Introduction

Download Report

Transcript Introduction

หล ักสูตรอบรม
ิ ธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสน
ิ ค้า
การว ัดประสท
เกษตรด้วยแบบจาลอง DEA
ผศ. ดร. ศุภว ัจน์ รุง
่ สุรย
ิ ะวิบล
ู ย์
คณะเศรษฐศาสตร์
ี งใหม่
มหาวิทยาล ัยเชย
ขอบเขตของเนือ
้ หา
ิ ธิภาพ (efficiency)
• ความแตกต่างระหว่างการว ัดประสท
และการเพิม
่ ผลผลิต หรือ ผลิตภาพ (productivity)
้ พรมแดนการผลิตเชงิ เฟ้นสุม
่
• ทบทวนแบบจาลองเสน
• แบบจาลองการล้อมกรอบของข้อมูล
• การว ัดการแยกค่าการเพิม
่ ผลผลิต
• Metafrontier
ทบทวนการวัดสมรรถภาพของหน่วยผลิต
• สมรรถภาพ (performance) ของหน่วยผลิต (firms)
ึ ษาถึงความสามารถของหน่วยผลิตในการแปร
หมายถึง การศก
รูปปั จจัยการผลิต (inputs) ไปเป็ นผลผลิต (outputs) ใน
้
กระบวนการผลิต ภายใต ้การใชเทคโนโลยี
(technology) ต่างๆ
ั ัทธ์
• การวัดสมรรถภาพของหน่วยผลิตเป็ นแนวคิดเชงิ สมพ
(relative concept)
• สมรรถภาพของหน่วยผลิตสามารถวัดได ้โดยการคานวณหา
1. การเพิม
่ ผลผลิต หรือ ผลิตภาพ (productivity)
ิ ธิภาพ (efficiency)
2. ประสท
การวัดการเพิม
่ ผลผลิตของหน่วยผลิต
• การเพิม
่ ผลผลิต (productivity)
=
ปริมาณผลผลิตทีไ่ ด้ (outputs)
ปริมาณปัจจ ัยการผลิตทีใ่ ช ้ (inputs)
• ถ ้ามีค่า มากกว่า หนึ่ง หมายถึง การเพิม
่ ผลผลิต เป็ นไปอย่ า ง
ก้าวหน้า (productivity progress)
แต่ถ ้ามีค่าน ้อยกว่าหนึง่ หมายถึง การเพิม
่ ผลผลิตเป็นไปอย่าง
ถดถอย (productivity regress)
• ถ ้ากระบวนการผลิต ประกอบไปด ้วยผลผลิต และปั จจั ย การผลิต
จานวนมากกว่าหนึง่ ชนิด การเพิม
่ ผลผลิตทีว่ ัดได ้เรียกว่ า การเพิม
่
ผลผลิต ของปั จ จ ย
ั การผลิต รวม (total
factor
productivity)
การวัดการเพิม
่ ผลผลิตด ้วยวิธต
ี วั เลขดัชนี
• ในระยะเริ่ม ต ้น การเพิม
่ ผลผลิต วั ด โดยการใช วิ้ ธ ี ต วั เลขด ช
ั นี
(index number)
้ ้แก่
• ตัวเลขดัชนีทน
ี่ ย
ิ มใชได
1. Laspeyres
2. Paasche
3. Fisher
4. Tornqvist
• ตัวเลขดัชนีทงั ้ 4 แตกต่างกันตรงการให ้คานิยามเกีย
่ วกับค่า
้ นฐานในการคานวณ
น้ าหนักทีก
่ าหนด และระยะเวลาทีใ่ ชเป็
ิ ธิภาพของหน่วยผลิต
การวัดประสท
ิ ธิภาพ (efficiency) ของหน่วยผลิต วัดได ้จากเสนที
้ ่
• ประสท
้
้ นตัว แทนของเทคโนโลยีใ นการผลิต หรือ ทีเ่ รีย กว่า เส น
ใช เป็
พรมแดนการผลิต (production frontier)
ิ ธิภ าพเช ง
ิ เทคนิค
ิ ธิภ าพที่วั ด ได ้ เรีย กว่ า ประส ท
