่อม
เล็งเห็นผลกาไรที่จะเกิดขึ้น ผูผ้ ลิตก็จะผลิตสิ นค้ามากขึ้น ทาให้มีความ
ต้องการแรงงานเพื่อมาผลิตสิ นค้าเพิ่มขึ้นด้วย
อุปสงค์ต่อแรงงานมีความแตกต่างจากอุปสงค์สินค้าอย่างไรบ้าง?
4
-อุปสงค์ แรงงานเป็ นอุปสงค์ร่วม(Joint demand) หมายความว่า การ
เกิดขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์แรงงานเป็ นไปพร้อมกับการ
เกิดขึ้นและเปลี่ยนไปของอุปสงค์ในปัจจัยการผลิตอื่นๆ เช่น เมื่อผูผ้ ลิต
ต้องการเครื่ องจักรมากขึ้นในการผลิต จึงมีความต้องการแรงงานที่ควบคุม
และซ่อมเครื่ องจักรเพิ่มขึ้นด้วยเหมือนกัน
• สมมติฐานการวิเคราะห์
1) ราคาของแรงงานคือค่าจ้าง
2)เมื่อมีตาแหน่งงานว่างนายจ้างจะรับคนงานจากตลาดภายนอกเข้ามา
เท่านั้น
3) คนงานมีความสามารถและประสิ ทธิภาพเท่ากัน
4) นายจ้างมีขอ้ มูลพร้อมเกี่ยวกับตลาดแรงงาน
5) จุดหมายหน่วยธุรกิจคือกาไรสูงสุ ด
5
• สมมติฐานการวิเคราะห์(ต่อ)
6) หน่วยธุรกิจแต่ละแห่งมีขนาดเล็กมาจนไม่มีอิทธิพลต่ออัตรา
ค่าจ้างตลาด
7)คนงานแต่ละคนไม่มีอิทธิพลเหนือค่าจ้าง ต้องเสนอขายแรงงาน
ตามอัตราค่าจ้างตลาด เส้นอุปทานแรงงานจะขนานกับแกนนอน
8)การผลิตใช้ปัจจัยการผลิตหลายอย่างร่ วมกัน
6
• กาหนดให้
-MP (Marginal Product) คือ ผลผลิตเพิ่มจากการใช้ปัจจัยแรงงาน
เพิ่มขึ้น 1 หน่วย ดังนั้น ถ้าจ้างแรงงานเพิ่ม 1 คน จะได้ผลผลิตเพิ่ม MP
หน่วย
-MC (Marginal Cost) คือ ต้นทุนเพิม่ จากการผลิตสิ นค้าเพิม่ ขึ้น 1
หน่วย ดังนั้น ถ้าผลิตสิ นค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะต้องเสี ยต้นทุนเพิ่มขึ้น MC
หน่วย
-MR (Marginal Revenue) คือ รายได้ที่ได้รับเพิ่มขึ้นจากการขาย
สิ นค้าเพิ่มข้น 1 หน่วย ดังนั้น ถ้าขายสิ นค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วยจะได้รับ
รายรับเพิม่ ขึ้น MR บาท และในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MR = P
-W (wage) คือ ค่าจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แรงงาน 1คน ดังนั้น ถ้าจ้าง
แรงงาน 1 คนจะเสี ยค่าจ้าง W บาท
7
• ความสัมพันธ์ของตัวแปรตามข้อกาหนด
-ถ้านายจ้างต้องการผลผลิต MP หน่วย ใช้แรงงาน 1 คน
ถ้าต้องการผลผลิต 1 หน่วย ใช้แรงงาน (1/MP) คน
-ถ้านายจ้างจ้างแรงงาน 1 คน เสี ยค่าจ้าง W บาท
ถ้าใช้แรงงาน 1/MP คน จะเสี ยค่าจ้าง W x (1/MP) = (W/MP)
-สรุ ป ถ้าต้องการผลผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ต้องเสี ยต้นทุนเพิ่มขึ้น (W/MP)
บาท นัน่ คือ (W/MP) = MC
-เงื่อนไขกาไรสูงสุ ดตลาดผูกขาด MC = MR
ดังนั้น นายจ้างจ้าง ณ จุด (W/MP) = MR
หรื อ W = MP x MR = MRP (Marginal Revenue Product)
-ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MR = P
8
ดังนั้น W = MP x P = VMP (Value of Marginal Product)
-นายจ้างจะเปรี ยบเทียบระหว่างมูลค่าเพิ่มของแรงงาน 1 คนที่เขาจ้าง
เพิ่มขึ้น(ที่สามารถผลิตสิ นค้าให้นายจ้าง)(VMPL ) กับ ค่าจ้างที่จ่ายให้
แรงงานที่จา้ งเพิม่ ขึ้นนั้น (W)
โดยนายจ้างจะจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ตราบใดที่ VMPL > W
และจะจ้างเพิม่ ขึ้นเรื่ อย ๆ จนกระทัง่ VMP = W ซึ่งจะทาให้นายจ้าง
ได้รับกาไรสูงสุ ด
และในตลาดไม่แข่งขัน MRPL > W และจะจ้างเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ
จนกระทัง่ MRPL = W
9
การคานวณผลิตภาพของแรงงาน
• การคานวณอย่างหยาบ ผลิตภาพแรงงาน เท่ากับ ผลผลิต หารด้วยผูม้ ีงานทา
Y
GDP
MP L 

L
Emp
• ในการศึกษาหาผลิตภาพของแรงานได้ทาการวิเคราะห์จากแบบจาลอง
สมการการผลิตแบบ Cobb-Douglas ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่า
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเบื้องต้นแท้จริ ง กับปัจจัยการผลิต
ซึ่งในที่น้ ีได้แก่ ปัจจัยทุนที่แท้จริ ง ปัจจัยแรงงานฝี มือ และปัจจัยแรงงาน
ไร้ฝีมือ หลังจากนั้นก็นาค่าความยืดหยุน่ ของผลผลิต(หรื อผลิตภัณฑ์มวล
รวมภายในประเทศเบื้องต้นแท้จริ ง)ต่อปัจจัยแรงงานไร้ฝีมือที่ได้จากการ
ประมาณการสมการมาคานวณหาผลิตภาพของแรงงานไร้ฝีมือ ผลการ
ประมาณการเป็ นดังนี้
Y = ( a1 Ls + a2 Ks )1/s
Then, MPL = a1 (Y/L)1-s and MPK = a2 (Y/K)1-s.
10
การคานวณอย่ างหยาบ
2531
2535
2540
2544
AGRI
13,903.60
19,570.60
23,546.22
27,886.03
MIN
630,823.03
633,642.71
1,143,737.13
1,358,965.55
MANU
171,335.04
171,817.86
219,408.32
227,523.78
CONS
108,080.27
80,000.28
59,058.16
47,991.24
ELEC
343,230.34
533,715.21
641,840.87
1,025,798.94
TRANS
182,684.37
203,111.26
272,811.26
310,099.97
WHOL
102,769.34
117,107.98
117,643.86
100,981.00
BANK
388,517.85
601,531.12
523,515.34
319,894.08
OWN
6,733,651.61
3,499,920.43
3,635,564.02
1,845,802.53
PUB
86,253.86
85,742.71
88,830.19
98,348.77
SER
89,181.02
93,913.93
93,502.08
79,432.19
56,268.67
79,517.66
99,610.72
11
101,304.31
Total
ผลิตภาพแยกรายสาขา
฿18,000,000
AGRI
฿16,000,000
MIN
฿14,000,000
MANU
฿12,000,000
CONS
฿10,000,000
ELEC
฿8,000,000
TRANS
฿6,000,000
WHOL
฿4,000,000
BANK
฿2,000,000
OWN
25
44
25
42
25
40
25
38
24
36
25
34
PUB
25
32
25
30
฿0
SER
Total
12
ผลิตภาพแยกรายสาขา
฿1,600,000
AGRI
฿1,400,000
MIN
฿1,200,000
MANU
฿1,000,000
CONS
฿800,000
ELEC
฿600,000
TRANS
฿400,000
WHOL
BANK
฿200,000
PUB
25
44
25
42
25
40
25
38
24
36
25
34
25
32
25
30
฿0
SER
Total
13
การเปลีย่ นแปลงผลิตภาพแยกรายสาขา
AGRI
60
MIN
40
MANU
20
CONS
ELEC
0
-20
2531
2535
2540
2544
TRANS
WHOL
BANK
-40
OWN
-60
PUB
-80
SER
Total
14
สมการการผลิตแบบ Cobb-Douglas
• logRGDP= -3.815250+0.292628logRK+1.177353logSKILL–0.266657logUNSKILL
(-6.844524)**(13.07113)** (19.27796)**
(-15.92862)**
R 2 = 0.9984
D.W. = 1.465
F-statistic = 5063.309
R 2 = 0.9982
S.E.E. = 0.01547
Prob(F-statistic) = 0.00000
** = มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 หรื อที่ระดับความเชื่อมัน่
ร้อยละ 99
เมื่อ
-ผลผลิตรวมของประเทศหรื อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
เบื้องต้นแท้จริ ง(RGDP)
