ไตรแคร์ - โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม

Download Report

Transcript ไตรแคร์ - โรงเรียนเทศบาลวัดอุปนันทาราม

โครงงานอาชีพ เรื่อง การผลิตไตรโคเดอร์มารูป
ผงแห้งด้วยดินขาวล้างระนองเพื่อควบคุมโรคพืช
นาข้ าวสารเจ้ าหุงโดยใส่น ้า
ให้ ท่วมหลังมือเล็กน้ อย
ราคาขาย
ผลิตภัณฑ์ไตรโคเดอร์ มา
ราคาขาย (บาท)
ตักใส่ถงุ พลาสติกร้ อนขนาด
10x15 นิ ้ว วางไว้ ให้ ความร้ อนลดลง
100 กรัม
95
500 กรัม
550
ใช้ หลังมือสัมผัสถุงข้ าวถ้ าทนได้ ให้ นาเชื ้อราไตรโคเดอร์มาที่เป็ นเชื ้อ
ตังต้
้ นใส่ลงในถุงข้ าวและเขย่าให้ เข้ ากันใช้ ยางวงมัดปากถุงให้ แน่น
ราคา
ต้ นทุน
(บาท)
จานวน
-
ไตรซาน
บริ ษัทแอพพลายเค็ม
(ประเทศไทย) จากัด
1000 กรัม
950
จุลินทรี ย์ไตรโคเดอร์ มา
ตลาดขายสินค้ าเกษตร
เกษตรพอเพียง.คอม
-
1000 กรัม
160
หัวเชื ้อไตรโคเดอร์ มา
-
50 กรัม
380
จุลินทรี ย์ไตรโคเดอร์ มา+บาซิลลัส
สินวัฒนาไคโตซาน
ไตรแคร์
ร.ร.เทศบาลวัดอุปนันทาราม
-
1000 กรัม
450
90
1000 กรัม
150
นาถุงข้ าวที่ผสมกับหัวเชื ้อตังต้
้ นแล้ ววางเกลี่ยข้ าวให้ บางๆ จากนันใช้
้
เข็มหมุดแทงบริเวณปากถุงให้ อากาศถ่ายเทได้ เล็กน้ อย
ผูบ้ ริหารโรงเรียน
บ่มเชื ้อไว้ ที่อณ
ุ หภูมิห้อง
5 - 7 วัน
เลือกถุงข้ าวที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่มีสปอร์สีเขียวขึ ้น
ไม่มีการปนเปื อ้ นจากเชื ้อชนิดอื่นๆ
ยอดจาหน่าย
เดือน
จานวน (กิโลกรัม)
ราคา (บาท)
กรกฎาคม
25
3,750
สิงหาคม
31
4,650
กันยายน
50
7,500
ตุลาคม
61
9,150
พฤศจิกายน
67
10,050
ธันวาคม
84
12,600
มกราคม
20
3,000
กุมภาพันธ์
15
2,250
มีนาคม
25
3,750
พฤษภาคม
10
1,500
รวม
388
58,200
หมายเหตุ
ร้ อยละความพึง
พอใจ
ความสวยงามของฉลากสิ ้นค้ า บรรจุภณ
ั ฑ์
76
เนื ้อสัมผัส สี และการละลาย
81
การทาลาย ป้องกัน และรักษาโรคพืช
83
ราคาจาหน่ายไตรแคร์
85
รวม
81.25
ผูอ้ านวยการสถานศึกษา
ใส่น ้าสะอาดให้ ท่วม
จานวน 5 ลิตร
เติมสารลดแรงตรึงผิวประมาณ 100 ml จากนันขย
้ าเบาๆ ให้
สปอร์เชื ้อราหลุดออกจากข้ าว
ร้ อยละความพึงพอใจ
รายการประเมิน
เปิ ดปากถุงและเทใส่ในถังขนาด 13 ลิตร รวมกันให้ ได้ 2 ใน 3
ของถัง (ใส่ถงุ มือและผ้ าปิ ดจมูก)
หมายเหตุ
นาส่วนที่ได้ มากรองด้ วยตะแกรงกรองเอากากข้ าวออกเอาเฉพาะน ้าสปอร์ และ