• ค่า ประส ท
(technical efficiency)
ิ ธิภาพเชงิ เทคนิค (technical efficiency)
การวัดประสท
• พิจารณากระบวนการผลิตทีป
่ ระกอบด ้วยปั จจัยการผลิตและผลผลิตจานวน 1 ชนิด
• ผู ้ผลิตจานวน 3 ราย นั่นคือ A, B และ C มีการผลิตดังรูป
• เสน้ OF’ แสดงถึงปริมาณของผลผลิตมากทีส
่ ด
ุ ทีส
่ ามารถผลิตได ้จากการใชปั้ จจัย
การผลิตทีร่ ะดับต่างๆภายใต ้เทคโนโลยีทม
ี่ อ
ี ยูใ่ นขณะนัน
้
้ OF’ เรียกว่า เสน
้ พรมแดนการผลิต
• เสน
• ผู ้ผลิต A ทาการผลิตอยูภ
่ ายใต ้เสน้ OF’
ในขณะทีผ
่ ู ้ผลิต B และ C ทาการผลิตอยู่
บนเสน้ OF’
ิ ธิภาพเชงิ
• ผู ้ผลิต B และ C มีประสท
เทคนิค (technical efficiency)
ิ ธิภ าพเช ง
ิ
• ผู ้ผลิต A
ไม่ม ป
ี ระส ท
เทคนิค (technical inefficiency)
ิ ธิภาพเชงิ เทคนิคสามารถวัดได ้
• ประสท
จ า ก ก า ร วั ด อั ต ร า ส่ ว น ข อ ง ร ะ ย ะ ท า ง
OA/OB หรือ OC/OA
ิ ธิภาพของหน่วยผลิตโดยแบบจาลอง SFA
การวัดประสท
ิ ธิภาพ (efficiency) ของหน่วยผลิต
• ในทางปฏิบ ัติ ประสท
้ บบจ าลอง การวิเ คราะห์เ ส ้น
สามารถวั ด ได โ้ ดยการใช แ
่ (stochastic frontier analysis,
พรมแดนเชงิ เฟ้นสุม
SFA) ทีน
่ าเสนอโดย Aigner, Lovell และ Schmidt (1977)
้
่
การวิเคราะห์เสนพรมแดนการผลิ
ตเชงิ เฟ้ นสุม
•
้ พรมแดนการผลิต เช ง
ิ เฟ้ นสุ่ม (stochastic
แบบจ าลองเส น
production frontier) กาหนดได ้ดังนี้
yi  f xi ;β vi  ui
ทีซ
่ งึ่ yi, xi คือ ผลผลิตและปั จจัยการผลิตของหน่วยผลิตที่ i
ß คือ ตัวแปรทีไ่ ม่ทราบค่าทีต
่ ้องการประเมิน
่ ทีม
vi คือ ต ัวแปรความผิดพลาดเชงิ เฟ้นสุม
่ ค
ี า
่ เป็นได้ทงั้
บวกและลบ (random error) ซงึ่ ใชเ้ ป็นต ัวแทนในการ
อธิบ ายถึง ความผิด พลาดต่า งๆทีเ่ กิด จากการว ด
ั และปัจ จ ย
ั
ความไม่แน่นอนทีไ่ ม่สามารถว ัดได้ในกระบวนการผลิต
ิ เฟ้นสุม
่ ทีม
ui
คือ ต ัวแปรเช ง
่ ค
ี า
่ เป็นบวกเท่านน
ั้ ทีใ่ ช ้
แ ส ด ง ถึ ง ค่ า ป ร ะ ส ิ ท ธิ ภ า พ เ ช ิ ง เ ท ค นิ ค (technical
efficiency) ในการผลิต
ิ ธิภาพของหน่วยผลิตโดยแบบจาลอง SFA
การวัดประสท
้ พรมแดนเชงิ เฟ้น
• ในทางปฏิบ ัติ ขัน
้ ตอนในการวิเคราะห์เสน
่ (stochastic frontier analysis, SFA) สามารถทาได ้
สุม
โดย
ั
1. กาหนดรูปแบบของฟังก์ชน
่ Cobb-Douglas, Translog, Quadratic
เชน
่ ui
2. กาหนดรูปแบบการกระจายต ัวของต ัวแปรเชงิ เฟ้นสุม
่ half-normal, truncated-normal, exponential
เชน
•
้
การกาหนดเสนพรมแดน