-ปัจจัยทุนแท้จริ ง(การสะสมทุนเบื้องต้นแท้จริ ง:RK)
-ปัจจัยแรงงานฝี มือ(SKILL) และ
15
-ปัจจัยแรงงานไร้ฝีมือ(UNSKILL)
DPD
Temp
20+
k
Temp
15
ค่าคงที่
ความ
ยืด
หยุ่น
ทุน
2516
773586
172.1 13050.4 3992.3
2.89
0.26
2517
805974
185.7 13570.6 3588.5
2.89
2518
853794
192.8 14384.7 3797.0
2519
920860
208.9
ความ
ยืดหยุ่น
ฝี มือ
ผลิตภาพ
ความ
ผลิตภาพ ผลิตภาพ แรง
ยืดหยุ่น ทุน
แรง
งานไร้
ไร้ ฝีมือ
งานฝี มือ ฝี มือ
1.26 -0.328
1172.2
74877.9 -63562.6
0.26 1.26
-0.328
1131.8
75022.4 -73675.7
2.89
0.26 1.26
-0.328
1154.8
74975.8 -73761.3
14581 3830.0
2.89
0.26 1.26
-0.328
1149.5
79776.6 -78869.9
2520 1016647
261.5 15920.5 4387.6
2.89
0.26 1.26
-0.328
1013.8
80664.5 -76008.0
2521 1115870
280.2 17031.1 4707.0
2.89
0.26 1.26
-0.328
1038.5
82763.7 -77765.2
2522 1172041
297.7 16941.5 4288.1
2.89
0.26 1.26
-0.328
1026.7
87389.6 -89659.1
2523 1226818
340.7 17962.6 4561.3
2.89
0.26 1.26
-0.328
939.0
86274.0 -88228.3
2524 1310958
366.9 19362.4 5003.6
2.89
0.26 1.26
-0.328
931.8
85526.1 -85945.3
2525 1379621
371.6 19733.2 5098.1
2.89
0.26 1.26
-0.328
968.2
88314.3 -88770.3
16
“เกณฑ์ การกาหนดค่ าจ้ างขั้นต่าและผลกระทบต่ อการ
จ้ างงาน และค่ าจ้ างในภาคอุตสาหกรรม”
• สุ วรรณา ตุลยวศินพงศ์ (2543)
• การศึกษาผลกระทบต่อการจ้างงานของแรงงาน 6 กลุ่ม ได้แก่ แรงงาน
เพศชาย-หญิงกลุ่มอายุ 15-19 ปี อายุ 20-24 ปี และอายุ 25 ปี ขึ้น ใช้
แบบจาลองที่มีตวั แปรตามคือจานวนผูม้ ีงานทาของกลุ่มแรงงานตาม
เพศ-วัยต่างๆข้างต้น ตัวแปรอิสระได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมแท้จริ ง
อัตราค่าจ้างขั้นต่า และจานวนประชากรในกลุ่มเพศ-วัยต่าง ๆ ทั้ง 6 กลุ่ม
• ผลการศึกษาพบว่า การปรับค่าจ้างขั้นต่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะส่ งผลให้
การจ้างงานในแรงงานกลุ่มวัยรุ่ นชายและหญิงลดลงโดย กลุ่มแรงงาน
ชายอายุ 15-19 ปี ลดลงร้อยละ 0.2924 กลุ่มแรงงานชายอายุ 20-24 ปี
ลดลงร้อยละ 0.1457 และกลุ่มแรงงานหญิงอายุ 15-19 ปี ลดลงร้อยละ
0.2226 สาเหตุที่แรงงานวัยรุ่ นได้รับผลกระทบจากการปรับค่าจ้างขั้นต่า
เป็ นเพราะแรงงานกลุ่มนี้มีทกั ษะหรื อประสบการณ์นอ้ ยกว่าแรงงานกลุ17่ม
ผูใ้ หญ่ จึงเป็ นกลุ่มที่มีโอกาสว่างงานสูงกว่า
• สาหรับการศึกษาผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่าต่อค่าจ้างเฉลี่ยของแรงงาน
ในภาคอุตสาหกรรมโดยการจาแนกแรงงานออกเป็ น 10 กลุ่ม (decile
group) ใช้แบบจาลองพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการ
เปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามคือ ค่าจ้างเฉลี่ยของแรงงานใน
ภาคอุตสาหกรรม 10 กลุ่ม กับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระ
ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวม ค่าจ้างขั้นต่า และระดับการศึกษาของ
แรงงาน
• ผลการศึกษาพบว่า การปรับค่าจ้างขั้นต่าเพิม่ ขึ้นมีผลกระทบต่อระดับ
ค่าจ้างของแรงงานกลุ่มกลาง ๆ เท่านั้น แต่แรงงานกลุ่มล่าง ๆ อย่าง
แรงงานกลุ่มที่ 1 ซึ่งมีค่าจ้างต่า ไม่ได้รับอานิสงค์จากการปรับค่าจ้างขั้น
ต่าเลย ผลการศึกษาผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่าทั้งต่อการจ้างงานและ
ระดับค่าจ้างเฉลี่ยของแรงงาน สะท้อนว่าผูไ้ ม่ได้รับผลบวกจากการปรับ
ค่าจ้างขั้นต่ากลับเป็ นแรงงานกลุ่มวัยรุ่ นและแรงงานที่มีรายได้กลุ่มล่างๆ
ซึ่งเป็ นกลุ่มแรงงานที่กฎหมายจะคุม้ ครองนัน่ เอง
18
ผู้มงี านทา รวม จาแนกเป็ นรายไตรมาส
หน่ วย : ล้านคน
฿40
฿35
฿30
Q1
฿25
Q2
฿20
Q3
฿15
Q4
฿10
฿5
฿0
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549 Everage
Q1
29.3
29.8
30.3
30.5
31.8
32.8
33.3
34.0
34.4
31.8
Q2
28.4
29.7
30.3
31.4
32.4
33.5
34.7
34.7
35.3
32.3
Q3
32.0
32.0
32.9
33.5
34.3
34.8
35.5
36.1
36.1
34.1
Q4
30.9
31.4
31.8
33.1
33.9
34.6
35.5
35.8
36.0
33.7
19
/25
q 3 41
/25
q 1 41
/25
q 3 42
/25
q 1 42
/25
q 3 43
/25
q 1 43
/25
q 3 44
/25
q 1 44
/25
45
q3
/25
q 1 45
/25
q 3 46
/25
q 1 46
/25
q 3 47
/25
q 1 47
/25
q 3 48
/25
q 1 48
/25
q 3 49
/25
Ev 49
er
ag
e
q1
ผู้มงี านทา จาแนกตาม เพศ
หน่ วย : ล้านคน
25.0
20.0
15.0
ชาย
หญิง
10.0
5.0
0.0
20
/25
q 3 41
/25
q 1 41
/25
q 3 42
/25
q 1 42
/25
q 3 43
/25
q 1 43
/25
q 3 44
/25
q 1 44
/25
45
q3
/25
q 1 45
/25
q 3 46
/25
q 1 46
/25
q 3 47
/25
q 1 47
/25
q 3 48
/25
q 1 48
/25
q 3 49
/25
Ev 49
er
ag
e
q1
สั ดส่ วน ผู้มงี านทา จาแนกตาม เพศ
หน่ วย : ร้ อยละ
70.0
60.0
50.0
40.0
30.0
ชาย
หญิง
20.0
10.0
0.0
21
/25
q3 41
/25
q1 41
/25
q3 42
/25
q1 42
/25
q3 43
/25
q1 43
/25
q3 44
/25
q1 44
/25
q3 45
/25
q1 45
/25
q3 46
/25
q1 46
/25
q3 47
/25
q1 47
/25
q3 48
/25
q1 48
/25
q3 49
/25
Ev 49
er
ag
e
q1
ผู้มงี านทา จาแนกตาม อายุ
หน่ วย : ล้านคน
12.0
10.0
8.0
6.0
4.0
15-19
20-29
30-39
40-49
50-59
60 +
2.0
0.0
22
/25
q3 41
/25
q1 41
/25
q3 42
/25
q1 42
/25
q3 43
/25
q1 43
/25
q3 44
/25
q1 44
/25
q3 45
/25
q1 45
/25
q3 46
/25
q1 46
/25
q3 47
/25
q1 47
/25
q3 48
/25
q1 48
/25
q3 49
/25
Ev 49
er
ag
e
q1
สั ดส่ วน ผู้มงี านทา จาแนกตาม อายุ
หน่ วย : ร้ อยละ
30.0
25.0
20.0
15.0
10.0
15-19
20-29
30-39
40-49
50-59
60 +
5.0
0.0
23
/25
q3 41
/25
q1 41
/25
q3 42
/25
q1 42
/25
q3 43
/25
q1 43
/25
q3 44
/25
q1 44
/25
q3 45
/25
q1 45
/25
q3 46
/25
q1 46
/25
q3 47
/25
q1 47
/25
q3 48
/25
q1 48
/25
q3 49
/25
Ev 49
er
ag
e
q1
ผู้มงี านทา จาแนกตามการศึกษา
20.0
15.0
10.0
หน่ วย : ล้านคน
25.0
ป.
ม.ต ้น
ม.ปลาย
ปวช.
ปวส.
ป.ตรี
5.0
0.0
24
/25
q3 41
/25
q1 41
/25
q3 42
/25
q1 42
/25
q3 43
/25
q1 43
/25
q3 44
/25
q1 44
/25
q3 45
/25
q1 45
/25
q3 46
/25
q1 46
/25
q3 47
/25
q1 47
/25
q3 48
/25
q1 48
/25
q3 49
/25
Ev 49
er
ag
e
q1
สั ดส่ วน ผู้มงี านทา จาแนกตาม การศึกษา
60.0
50.0
20.0
หน่ วย : ร้ อยละ
80.0
70.0
ป.
ม.ต ้น
ม.ปลาย
40.0
ปวช.
30.0
ปวส.