สุม่ ตัวอย่างสปอร์ ไปตรวจหาความเข้ มข้ นของสปอร์ ก่อนผสม
รองผูอ้ านวยการสถานศึกษาฝ่ ายบริหาร
นาน ้าสปอร์ ที่ได้ มาผสมกับดินขาวล้ างระนองตามอัตราส่วนที่กาหนดตาม
แผนการทดลองและเติมหางนมในอัตรา 10 : 2 kg (ดินขาว:หางนม)
รองผูอ้ านวยการสถานศึกษาฝ่ ายวิชาการ
ผสมน ้าสปอร์ และดินขาวล้ างระนองให้ เข้ ากัน
จากนั ้นทาเป็ นชิ ้นเล็กๆ นาไปผึง่ ลมที่อณ
ุ หภูมิห้อง ให้ แห้ งประมาณ 3-4 วัน
เมื่อแห้ งแล้ วเก็บมาบดให้ ละเอียด และสุม่ เก็บตัวอย่างไปตรวจหาอัตราการรอด
ตายหลังผลิต
ส่วนที่เหลือเก็บใส่ถงุ ที่ปิดมิดชิดเก็บไว้ ที่อณ
ุ หภูมิห้องเป็ นระยะเวลา 6 เดือน
และมีการสุม่ ตัวอย่างไปตรวจหาอัตราการรอดตายระหว่างการเก็บรักษา
ระยะเวลา 1, 2, 3, 4, 5, 6 เดือน
รองผูอ้ านวยการสถานศึกษาฝ่ ายปกครองและบริการ
ที่มาและความสาคัญ
คณะผู้จัด ท าโครงงาน เรื่ อง การผลิ ต
ไตรโค
เดอร์ มารูปผงแห้ งด้ วยดินขาวล้ างระนอง
เพื่อ
ควบคุม โรคพืช ได้ เ ห็ น ผู้ป กครองได้ น า
สารเร่ง
พด.3 และเชื อ้ ไตรโคเดอร์ ม าสดจาก
ฝ่ า ย ป ฏิ บั ติ ก า ร วิ จั ย แ ล ะ เ รื อ น ป ลู ก พื ช ท ด ล อ ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาเภอกาแพงแสน มาขยายใช้ ใน
การป้องกันโรคเน่าในทุเรียนในสวนของตนเอง ซึ่งพบว่าให้ ผล
ดี ทุเ รี ย นลดอั ต ราการเกิ ด โรคเน่ า ทัง้ ในรากและผล แต่
เนื่องจากผู้ปกครองต้ องสั่งซื ้อและนาเชือ้ ราไตรโคเดอร์ มามา
ผลิต ขยายเป็ นเชือ้ สดเป็ นประจา บางครัง้ ไม่สะดวก อี กทัง้
อยากให้ ผ้ ปู กครองลดการใช้ สารเคมีอนั ตรายในการป้องกันโรค
พื ช ปั ญหานี ท้ าให้ เกิ ด แรงจู ง ใจอยากหาทางช่ ว ยเหลื อ
ผู้ปกครองจึงเกิดแนวคิดว่าจะทาอย่างไรจึงจะสามารถยืดอายุ
การใช้ งานและการเก็ บรักษาเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาได้ น านขึ น้
พร้ อมทังประสิ
้
ทธิภาพยังคงอยู่ จึงได้ ปรึกษาคุณครู ทาให้ เกิด
แนวคิดที่ชดั เจนขึ ้น หลังจากนันได้
้ ทาการศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูล
เพิ่มเติมจนกระทัง่ พบว่ามีการผลิตเชื ้อรา ไตรโคเดอร์ มารูปผง
แห้ ง จึงเกิดแนวคิดว่าถ้ าลองใช้ ดินขาวล้ างระนองมาผลิตไตร
โคเดอร์ มารู ปผงแห้ งเพื่อควบคุมโรคพืชจะเกิด ประสิทธิ ภาพ
และประสิทธิ ผลอย่างไร และสามารถพัฒนาไปสู่อาชีพใหม่
ของชุมชนในอนาคตได้ หรือไม่