้ พรมแดน (frontier) สามารถทาได ้ 2 วิธ ี
การกาหนดเสน
้
1. เส นพรมแดนสร
้างขึน
้ จากฐานของข ้อมูล ทั ง้ หมด (observed
ั ไ่ ด้กาหนดไว้ เสนพรมแดน
้
data) ภายใต้รป
ู แบบของฟังก์ชนที
ทีไ่ ด ้สร ้างขึน
้ นี้จะถูกกาหนดให ้อยูร่ ะหว่างข ้อมูลของกลุม
่ ตัวอย่าง
ิ ธิภาพทีว่ ัดได ้จากเสนพรมแดนที
้
ทัง้ หมด ประสท
ก
่ าหนดโดยวิธน
ี ี้
ั การประเมิน ค่ า ต วั แปรทางสถิต ิ (parametric) วิธ ี
อาศ ย
ดั ง กล่ า วเรี ย กว่ า การวิเ คราะห์เ ส ้น พรมแดนเช ิ ง เฟ้ นสุ่ ม
(Stochastic Frontier Analysis หรือ SFA)
x2/y
S
S’
0
x1/y
้
การกาหนดเสนพรมแดน
•
้
2. เสนพรมแดนสร
้างขึน
้ จากฐานของข ้อมูลทัง้ หมด โดยการล้อม
กรอบข้อ มูล จากกลุ่มต วั อย่า งท งหมด
ั้
โดยไม่ม ข
ี ้อมูลใดๆถูก
้ พ ร ม แ ด น ที ไ ด ส
ว า ง อ ยู่ ภ า ย น อ ก เ ข ต แ ด น ข อ ง เ ส น
้ ร า้ ง ขึ้ น
ั
ิ ธิภ าพที่วั ด ได ้จากเส นพรมแดนที
้
ประส ท
่ก าหนดโดยวิธ ีนี้ อ าศ ย
หล ักการคานวณทางคณิตศาสตร์ (non-parametric) วิธ ี
ดั ง กล่ า วเรีย กว่ า การวิเ คราะห์ก ารล้อ มกรอบข้อ มู ล (Data
Envelopment Analysis หรือ DEA)
x2/y
S
S’
0
x1/y
ข ้อแตกต่างระหว่างแบบจาลอง SFA และ DEA
1. แบบจาลอง SFA ได้รวมเอาต ัวแปรความผิดพลาดเชงิ
่ ไว้ในการคานวณหาค่าประสท
ิ ธิภาพ สง
่ ผลทาให้คา
เฟ้นสุม
่
ิ ธิภ าพทีป
้ และย งั
ประส ท
่ ระเมิน ได้ม ค
ี วามแม่ น ย ามากขึน
สามารถทาการทดสอบข้อสมมติฐานต่างๆทางสถิตไิ ด้
แต่แบบจาลอง SFA
ต้องกาหนดข้อสมมติฐานต่างๆ
ั และการกระจายต ัวของต ัวแปร
เกีย
่ วก ับรูปแบบของฟังก์ชน
่ ui ซงึ่ ข้อสมมติฐานด ังกล่าวเป็นประเด็ นถกเถียง
เชงิ เฟ้นสุม
ก ันถึงเรือ
่ งความเหมาะสม
2. แบบจาลอง DEA ไม่จาเป็นต้องกาหนดข้อสมมติฐาน
ั และการกระจายต ัวของต ัวแปร
เกีย
่ วก ับรูปแบบของฟังก์ชน
่ ui
เชงิ เฟ้นสุม
ิ เฟ้นสุ่ม ไว้
แต่ก็ไ ม่ได้รวมเอาต ัวแปรความผิดพลาดเชง
ิ ธิภ าพ ซ ง
ึ่ อาจส่ง ผลท าให้เ กิด
ในการค านวณหาค่า ประส ท
ิ ธิภาพทีค
ความคลาดเคลือ
่ นของค่าประสท
่ านวณได้
ิ ธิภาพของหน่วยผลิต
วิธก
ี ารวัดประสท
Frontier approaches
Parametric approaches
Non-parametric approaches
Deterministic
methods
Stochastic
methods
Deterministic
methods
Stochastic
methods
Deterministic
Frontier Analysis
(DFA)
Stochastic
Frontier
Analysis (SFA)
Data
Envelopment
Analysis (DEA)
Stochastic Data
Envelopment
Analysis (SDEA)