ป.ตรี
10.0
0.0
25
/2
54
q3 1
/2
54
q1 1
/2
54
q3 2
/2
54
q1 2
/2
54
q3 3
/2
54
q1 3
/2
54
q3 4
/2
54
q1 4
/2
54
q3 5
/2
54
q1 5
/2
54
q3 6
/2
54
q1 6
/2
54
q3 7
/2
54
q1 7
/2
54
q3 8
/2
54
q1 8
/2
54
q3 9
/2
54
9
Ev
er
ag
e
q1
สั ดส่ วน ผู้มงี านทา จาแนกเพศ(หญิง/ชาย/รวม) และระบบแรงงาน(ใน/นอก)
หน่ วย : ร้ อยละ
80.0
70.0
60.0
MF
50.0
40.0
30.0
20.0
MI
WF
WI
TF
TI
10.0
0.0
26
จานวนหน่ วยธุรกิจและลูกจ้ าง
หน่ วย : พันแห่ ง/คน
400
350
300
250
หน่ วยธุรกิจ
200
ลูก จาง
้
150
100
50
20
05
20
03
20
01
19
99
19
97
19
95
0
27
อุปสงค์ แรงงานในระยะสั้ น
28
• Shot run (SR) , Long run (LR) and Very long run (VLR)
Period
Example of variable
factor
Example of fixed factor
SR
L
K,T
LR
L,K
T
VLR
L , K ,T
-
หมายเหตุ K (ทุน) , L (แรงงาน) , T (เทคโนโลยี)
29
ที่มาแนวคิด
•
•
•
•
Isoquant
Expansion path
TP MP AP
VTP VMP VAP
30
อุปสงค์ ระยะสั้ นของหน่ วยผลิต
Expansion path
ทุน
K
E1 E2 E3
E4
Q1
0
L1
L2
L3
Q2
Q3
Q4
L4 ปริ มาณแรงงาน
31
อุปสงค์ ระยะสั้ นของหน่ วยผลิต
ผลผลิต
350
300
TP
AP 
L
ΔTP
MP 
ΔL
TP
200
100
0
AP
MP
L1=20 L2=30 L3=40 L4=50 ปริ มาณแรงงาน
32
อุปสงค์ ระยะสั้ นของหน่ วยผลิต
ณ W2=6 จ้ างงาน L3
อัตราค่าจ้าง
W3
W0
W4
W1=7
W2=6
a
b
c
h
e
d
W2=6=VMP
มูลค่ าผลผลิตเฉลีย่ OL3eW1
จ่ ายค่ าจ้ างรวม OL3fW2
กาไร W2feW1
S1
g
f
VMP
S2
VAP
L1 L2 L3 L4 ปริ มาณแรงงาน
L0
0
ณ W3 จ้ างงาน L0 W3=VMP มูลค่าผลผลิตเฉลีย่ OL0bW1จ่ ายค่าจ้ างรวม OL0aW3
ขาดทุน W3abW1
ฉะนั้น การจ้ างงานจะเกิด ณ L เป็ นต้ นไป
33
อุปสงค์ ระยะสั้ นของหน่ วยผลิต
อัตราค่าจ้าง
c
W0
d
W1
DL
0
L1
L2
ปริ มาณแรงงาน
34
• ความสัมพันธ์ของตัวแปรตามข้อกาหนด
-ถ้านายจ้างต้องการผลผลิต MP หน่วย ใช้แรงงาน 1 คน
ถ้าต้องการผลผลิต 1 หน่วย ใช้แรงงาน (1/MP) คน
-ถ้านายจ้างจ้างแรงงาน 1 คน เสี ยค่าจ้าง W บาท
ถ้าใช้แรงงาน 1/MP คน จะเสี ยค่าจ้าง W x (1/MP) = (W/MP)
-สรุ ป ถ้าต้องการผลผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ต้องเสี ยต้นทุนเพิ่มขึ้น (W/MP)
บาท นัน่ คือ (W/MP) = MC
-เงื่อนไขกาไรสูงสุ ดตลาดผูกขาด MC = MR
ดังนั้น นายจ้างจ้าง ณ จุด (W/MP) = MR
หรื อ W = MP x MR = MRP (Marginal Revenue Product)
-ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MR = P
35
ดังนั้น W = MP x P = VMP (Value of Marginal Product)
-นายจ้างจะเปรี ยบเทียบระหว่างมูลค่าเพิ่มของแรงงาน 1 คนที่เขาจ้าง
เพิ่มขึ้น(ที่สามารถผลิตสิ นค้าให้นายจ้าง)(VMPL ) กับ ค่าจ้างที่จ่ายให้
แรงงานที่จา้ งเพิม่ ขึ้นนั้น (W)
โดยนายจ้างจะจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ตราบใดที่ VMPL > W
และจะจ้างเพิม่ ขึ้นเรื่ อย ๆ จนกระทัง่ VMP = W ซึ่งจะทาให้นายจ้าง
ได้รับกาไรสูงสุ ด
และในตลาดไม่แข่งขัน MRPL > W และจะจ้างเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ
จนกระทัง่ MRPL = W
36
(1)
(2)
จานวน ผลผลิต
แรงงาน (TP)
(L)
(3)
ผลผลิต
หน่ วย
สุ ดท้ าย
(MPL )
(4)
ราคา
สิ นค้ า
ต่ อ
หน่ วย
(P)
(5)=(2)x (6)=(3)x
(4)
(4)
รายได้
มูลค่ า
จากขาย ผลผลิต
ผลผลิต หน่ วย
(TR)
สุ ดท้ าย
(VMP)
0
-
0
0
-
300
1
10
10
300
3000
2
19
9
300
3
27
8
4
34
5
40
(7)
อัตรา
ค่ าจ้ าง
(W)
(8)=(1)x (9)=(5)(8)
(7)
รายจ่ าย รายได้ หัก
ค่ าแรง
ค่ าจ้ าง
รวม (TR-TW)
(TW)
1800
0
0
3000
1800
1800
1200
5700
2700
1800
3600
2100
300
8100
2400
1800
5400
2700
7
300
10200
2100
1800
7200
3000
6
300
12000
1800
1800
9000
3000
37
6
45
5
300
13500
1500
1800
10800
2700
อุปสงค์ แรงงานในระยะยาว
38
• แนวคิด
-ระยะยาวเป็ นระยะที่ปัจจัยการผลิตทุกชนิดเป็ นปัจจัยผันแปร
-การเปลี่ยนแปลงของค่าจ้างทาให้การจ้างงานเปลี่ยน การลงทุน
เปลี่ยนแปลง เช่น อัตราค่าจ้างลดลง ทาให้การจ้างงานเพิม่ ขึ้น และ
ลดการลงทุน โดยใช้แรงงานคนแทนแรงงานเครื่ องจักร(หรื อทุน) ซึ่ง
จะกระทบต่อมูลค่าของผลผลิต เส้น VMP เลื่อนไปทางซ้ายมือ เรี ยก
ผลทางด้ านการทดแทน (substitution effect)
-ผลจากการที่ค่าจ้างลดลง ทาให้การจ้างงานเพิ่มขึ้น อาจทาให้มี
การเพิม่ การลงทุนก็ได้ อันจะทาให้เส้น VMP เลื่อนไปทางขวามือ
เรี ยก ผลทางด้ านของผลผลิต (scale effect)
W
Nd
N
K
Nd
N
K
MPL
MPL
VMPL (ผลด้านทดแทน)
VMPL (ผลด้านผลผลิต) 39
อุปสงค์ แรงงานในระยะยาวของหน่ วยธุรกิจ
อัตราค่าจ้าง
W0
W1
a
c
b
VMP0 VMP1
SR LR
0
-อัตราค่าจ้าง OW0 การจ้างงาน OL0 เส้น
VMP0 ที่จุด a
-อัตราค่าจ้างลดลง OW1 ระยะสั้นการจ้าง
งานเพิ่มOL1 ระยะยาวมีเวลานานพอที่จะ
เอาแรงงานแทนเครื่ องจักร เมื่อขยายการ
ผลิตเพิม่ ขึ้นจากที่ตน้ ทุนค่าจ้างลดลง เส้น
VMP เลื่อนเป็ น VMP1 การจ้างงาน L2 ที่
จุด c (VMP เพิ่มขึ้นเพราะMPLเพิ่มขึ้น )
-เชื่อมจุด a และ cได้เส้นอุปสงค์แรงงาน
ระยะยาว DLที่มีความยืดหยุน่ มากกว่า
ระยะสั้น
DL
ปริ มาณแรงงาน
L0 L1 L2
40
อุปสงค์ แรงงานของหน่ วยธุรกิจทีม่ ีการผูกขาดระยะยาว
ในกรณีทผี่ ลทางด้ านผลผลิต(scale effect)มากกว่ าผลทางด้ านทดแทน
(substitution effect)
-อัตราค่าจ้าง OW0 การจ้างงาน OL0 เส้น
อัตราค่าจ้าง
a
W0
b
W1
VMP0 VMP1
0
L0
L1
VMP0 ที่จุด a
-อัตราค่าจ้างลดลง OW1 การจ้างงานเพิ่ม
OL1 และมีการเพิ่มการลงทุน การใช้ปัจจัย
ทุนเพิ่มขึ้นด้วย เส้น VMP1 ที่จุด b (VMP
เพิม่ ขึ้นเพราะMPLเพิม่ ขึ้น )
-เชื่อมจุด a และ b ได้เส้นอุปสงค์แรงงาน
ระยะยาว DLที่มีความยืดหยุน่ มากกว่าระยะ
สั้น
DL
ปริ มาณแรงงาน
41
ในกรณีทผี่ ลทางด้ านทดแทน (substitution effect) มากกว่ าผลทางด้ าน
-อัตราค่าจ้าง OW0 การจ้างงาน OL0
ผลผลิต (scale effect)
อัตราค่าจ้าง
W0
W1
a
b
เส้น VMP0 ที่จุด a
-อัตราค่าจ้างลดลง OW1 การจ้างงาน
เพิ่มOL1 เส้น VMP1 ที่จุด b
(VMPลดลงเพราะMPL ลดลง
เนื่องจากใช้แรงงานเพิ่มขึ้นแต่การ
ใช้ทุนไม่เพิม่ ด้วย)
-เชื่อมจุด a และ b ได้เส้นอุปสงค์
แรงงานระยะยาว DLที่มีความ
ยืดหยุน่ น้อยกว่าระยะสั้น
VMP0
DL VMP1
0
L0 L1
ปริ มาณแรงงาน
42
อุปสงค์ แรงงานในอุตสาหกรรม
อัตราค่าจ้าง
W2
W0
W1
e d
a
bc
-อัตราค่าจ้าง OW0 การจ้างงาน OL0
-อัตราค่าจ้างลดลง OW1 การจ้างงานแต่ละราย
รวมกันเพิ่มL0L4 แต่ท้ งั อุตสาหกรรมเพิ่มเพียง
L0L3 เพราะค่าจ้างลดลง จ้างงานเพิ่ม ผลผลิตทั้ง
อุตสาหกรรมเพิ่ม ปริ มาณเพิ่มมาก ราคาลด
VMPL ลดลง(VMPL =MPL xP ) การจ้างงานจึง
เพิ่มไม่มาก
-กรณี อตั ราค่าจ้างเพิ่มสู งขึ้นจะเป็ นตรงข้าม
DLของหน่วยธุรกิจใน
0