คณะผูจ้ ดั ทาโครงงาน/ครูที่ปรึกษา
ไตรแคร์ คื อ นวัต กรรมใหม่ ที่
เราน าเชื อ้ ราไตรโคเดอร์ มา
(Trichoderma sp.) มา
ผสมกับ ดิ น ขาวล้ า งระนองเพื่ อ
ยืดอายุการใช้ งาน สะดวกต่อการนามาใช้ และราคา
ถูก ปลอดภัย ปราศจากสารเคมี อยู่ใ นรู ป ผงแห้ ง
นามาใช้ โดยการหว่านโคนต้ นพืชหรื อผสมน ้าฉีดพ่น
พืช ผลเพื่ อ การป้ องกันและรั กษาโรคเชื อ้ ราก่ อโรค
ต่างๆ ให้ ผลดีป้องกันและควบคุมโรครากเน่า โคน
เน่าในพืชที่มีสาเหตุมาจากเชือ้ ราพิเทียม, ไพท็อบ
เทอร่ า, สเคลอโรเทียม, ฟิ วซาเรี ยม และไรซ็อคโท
เนี ย ที่ เ กิ ด ในไม้ ผล พื ช ผัก พื ช ตระกู ล ถั่ ว ไม้
ดอกไม้ ประดับ พืชไร่ ข้ าว และพืชชนิดอื่ นๆ อีก
มากมาย
ศึกษาข้ อมูล/หาแหล่งวัตถุดิบ
วางแผนงาน/ผลิต
ไตรแคร์ เป็ นเชือ้ ราไตรโคเดอร์
มา (Trichoderma sp.)
ที่ น ามาผสมกั บ ดิ น ขาวล้ าง
ระนอง ในรู ป ผงแห้ ง สามารถน ามาใช้ กับ พื ช ผล
ต่างๆ โดยการหว่านโคนต้ นพืชหรื อผสมน ้าฉี ดพ่น
พืชเพื่อการป้องกันและรักษาโรคเชื ้อราก่อโรคต่างๆ
ให้ ผลดีป้องกัน
และควบคุ ม
โรครากเน่า โคนเน่าในพืชที่มีสาเหตุมาจากเชื อ้ ราพิ
เทียม, ไพท็อบเทอร่ า, สเคลอโรเทียม, ฟิ วซาเรี ยม
และไรซ็อคโทเนีย ที่เกิดในไม้ ผล พืชผัก พืชตระกูล
ถัว่ ไม้ ดอกไม้ ประดับ พืชไร่ ข้ าว และพืชชนิดอื่นๆ
อีกมากมายอายุการใช้ งานประมาณ 1 ปี สะดวก
ต่ อ การน ามาใช้ และราคาถู ก ปลอดภั ย ต่ อ ผู้ ใช้
ปราศจากสารเคมี ผ่านการทดลองใช้ จากเกษตรกร
จนสามารถยืนยันได้ ว่า ไตรแคร์ มีประสิทธิ ภาพใช้
ได้ ผลจริ ง ชุ ม ชนสามารถศึ ก ษาและผลิ ต เพื่ อ
ประกอบเป็ นอาชีพได้ จริ ง
นายอนิ วตั ต์ ตั้งธีรโชติกุล
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
ราง วั ล ช มเ ช ยโค รง ง าน วิ ทย าศาส ตร์ สั ป ด าห์ วิ ท ยาศ าส ต ร์ ณ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปี 2553 จัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์
แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
ทดลอง/ออกพื ้นที่
เด็กหญิงนทีกานต์ อธิมุตติกุล , เด็กชายทรงสิทธิ์ สวัสดี,
เด็กชายชาคริต บูรณารมย์
รางวัลเหรียญทองระดับประเทศโครงงานอาชีพงานมหกรรม
วิชาการ ศิลปหัตถกรรมนักเรี ย น ของ สพฐ. ปี 2553
วัน ที่ 26-28 มกราคม 2554 จัดโดยสานัก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