L1 L2 L0 L3 L 4
อุตสาหกรรมรวมกัน
DIอุตสาหกรรม
ปริ มาณแรงงาน
43
สาเหตุการเปลีย่ นแปลงอุปสงค์ แรงงาน
44
• 1) การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ผลผลิต
 Product Demand
DG
DL
• 2) การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตและวิธีการผลิต
( การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
-เทคโนโลยีที่ใช้ทดแทนกัน หุ่นยนต์แทนแรงงานคน
-เทคโนโลยีที่ใช้ประกอบกัน จักรเย็บกับแรงงานคน
3)การเปลี่ยนแปลงราคาปัจจัยการผลิตอื่น ๆ
-PK (R )
K
ทดแทนกัน
DL
ประกอบกัน
DL
-PL(หรื อW)สหภาพแรงงาน DLนอกสหภาพ
DL
DL
45
• 4) การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพแรงงาน
-MPL
DL
• 5) จานวนนายจ้าง (Number of Employers)
-จานวนนายจ้าง
DL
ค่าจ้าง
W0
DL1
DL0
0
L0 L1
ปริ มาณแรงงาน
46
การประมาณการความสั มพันธ์ ระหว่ างจานวนการจ้ างงานกับค่ าจ้ างเฉลี่ย
Dependent Variable: EMP
Emp จานวนการจ้างงาน(พันคน)
Method: Least Squares
AW ค่าจ้างเฉลี่ย(บาทต่อเดือน)
Date: 12/06/07 Time: 08:32
Sample(adjusted): 1998:1 2006:2
Included observations: 32
Excluded observations: 2 after adjusting endpoints
Variable Coefficient
Std. Error
t-Statistic
Prob.
C
6914.571
2554.226
2.707110
0.0111
AW
4.505055
0.440604
10.22473
0.0000
R-squared
0.777026 Mean dependent var
32973.07
Adjusted R-squared 0.769594 S.D. dependent var
2001.059
S.E. of regression 960.5210 Akaike info criterion
16.63329
Sum squared resid 27678015 Schwarz criterion
16.72490
Log likelihood
-264.1326 F-statistic
104.5451
Durbin-Watson stat 1.642829 Prob(F-statistic)
0.000000
47
การประมาณการความสั มพันธ์ ระหว่ างค่ าจ้ างเฉลีย่ กับจานวนการจ้ างงาน
Dependent Variable: AW
AW ค่าจ้างเฉลี่ย(บาทต่อเดือน)
Method: Least Squares
Emp จานวนการจ้างงาน(พันคน)
Date: 12/06/07 Time: 08:35
Sample(adjusted): 1998:1 2006:2
Included observations: 32
Excluded observations: 2 after adjusting endpoints
Variable Coefficient
Std. Error
t-Statistic
Prob.
C
97.12443
557.2071
0.174306
0.8628
EMP
0.172479
0.016869
10.22473
0.0000
R-squared
0.777026 Mean dependent var
5784.281
Adjusted R-squared 0.769594 S.D. dependent var
391.5416
S.E. of regression 187.9424 Akaike info criterion
13.37061
Sum squared resid 1059670. Schwarz criterion
13.46222
Log likelihood
-211.9297 F-statistic
104.5451
Durbin-Watson stat 1.477160 Prob(F-statistic)
0.000000
48
การประมาณการความสั มพันธ์ ระหว่ างจานวนการจ้ างงานกับค่ าจ้ างเฉลีย่ และGDP
D(t)  α 0  α1 w(t)  α 2 x(t)  u1 (t)
Dependent Variable: EMP
Method: Least Squares
Emp จานวนการจ้ างงาน(พันคน)
Date: 12/06/07 Time: 08:43
WM ค่ าจ้ างเฉลีย่ ชาย(บาทต่ อเดือน)
Sample(adjusted): 1998:1 2006:2
WF ค่ าจ้ างเฉลีย่ หญิง(บาทต่ อเดือน)
Included observations: 32
Excluded observations: 2 after adjusting endpoints GDP(ล้ านบาท)
Variable Coefficient
Std. Error
t-Statistic
Prob.
C
5723.571
2800.254
2.043947
0.0505
WM
4.072709
0.935607
4.353012
0.0002
WF
-0.749962
0.915790
-0.818924
0.4197
GDP
0.007327
0.002751
2.663597
0.0127
R-squared
0.845362 Mean dependent var
32973.07
Adjusted R-squared 0.828793 S.D. dependent var
2001.059
S.E. of regression 827.9814 Akaike info criterion
16.39233
Sum squared resid 19195489 Schwarz criterion
16.57554
Log likelihood
-258.2772 F-statistic
51.02251
49
Durbin-Watson stat 1.975001 Prob(F-statistic)
0.000000
การประมาณการความสั มพันธ์ ระหว่ างGDPกับจานวนผู้มีงานทา
Dependent Variable: EMP
Emp ผูม้ ีงานทา(พันคน)
Method: Least Squares
Date: 12/06/07 Time: 08:15
GDP (ล้านบาท)
Sample(adjusted): 1998:1 2006:2
Included observations: 34 after adjusting endpoints
Variable Coefficient
Std. Error
t-Statistic
Prob.
C
18831.16
1592.505
11.82487
0.0000
GDP
0.016969
0.001923
8.825258
0.0000
R-squared
0.708787 Mean dependent var
32775.01
Adjusted R-squared 0.699687 S.D. dependent var
2119.836
S.E. of regression 1161.689 Akaike info criterion
17.01016
Sum squared resid 43184659 Schwarz criterion
17.09995
Log likelihood
-287.1727 F-statistic
77.88517
Durbin-Watson stat 1.831719 Prob(F-statistic)
0.000000
50
การประมาณการความสั มพันธ์ ระหว่ างอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับจานวนผู้มี
งานทา
Dependent Variable: EMP
Emp ผูม้ ีงานทา(พันคน)
Method: Least Squares
Gro อัตราการเติบโตเศรษฐกิจ(%)
Date: 12/06/07 Time: 08:17
Sample(adjusted): 1998:1 2006:2
Included observations: 34 after adjusting endpoints
Variable Coefficient
Std. Error
t-Statistic
Prob.
C
32139.57
363.4794
88.42201
0.0000
GRO
200.3847
57.53328
3.482935
0.0015
R-squared
0.274883 Mean dependent var
32775.01
Adjusted R-squared 0.252223 S.D. dependent var
2119.836
S.E. of regression 1833.109 Akaike info criterion
17.92244
Sum squared resid 1.08E+08 Schwarz criterion
18.01222
Log likelihood
-302.6814 F-statistic
12.13083
Durbin-Watson stat 0.637185 Prob(F-statistic)
0.001458
หากในปี ปัจจุบนั การเจริ ญเติบโตศก. -3% การจ้างงานเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
51
อัตราการใช้ กาลังการผลิต(CapU) กับการจ้ างงาน(Emp)
100
80
60
CapU(%)
40
Emp(Mil)
20
19
95
19
96
19
97
19
98
19
99
20
00
20
01
20
02
20
03
20
04
0
52
ผลการประมาณการ อัตราการใช้ กาลังการผลิต กับการจ้ างงาน
Dependent Variable: EMP
Method: Least Squares
Date: 12/06/07 Time: 07:58
Sample(adjusted): 1996 2004
Included observations: 9 after adjusting endpoints
Variable Coefficient
Std. Error
-Statistic
C
-1.954991
7.890338
-0.247770
CAPU 0.041341
0.042719
0.967735
EMP(-1) 0.994368
0.269212
3.693632
R-squared
0.772342 Mean dependent var
Adjusted R-squared 0.696457 S.D. dependent var
S.E. of regression 0.839602 Akaike info criterion
Sum squared resid 4.229585 Schwarz criterion
Log likelihood
-9.372403 F-statistic
Durbin-Watson stat 1.585692 Prob(F-statistic)
Prob.
0.8126
0.3706
0.0102
32.07507
1.523922
2.749423
2.815164
10.17769
0.011799
53
การประมาณการความสั มพันธ์ ระหว่ างจานวนหน่ วยธุรกิจกับจานวนลูกจ้ าง
Dependent Variable: NE
NF จานวนหน่วยธุรกิจ
Method: Least Squares
Date: 11/29/07 Time: 12:23
NE จานวนลูกจ้าง
Sample: 1995 2006
Included observations: 12
Variable Coefficient
Std. Error
t-Statistic
Prob.
C
95247.81
38276.84
2.488393
0.0321
NF
5.389912
2.170563
2.483186
0.0324
R-squared
0.381426 Mean dependent var
166171.4
Adjusted R-squared 0.319568 S.D. dependent var
107013.7
S.E. of regression 88273.77 Akaike info criterion
25.76529
Sum squared resid 7.79E+10 Schwarz criterion
25.84610
Log likelihood
-152.5917 F-statistic
6.166211
Durbin-Watson stat 1.964246 Prob(F-statistic)
0.032366
จากแบบจาลองต่าง ๆให้สรุ ปว่า การจ้างงานขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยใดบ้าง? อย่างไร? 54
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ แรงงานต่ อการเปลีย่ นแปลงค่ าจ้ าง
55
• แนวคิดความยืดหยุน่
ความยืดหยุน่ ของอุปสงค์แรงงานต่อค่าจ้าง เป็ นเปอร์เซ็นต์การ
เปลี่ยนแปลงของอุปสงค์แรงงานต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าจ้าง
% D L
Ed 
% W
ถ้า
W = 1% แล้ว DL = ? %
ถ้า ED = perfect elastic ED > 1 elastic
ED = 1 unitary elastic ED < 1 inelastic
ED = 0 perfect inelastic
กิจกรรม ประยุกต์แนวคิดความยืดหยุน่ กับทักษะแรงงาน&อุตสาหกรรม
56
• กราฟแสดงความยืดหยุน่ ของอุปสงค์แรงงานต่อค่าจ้าง
W
EDL2 > EDL1
a
178
b
168
c
DL2
DL1
0
150
180
250
DL
57
• ตัวอย่างการหาความยืดหยุน่ ของอุปสงค์แรงงานต่อค่าจ้าง
อุตสาหกรรม1
อุตสาหกรรม2
W1
142
550
W2
138
500
DL1
100
5
DL2
120
6
W
D
ED
เปรี ยบเทียบ ED และประเภทอุตสาหกรรม
ยกตัวอย่าง อุตสาหกรรม1 และ อุตสาหกรรม2 ว่าเป็ นประเภทใด?
58
ผลการประมาณการความยืดหยุน่ ของอุปสงค์แรงงาน(EMP)ต่อค่าจ้างเฉลี่ย(AW)
Dependent Variable: LOG(EMP)
Method: Least Squares
Date: 12/06/07 Time: 09:39
Sample(adjusted): 1998:1 2006:2
Included observations: 32
Excluded observations: 2 after adjusting endpoints
Variable
Coefficient
Std. Error
C
3.437533
0.664710
LOG(AW)
0.804106
0.076748
R-squared
0.785365 Mean dependent var
Adjusted R-squared 0.778211 S.D. dependent var
S.E. of regression 0.028814 Akaike info criterion
Sum squared resid 0.024907 Schwarz criterion
Log likelihood
69.12751 F-statistic
Durbin-Watson stat 1.717453 Prob(F-statistic)
t-Statistic
5.171477
10.47722
10.40164
0.061183
-4.195469
-4.103861
109.7722
0.000000
Prob.
0.0000
0.0000
จากค่าสัมประสิ ทธิ์ที่ได้ มีความสอดคล้องกับอุตสาหกรรมประเภทใด?
59
ปัจจัยกาหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ แรงงาน
60
• 1) Price Elasticity of Demand for Labor (Elasticity of Product Demand)
• 2) การทดแทนกันของปัจจัยการผลิต (Substitutability of Other input )
• 3) สัดส่ วนต้นทุนแรงงานต่อต้นทุนการผลิตรวม
เช่น สัดส่ วนสูง (80%) W
Cost (มาก)
DL (มาก)
ED สูง
สัดส่ วนต่า (30%)
W
Cost น้อย
DL น้อย
ED ต่า
61
ตัวอย่ างข่ าว บทความ และผลงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
62
โลกาภิวตั น์ กบั มาตรฐานแรงงาน และสิ่ งแวดล้ อม
• การเคลื่อนย้ายเงินทุนข้ามชาติในโลกปัจจุบนั ได้ถูกโจมตีอย่างหนักจาก
กลุ่มต่อต้านโลกาภิวตั น์ ด้วยข้อหาประการหนึ่งว่า การลงทุนข้ามชาติได้
ลดทอนอานาจและทางเลือกเชิงนโยบายของรัฐบาลประเทศกาลังพัฒนา
ลงอย่างมาก ทาให้ไม่สามารถปกป้ องผลประโยชน์ของประชาชนคน
ยากจนได้
• รัฐบาลก็ตอ้ งดาเนินนโยบายเศรษฐกิจสังคมที่เอื้อประโยชน์แก่ทุน
ต่างชาติ แต่เป็ นผลร้ายต่อประชาชนส่ วนใหญ่ เช่น รัฐบาลประเทศกาลัง
พัฒนาจาต้องลดมาตรฐานการคุม้ ครองแรงงาน และสิ่ งแวดล้อมให้ต่าลง
เพื่อดึงดูดบรรษัทข้ามชาติให้เคลื่อนย้ายเงินทุนจากประเทศพัฒนาแล้ว ที่
มีมาตรฐานแรงงานและสิ่ งแวดล้อมสู ง เข้ามาขูดรี ดแรงงานในประเทศ
กาลังพัฒนาในราคาถูก ไม่มีตน้ ทุนสวัสดิการคนงาน ตักตวงประโยชน์
จากทรัพยากร ทาลายสิ่ งแวดล้อมได้ตามใจชอบ ทาให้บรรษัทข้ามชาติมี
63
ต้นทุนแรงงานและสิ่ งแวดล้อมต่าสุ ด ได้กาไรสูงสุ ด
• จากข้อมูลการลงทุนที่หน่วยงานสากล เช่น ธนาคารโลก และองค์การ
เพื่อความร่ วมมือและการพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) รวบรวมไว้ลว้ น
แสดงภาพเดียวกันคือ การลงทุนระหว่างประเทศกว่าร้อยละ 80 เป็ นการ
ลงทุนข้ามชาติภายในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วด้วยกันเอง เช่น อเมริ กาไป
ลงทุนในยุโรป ญี่ปุ่นไปลงทุนในสหรัฐอเมริ กาและยุโรป หรื อยุโรปไป
ลงทุนในสหรัฐ เป็ นต้น มีเพียงไม่ถึงร้อยละ 20 ที่เป็ นการลงทุนจาก
ประเทศพัฒนาแล้วมายังประเทศกาลังพัฒนา
• มีการศึกษาวิจยั หลายชิ้น ส่ วนใหญ่ให้ภาพคล้ายกันคือ อุตสาหกรรมที่
ย้ายจากประเทศพัฒนาแล้ว มายังประเทศกาลังพัฒนามักเป็ น
อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานหนาแน่น และบางกรณี กเ็ ป็ นอุตสาหกรรมที่
ก่อมลภาวะจริ ง ซึ่งสะท้อนว่า อัตราค่าจ้างแรงงานที่ต่ากว่าในประเทศ
กาลังพัฒนา และมาตรฐานสิ่ งแวดล้อมที่สูงกว่าในประเทศพัฒนาแล้ว
เป็ นแรงจูงใจประการหนึ่งในอุตสาหกรรมเหล่านี้
64
• เมื่อเปรี ยบเทียบอุตสาหกรรมข้ามชาติเหล่านี้กบั อุตสาหกรรมท้องถิ่น จะ
พบว่าอุตสาหกรรมข้ามชาติจ่ายค่าจ้างและให้สวัสดิการแรงงานสู งกว่า มี
ปัญหาขัดแย้งกับแรงงาน น้อยกว่าอุตสาหกรรมท้องถิ่น รวมทั้งปฏิบตั ิ
ตามกฎหมายสิ่ งแวดล้อมของประเทศนั้นๆ ได้ดีกว่า
• การที่บรรษัทข้ามชาติมกั จะจ่ายค่าจ้างและสวัสดิการแรงงานสู งกว่า
ธุรกิจท้องถิ่น เพราะอุตสาหกรรมที่ยา้ ยเข้ามานั้น ใช้เทคโนโลยีที่
ต้องการแรงงานที่มีการศึกษาและทักษะระดับหนึ่ง ซึ่งค่อนข้างสูง
สาหรับมาตรฐานท้องถิ่น บรรษัทข้ามชาติจึงต้องจ่ายค่าจ้าง และ
สวัสดิการสูงกว่าท้องถิ่นเพื่อดึงดูดแรงงานกลุ่มที่ตอ้ งการ
• บรรษัทข้ามชาติกลับปฏิบตั ิตามมาตรฐานสิ่ งแวดล้อมที่สูงกว่ากฎหมาย
ท้องถิ่นเสี ยอีก
65
• ประเด็นสาคัญสาหรับประเทศกาลังพัฒนา จึงไม่ใช่การดึงดูดเงินทุนด้วย
การลดมาตรฐานแรงงาน และสิ่ งแวดล้อมดังที่บางคนเข้าใจผิด
• หากแต่เป็ นตรงข้าม คือ ต้องเร่ งพัฒนาคุณภาพ ทักษะ และการศึกษาของ
แรงงาน ยกมาตรฐานคุม้ ครองแรงงาน และสิ่ งแวดล้อมให้สูงขึ้น ตามระดับ
การพัฒนาของเศรษฐกิจสังคม เสริ มสร้างหน่วยงานรัฐ และเอกชน ด้าน
แรงงาน และสิ่ งแวดล้อมให้มีประสิ ทธิภาพและทัว่ ถึง ประกอบกับการ
ปฏิรูปกฎหมาย ภาษี กฎเกณฑ์และการเมืองให้ทนั สมัย โปร่ งใส ประกอบ
กันเป็ นสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเอื้อแก่การประกอบธุรกิจทั้งโดยทุน
ท้องถิ่นและทุนข้ามชาติ
• ที่มา มองมุมใหม่ : โดย รศ.ดร.พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q4/article2005oct27p6.htm
66
บริษทั ญี่ปุ่นทิง้ จีน-ไทยไปลงทุนเวียดนาม
• บริ ษทั จากญี่ปุ่นหลายแห่งได้เริ่ มให้พิจารณาเวียดนามเป็ นประเทศปลาย
ทางการลงทุน เนื่องมาจากค่าแรงงานที่ต่า และตลาดผูบ้ ริ โภคจากประชากร
80 กว่าล้านคนซึ่งมีศกั ยภาพมากกว่าในขณะที่การลงทุนในไทยเริ่ มมี
ปัญหาเรื่ องแรงงานมีฝีมือ และจีนก็ไม่ขอ้ จากัดมาก
• บริ ษทั ตั้งเป้ าจะเพิ่มการผลิตอิงค์เจ็ตพริ้ นเตอร์ในไทย แต่ทา้ ยสุ ดหันมาเลือก
เวียดนามแทน เนื่องจากง่ายต่อการจ้างแรงงานที่มีทกั ษะ อีกทั้งยังเป็ นพื้นที่
ซึ่งเหมาะต่อการเข้าถึงซัพพลายเออร์ท้ งั ในจีนและประเทศอื่นๆ ในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ดว้ ย
67
• ค่าแรงงานที่ต่า คือ ปัจจัยสาคัญอันหนึ่งที่กระตุน้ การเข้ามาลงทุนใน
เวียดนาม โดยประธานบริ ษทั คือนายคูนิโตชิ ชิกิยามา เปิ ดเผยว่า ต้นทุน
การผลิตในเวียดนามต่ากว่าที่อื่นๆ
• จากการสารวจโดยองค์การการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (Jetro) พนักงาน
ซึ่งทางานในโรงงานในนครโฮจิมินห์ได้รายได้ในอัตราเฉลี่ย 102-138
ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อเดือน ซึ่งถูกกว่าในกรุ งเทพฯ และเซี่ยงไฮ้ถึง 50-80
ดอลลาร์
• ผูป้ ระกอบการชาวญี่ปุ่นหลายคนเปิ ดเผยว่า แรงงานในเวียดนามมีความ
ขยันหมัน่ เพียร มีอตั ราผลผลิตที่มีตาหนิไม่สูง แรงงานชาวเวียดนามที่พดู
ภาษาอังกฤษได้มีมากกว่าในไทยและจีน
•
ที่มา http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9470000101112 วันจันทร์ที่3มกราคม พ.ศ.2548
โดยสรุ ปแล้ว การตัดสิ นใจลงทุนของต่างชาติข้ ึนอยูก่ บั ปัจจัยใดบ้าง? และ
68
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประเทศที่ไปลงทุนอย่างไร?
การศึกษาผลกระทบของการแปรรู ปและเปิ ดเสรีกจิ การไฟฟ้ า
ของประเทศไทย จากประสบการณ์ ของต่ างประเทศ
• พรทิพย์ เลิศสุ วรรณกิจ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย 2547
• ผลการศึกษาพบว่า
• ด้ านประสิ ทธิภาพจะดีข้ ึนเมื่อเอกชนเป็ นเจ้าของระบบผลิตไฟฟ้ ามากขึ้น
ผูเ้ ข้าร่ วมในตลาดไฟฟ้ ามีความเสรี ในการใช้สายส่ งไฟฟ้ ามากขึ้น และ
ผูใ้ ช้ไฟฟ้ ามีความเสรี ในการเลือกซื้อไฟฟ้ ามากขึ้น
• ราคาค่ าไฟฟ้ าจะต่าลงเมื่อมีการประกาศเปิ ดเสรี กิจการไฟฟ้ า และเอกชน
เป็ นเจ้าของระบบผลิตไฟฟ้ ามากขึ้น
• ทางด้ านคุณภาพ อัตราไฟฟ้ าดับจะลดลงเมื่อผูเ้ ข้าร่ วมในตลาดไฟฟ้ ามี
ความเสรี ในการใช้สายส่ งไฟฟ้ ามากขึ้น
69
• ด้ านการจ้ างงานจะมีการลดตาแหน่งงานทางด้านเทคนิค และเพิ่มการจ้ าง
งานที่เกี่ยวกับการบริ การลูกค้า การตลาด และเทคโนโลยีสารสนเทศมาก
ขึ้น
• ด้ านสิ่ งแวดล้อมและด้ านการใช้ เชื้อเพลิงจะขึ้นอยูก่ บั นโยบายทางด้าน
สิ่ งแวดล้อมของประเทศที่จะเข้มงวดขึ้น
• สาหรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในประเทศไทย หากใช้รูปแบบ
โครงสร้างกิจการไฟฟ้ าแบบ Enhanced Single Buyer Model (ESB) จะทา
ให้ประสิ ทธิภาพในแง่ของอัตราการใช้ประโยชน์ในระบบการผลิตไฟฟ้ า
แย่ลง แต่ในด้านอื่นๆ จะดีข้ ึน ซึ่งส่ งผลให้สวัสดิการโดยรวมเพิม่ ขึ้น
เล็กน้อย
• ในขณะที่ หากดาเนินการแปรรู ปและเปิ ดเสรี กิจการไฟฟ้ าอย่างสมบูรณ์
จะทาให้ค่าสวัสดิการโดยรวมเพิม่ ขึ้นอย่างมาก
70
แรงงานไทย ปี ’47 : การจ้ างงานเปลีย่ นไป
• แม้ปัจจุบนั โลกจะเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการผลิต และใช้
เครื่ องจักรผลิตสิ นค้าแทนมนุษย์ได้ แต่แรงงานก็ยงั มีส่วนสาคัญที่สุดใน
การผลิตตลอดไป เนื่องจากมนุษย์ยงั มีบทบาทสาคัญ ในฐานะผูป้ ระดิษฐ์
และผูผ้ ลิต เครื่ องจักรเครื่ องมือต่างๆ
• ... แรงงานชนบท : แนวโน้ มเคลือ่ นย้ ายสู่ เมืองเพิม่
• ตลอดปี นี้ คาดว่าจะมีพ้นื ที่ประสบความแห้งแล้งรุ นแรงมากถึง 8,800
หมู่บา้ น จะทาให้มีประชาชนได้รับความเดือดร้อนกว่า 4 ล้านคน สภาวะ
ความแห้งแล้งรุ นแรงปี นี้ คาดจะส่ งผลเกิดปัญหาว่างงานภาคการเกษตร
และจะเคลื่อนย้ายแรงงานจากชนบทเข้าเมืองสูงขึ้น... จะส่ งผลกระทบ
วิถีดารงชีวิตคนชนบท และการทางานแรงงานภาคการเกษตร
71
• แรงงานในเมือง : เปลีย่ นไป
• ไตรมาสแรก การส่ งออกยังคงขยายตัวดีต่อเนื่อง ทาให้จา้ งงาน
ภาคอุตสาหกรรม และส่ งออก สูงขึ้น
• ไตรมาสแรก ใช้กาลังผลิตภาคอุตสาหกรรมสูงถึง 75% ของกาลังผลิต
ทั้งหมด แสดงให้เห็นว่า การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม ยังค่อนข้างดี
• คนว่างงานแนวโน้มลดลง แต่เนื่องจากรู ปแบบจ้างงานเปลี่ยนไป ยังมี
ปัญหาการชุมนุมสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ปัญหาความแห้งแล้ง
รุ นแรงในชนบท ปัญหาเคลื่อนย้ายแรงงานจากชนบทเข้าเมือง และ
ปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย ซึ่งเป็ นปัญหาแรงงานที่รัฐบาลต้อง
แก้ไขต่อไป
72
ตาราง อัตราใช้กาลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม
ภาคอุตสาหกรรม
อัตราใช้ กาลังการผลิตรวม
อาหาร
เครื่ องดื่ม
ยาสูบ
วัสดุก่อสร้ าง
เหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก
ยานยนต์และอุปกรณ์
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
อิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ ไฟฟ้า
2545
59.3
45.1
50.5
53.8
56.9
60.6
54.6
76.2
55.4
หน่วย : %
2546 2547
66.3
75.0
54
88.4
56.6
65.3
55.8
61.0
57.6
63.4
64.4
76.1
69.4
79.9
79.5
82.4
73
62.1
64.6
• สภาพการจ้างงานโดยทัว่ ไปแรงงานทั้งระบบ เปลี่ยนแปลงไป ดังนี้
– 1. “จ้างงานชัว่ คราว” (Outsource) และ “รับงานทาที่บา้ น” เพิ่มขึ้น
– 2. “จ้างงานต่าระดับ ” มากขึ้น ปัจจุบนั ตลาดแรงงานเป็ นของนายจ้าง ทาให้นายจ้าง
ไม่ค่อยง้อลูกจ้างมาก เนื่องจากแรงงานจบการศึกษาบางสาขามากเกินต้องการของ
ตลาด ส่ งผลแรงงานจานวนมากต้องทางาน โดยรับเงินเดือนต่ากว่าวุฒิการศึกษา
จานวนมาก
– 3. จ้างงานนักเรี ยน-นักศึกษา ทางานมากขึ้น งานบางประเภทให้ทาไม่ยงุ่ ยาก
ซับซ้อน สามารถทางานทดแทน หรื อสลับตาแหน่งกันได้ และงานที่ทาหลังเวลา
ทางานปกติ งานส่ วนใหญ่ ต้องการคนหนุ่ม-สาว หรื อแรงงานวัยศึกษา เช่น ธุรกิจ
ร้านอาหาร สื่ อสาร พนักงาน Call Center หน่วยงานต่างๆ เป็ นต้น
– 4. “จ้างแรงงานแฝง ” จานวนมาก โดยเฉพาะธุรกิจใช้แรงงานต่างด้าวลักลอบเข้า
เมืองผิดกฎหมาย และจ่ายค่าจ้างแรงงานต่ากว่าความเป็ นจริ ง
การจ้างแรงงานแฝง จะมีผลให้แรงงานคนไทย มีโอกาสทางานน้อยลง
ที่มา ที่มา ศูนย์วจิ ยั กสิ กรไทย
74
http://www.manager.co.th/business/ViewNews.asp?NewsID=4720143781900&PageNo=4&Keyword= อ-4-05-47
ผลกระทบความร่ วมมือทางเศรษฐกิจต่ อการจ้ างงาน
กรณีศึกษาการพัฒนากาลังคนเพือ่ ความสามารถแข่ งขันใน
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ : รายงานผลการวิจัย
• เพื่อวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในการใช้แรงงานทดแทนและความพึงพอใจ
ในงาน
• ที่มา ศิริเชษฐ์ สังขะมาน ทุนอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2537
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจยั สังคม
75
• ด้ านการใช้ แรงงานเทคนิคแทนวิศวกร จากการศึกษาพบความแตกต่างที่
สาคัญระหว่างวิศวกรและช่างเทคนิคในด้านการศึกษา คือ การศึกษาใน
ระดับโรงเรี ยนทาให้วิศวกรมีความรู ้พ้นื ฐานทางคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และภาษาอังกฤษ และมีความรู ้พ้นื ฐานทางวิศวกรรมแบบครอบคลุมหลาย
สาขามากกว่าช่างเทคนิค และการเรี ยนเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ของวิศวกร
เน้นการเรี ยนรู ้ในเชิงทฤษฎีมากกว่าปฏิบตั ิ ส่ วนช่างเทคนิคจะเรี ยนรู ้ดา้ น
การปฏิบตั ิมากกว่า แต่พบว่าช่างเทคนิคที่มีประสบการณ์และได้รับการ
ฝึ กอบรมเพิม่ เติมแล้วมีความเป็ นไปได้ในการทาหน้าที่ทดแทนวิศวกรได้
ด้วยการฝึ กอบรมให้ช่างเทคนิคมีความรู ้ภาษาอังกฤษและความรู ้ทาง
วิศวกรรมในเชิงทฤษฎี
76
• ด้ านความพึงพอใจในงาน พบว่า กลุ่มประชากรตัวอย่างมีความพึงพอใจใน
งานในระดับพอใจ 74.2 % และพอใจมาก 21.1 % สรุ ปได้วา่ ประชากร
ตัวอย่างมีความพึงพอใจในงานที่ทาอยูใ่ นระดับสูงมากคือ 95.4% และมีผไู ้ ม่
พึงพอใจในงานเท่ากับ 4.6%
• อายุ รายได้ และอายุงาน ไม่สามารถนามาทานายระดับความพึงพอใจใน
งานได้
• เพศและระดับการศึกษาไม่มีความเกี่ยวข้องกับระดับความพึงพอใจในงาน
• ปัจจัยเอื้อหลายประการในการทดแทนวิศวกรด้วยช่างเทคนิค กล่าวคือ การ
นาช่างเทคนิคเข้ามาทดแทนวิศวกรมีขอ้ ได้เปรี ยบหลายด้าน ได้แก่ 1) เกณฑ์
อายุโดยเฉลี่ยของช่างเทคนิคในวัยทางานมีค่าต่ากว่าวิศวกร 2) อายุงานใน
บริ ษทั ของช่างเทคนิคโดยเฉลี่ยสูงกว่าวิศวกร 3) อัตราค่าจ้างแรงงานโดย
เฉลี่ยของช่างเทคนิคต่ากว่าวิศวกรหนึ่งหมื่นบาทต่อคนต่อเดือน และ 4)
77
ความพึงพอใจในงานของช่างเทคนิคสูงกว่าวิศวกรโดยเฉลี่ย
ความต้ องการกาลังคนภาคอุตสาหกรรม : ศึกษากรณี
อุตสาหกรรมสิ่ งทอ
• นฤมล บรรจงจิตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจยั สังคม2541
• ปัญหาด้านแรงงานในอุตสาหกรรมเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ปประกอบด้วย 1)
ปัญหาการขาดแคลนแรงงานประเภทกึ่งฝี มือ ได้แก่ พนักงานเย็บผ้าซึ่ง
หายากในช่วงฤดูกาลเกษตร 2)ปัญหาขาดประสบการณ์ของแรงงาน
ระดับการผลิต และ 3) ปัญหาการเข้า-ออกของแรงงานมีสูงทาให้แรงงาน
ขาดการเรี ยนรู ้ทกั ษะเฉพาะด้านอย่างต่อเนื่อง
• การจ้ างงานในอุตสาหกรรมเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ปยังขาดเสถียรภาพ กล่าวคือ
ลูกจ้างในระดับการผลิตจะได้รับค่าจ้างเป็ นรายวันหรื อรายชิน้ ส่ วน
ลูกจ้างหรื อพนักงานประจาสานักงานและลูกจ้างที่มีฝีมือประเภทช่าง
วิศวกร นักวิทยาศาสตร์ จะมีการจ้ างงานที่มนั่ คงกว่า
78
• ผูป้ ระกอบการกิจการเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ปยังไม่ ให้ ความสาคัญต่ อการจัดการ
แรงงาน เช่น มีการรับคนงานโดยขาดการคัดเลือก ขาดการฝึ กอบรมแก่
พนักงาน / คนงานระดับการผลิต ทั้ง ๆ ที่การพัฒนาฝี มือของแรงงาน
ประเภทกึ่งฝี มือหรื อไร้ฝีมือเป็ นสิ่ งจาเป็ น
• ปัจจุบนั บางกิจการได้เริ่ มเอาเทคโนโลยีที่ทนั สมัยเข้ามาให้เพื่อเพิ่มศักยภาพ
การผลิตให้มีความสามารถในการแข่งขัน ในระยะ 5 ปี ข้างหน้า ความ
ต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ปมีแนวโน้มที่เน้ นความ
ต้ องการแรงงานฝ่ ายผลิตทีม่ ีคุณภาพและมีทกั ษะเพิม่ มากขึน้
• ผูป้ ระกอบการควรให้ความสาคัญต่อการพัฒนาฝี มือแรงงานให้ข้ ึน โดย
สนับสนุนและลงทุนด้านการฝึ กอบรมทั้งในรู ปของการฝึ กอบรมในกิจการ
(on-the-job training) และการฝึ กอบรมวิชาชีพระยะสั้น (Short-term training)
ให้แก่แรงงานไร้ฝีมือและกึ่งฝี มือในระดับการผลิต ควรมีการปรับปรุงและ
จัดการด้ านค่ าจ้ าง ค่ าตอบแทน และผลประโยชน์ อนื่ ๆ ของแรงงาน ตลอดจน
เงื่อนไขและสภาพแวดล้อมในการทางานที่ชอบธรรมเพื่อลดอัตราการบ้า79ย
เข้า-ออกของแรงงาน
ชิ้นส่ วนรถยนต์ แข่ งเดือดเปิ ดศึกชิงตัวแรงงานฝี มือ
• อุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมชิ้นส่ วนยานยนต์ขยายตัวอย่าง
รวดเร็ วในช่วง 1-2 ปี ที่ผา่ นมา จากการย้ ายฐานการผลิตมายังประเทศไทย
ของบริ ษทั รถยนต์ช้ นั นา ผลกระทบที่ตามมาอย่างรวดเร็ วคือ ปัญหาการ
ขาดแคลนแรงงานที่มีทกั ษะ และจะยิง่ ทวีความ รุ นแรงมากขึ้น
• ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่ วนยาน
ยนต์ เกิดขึน้ เพราะไม่ มีการผลิตบุคลากรอย่ างจริงจัง ทุกวันนี้แรงงานระดับ
ล่างจะต้ องนาผู้จบ ปวช.มาฝึ ก ระดับเทคนิเชียน นาระดับอุดมศึกษามา
ฝึ กอบรม ซึ่งหากเป็ นบริ ษทั ยักษ์ใหญ่ จะมีงบประมาณสาหรับการฝึ กอบรม
มากเพียงพอ แต่สาหรับผูป้ ระกอบการชิ้นส่ วนระดับเอสเอ็มอีจะหาเงินที่
ไหนมาจัดการฝึ กอบรม ที่ผา่ นมา แม้แต่ระดับเอสเอ็มอีกย็ งั มีการแย่ง
80
บุคลากรกันเอง โดยโรงงานที่มีความต้องการสูงต้องยอมจ่ายค่าแรงในอัตรา
ที่สูง เพื่อผลิตสิ นค้าได้ทนั ตามคาสัง่ ซื้อจากบริ ษทั รถยนต์รายใหญ่
• ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่ วนยานยนต์รวมกันจะมีแรงงานมาก
ถึง 300,000 คน แต่ในจานวนทั้งหมดนี้ยงั ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุ ด
เพราะมุ่งเน้ นการใช้ แรงงานมากกว่ าการใช้ สมอง ความรู้ หรือทักษะ และไม่
ค่ อยพัฒนาตัวเองให้ มีทกั ษะและความรู้ มากขึน้ และหากเทียบกับจีนแล้ว
ไทยจะเสี ยเปรียบในหลายด้ าน ทั้งเรื่องต้ นทุนเครื่องจักร การผลิต ราคา
วัตถุดิบในการผลิต แต่จีนจะมีจุดอ่อนในด้านของบุคลากรและระบบการจัด
การ ซึ่งอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยควรมีการพัฒนาบุคลากรและระบบ
การจัดการให้มี ประสิ ทธิภาพมากขึ้น โดยรับการถ่ายทอดระบบและ
เทคโนโลยีมาจากญี่ปุ่นที่เป็ นคู่คา้ มานาน
• ฐานเศรษฐกิจ ปี ที่ 23 ฉบับที่ 1,864 วันที่ 25-27 ธันวาคม 2546 .
http://www.thannews.th.com/
81
แนวโน้ มอาชีพ-โอกาสคนจบใหม่ ตีฝ่ากระแสคลืน่ New
Economy
• ในยุคของการแข่งขันทางเศรษฐกิจยุคใหม่ ผลักดันให้บรรดา knowledge
worker ต้องเตรี ยมพร้อมและวางแผนชีวิตการทางานมากขึ้น
• การหางานทุกวันนี้ทกั ษะที่จาเป็ นมากคือ ไอทีคอมพิวเตอร์ กับภาษาอังกฤษ
เบื้องต้น
• เพราะว่าเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ ว ความซื่อสั ตย์ ต่อองค์ กร การเลีย้ งดูคน
เก่าแก่จะน้ อยลง ความสะดวกสบายของเทคโนโลยี ทาให้ การหางานง่ ายขึน้ มี
เด็กใหม่ เข้ ามาให้ เลือกอยู่ตลอดเวลา
• การเข้าสู่เศรษฐกิจใหม่ที่ถือว่าประสบความสาเร็ จ ตัวอย่างเช่น การพัฒนา
ความรู ้ของกลุ่มซีพีในการเลี้ยงให้กงุ้ ปลามีน้ าหนักเพิ่มขึ้น มีผลผลิตดีข้ ึน
สรุ ปให้ชดั เจนก็คือว่า เศรษฐกิจใหม่ จะเป็ นเรื่องของการเน้ นสติปัญญา เน้ น
ลิขสิ ทธิ์ ความคิดสร้ างสรรค์อนั มาจากตัวคน หรือ human capital ซึ่งได้รับ
82
การยืนยันเป็ นครั้งแรกว่า จะเป็ นปัจจัยหลักในการแข่งขัน
• บิล เกตต์ ไม่ตอ้ งการใช้คนโดยการเขียนความต้องการออกมา 1-2 หน้ากระดาษ
แต่เขียนเพียง 3 ประโยคเท่านั้นคือ ฉลาด กัดไม่ ปล่ อย และยินดีทางานหนัก โดย
ความฉลาดไม่ได้แปลว่าไอคิวสู ง แต่ตอ้ งพร้อมที่จะเรี ยนรู ้ พร้อมที่จะรับรู ้
ตลอดเวลา เพราะในเศรษฐกิจใหม่ความรู ้เปลี่ยนตลอด สิ่ งที่องค์กรต้องการจาก
พนักงานในอนาคต คือคนทีม่ ีความสามารถ มีหลัก competency (ความสามารถ
แข่งขัน) รวมทั้งความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ รวมกับสิ่ งที่สร้างขึ้น ได้ แก่ ความ
นึกคิด ความรับผิดชอบ มีจริยธรรม ซึ่งหลายอย่ างไม่ ได้ มาจากการเรียนหนังสื อ
แต่ มาจากการทางานและการแก้ ปัญหา
• ขณะที่ประสบการณ์ เริ่มลดความสาคัญลง ในงานที่สามารถทดแทนด้วย
เทคโนโลยีสมัยใหม่ สาหรับงานที่ตอ้ งการความคิดสร้างสรรค์ ประสบการณ์
อาจจะมีความจาเป็ น แต่ตอ้ งเป็ นความคิดทีอ่ อกนอกกรอบ เชื่อมโยงได้
(conceptual) จึงจะถือว่ าเป็ นสิ่ งทีอ่ งค์ กรต้ องการ ทุกองค์ กรต้ องการเลือดใหม่
ตลอดเวลา ในเศรษฐกิจใหม่ตอ้ งการการเปลี่ยนแปลง คนเก่าๆ จะคัดค้านเพราะ
รู ้สึกไม่สบายใจต่อการเปลี่ยนแปลง แต่ ละปี องค์ กรต้ องมีเลือดใหม่ 10-15% เพื่อ
จะขับเคลื่อนให้การเปลี่ยนแปลงนั้นเป็ นไปได้
83
สิ ทธิประโยชน์ สาหรับผู้ทตี่ ้ องการมีงานทา
• 1. บริ การจัดหางานในประเทศ
• 2. บริ การแนะแนวอาชีพ ให้คาปรึ กษา แนะแนว แก่กลุ่มนักเรี ยน นักศึกษา ผู ้
หางานทา หรื อต้องการจะเปลี่ยนงาน
• 3. บริ การคาแนะนาประกอบอาชีพอิสระ ให้คาปรึ กษา แนะนา แก่ผปู ้ ระสงค์
จะประกอบอาชีพอิสระ หรื อประกอบกิจการส่ วนตัว
• 4. บริ การจัดหางานในต่างประเทศ ที่ถกู ต้องตามกฎหมาย มี 5 วิธี
(1) รัฐ / กรมการจัดหางาน จัดส่ ง
(2) บริ ษทั จัดหางาน จัดส่ ง
(3) คนหางานแจ้งการเดินทางด้วยตนเอง
(4) นายจ้างในประเทศพาลูกจ้างไปทางาน
(5) นายจ้างในประเทศส่ งลูกจ้างไปฝึ กงาน
• 5. บริ การเงินกูเ้ พื่อเดินทางไปทางานต่างประเทศ ธนาคารกรุ งไทย จากัด วงเงินกู้
ไม่เกินรายละ 90,000 บาท ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จากัด และธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์ วงเงินกูไ้ ม่เกินรายละ 150,000 บาท
84
• ที่มาhttp://www.mol.go.th/ab8227b2f84c6bc548ccadf8eb268c33/Language_Template/TH/index.html
คาถามและกิจกรรมท้ ายบท
85
คาถามท้ายบท
• อุปสงค์แรงงาน(Demand for Labor) แตกต่างจากอุปสงค์ต่อสิ นค้า
(Demand for Goods) อย่างไร?
• แรงงานมีฝีมือแรงงาน กับแรงงานไร้ฝีมือ มีความยืดหยุน่ ของอุป
สงค์แรงงานต่อค่าจ้างที่แตกต่างกันหรื อไม่? อย่างไร?
• อุตสาหกรรมสิ่ งทอ กับอุตสาหกรรมยานยนต์มีความยืดหยุน่ ของ
อุปสงค์แรงงานต่อค่าจ้างที่แตกต่างกันหรื อไม่? อย่างไร?
86
• กิจกรรมท้ายบท
ให้ศึกษาในประเด็นที่นกั ศึกษาสนใจ แล้วให้นาเสนอผลการศึกษานั้น
ในชั้นเรี ยนในคาบเรี ยนต่อไป (อาจเป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลตัวเลข
กรณี ศึกษา การรวบรวมผลการศึกษาของคนอื่น ก็ได้)
• ตัวอย่างประเด็น
-ผลิตภาพแรงงาน
-ผลิตภาพแรงงานกับค่าจ้าง
-อุปสงค์แรงงาน
-อุปสงค์แรงงานกับอุปทานแรงงาน
-อุปสงค์แรงงานกับค่าจ้าง
-สภาวะเศรษฐกิจกับอุปสงค์แรงงาน
87
-สาขาการผลิตกับอุปสงค์แรงงาน
•
•
•
•
วิเคราะห์เปรี ยบเทียบแรงงานในระบบกับแรงงานนอกระบบ
วิเคราะห์เปรี ยบเทียบแรงงานในระบบกลุ่มต่างๆ
วิเคราะห์เปรี ยบเทียบแรงงานนอกระบบกลุ่มต่างๆ
ให้ศึกษากรณี ศึกษา(Case study) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิต
ของอุตสาหกรรมในประเทศว่ามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์
แรงงานอย่างไรบ้าง (โดยการวิเคราะห์การจ้างงานของสาขาการผลิต
ต่างๆเปรี ยบเทียบกับผลผลิตของสาขาการผลิตนั้น)
• วิเคราะห์แรงงานแยกตามสาขาการผลิต เพศ อายุ ระดับการศึกษา
• สื บค้นในเว็บไซต์ต่อไปนี้ http://www.info.tdri.or.th/labor/index.htm
88