- สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
Download
Report
Transcript - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
การจัดการฟาร์มกับการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกในนาข้าว: กรณี ศึกษา จ. ศรีสะเกษ
ส่วนวิจยั เศรษฐกิจทรัพยากรการเกษตร
สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร
นาเสนอโดย
ดร.อัครพล ฮวบเจริญ (เศรษฐกรปฏิบตั ิ การ)
การสัมมนา เรื่อง “การนาเสนอผลงานวิชาการด้านเศรษฐกิจการเกษตร ประจาปี 2557”
วันที่ 14 สิงหาคม 2557
1
เนื้ อหาการนาเสนอ
1) โครงการ “จัดทาคาร์บอนฟุตพริน้ ท์และการศึกษาเปรียบเทียบการปล่ อยก๊าซ
เรือนกระจกในสินค้าเกษตรทีส่ าคัญ” โดย สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร
2) แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกหลักของการปลูกข้าวเปลือก
3) ผลการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในนาข้าว: กรณีศกึ ษา จ.ศรีสะเกษ
4) วีธกี ารประเมิน: การศึกษาเปรียบเทียบ IPCC 2006 และ IPCC 1996
5) การจัดการฟาร์ม: การศึกษาเปรียบเทียบ นาข้าวอินทรีย์ นาข้าวเกษตรดีท่ี
เหมาะสม (GAP) และ นาข้าวแบบดัง้ เดิม
6) การคานวนต้นทุนการทาลายชัน้ บรรยากาศ (Climate Damage Costs)
7) ข้อเสนอแนะทางนโยบาย และ การศึกษาในขัน้ ต่อไป
2
1. โครงการ “จัดทาคาร์บอนฟุตพริ้นท์และ
การศึกษาเปรียบเทียบการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกในสินค้าเกษตรที่สาคัญ”
3
1.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ
•
ศึกษาบัญชีรายการก๊าซเรือนกระจกสินค้าเกษตรทีส่ าคัญ :เชียงใหม่ หนองคาย
จันทบุรี ราชบุรี พัทลุง และ ศรีสะเกษ
• ประเมินการปล่อยก๊ าซเรือนกระจกตลอดวัฎ จักรของสินค้าเกษตรที่สาคัญ
(ทัง้ 6 จังหวัด)
ประเมินค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emission Factor: EF) ของผลิต
ข้าวเปลือก ในการจัดการนาข้าว: แบบอินทรีย์ แบบเกษตรดีท่เี หมาะสม
(GAP) และ แบบดัง้ เดิม (จังหวัดศรีสะเกษ และ หนองคาย)
เสนอแนะแนวทางและนโยบายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
4
1.2 ขอบเขตการศึกษา
เป้ าหมาย: สินค้าเกษตรทีส่ าคัญ
5
1.2 ขอบเขตการศึกษา (ต่อ)
เป้ าหมาย: การจัดการฟาร์ม (สวศ.)
นาข้าวแบบเกษตรอินทรีย์
นาข้าวแบบเกษตรดีเหมาะสม (Good Agriculture Practice: GAP)
นาข้าวแบบดัง้ เดิม
ขอบเขตการศึกษา:
ชนิดของก๊าซเรือนกระจก: คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไนตรัสออกไซด์ (N2O)
และ มีเทน (CH4)
การคานวน: หลักการ Life Cycle Assessment of Green House Gas
Emissions of Products (LCA-GHG)
6
1.3 แนวคิดและทฤษฎี
การประเมินวัฎจักรชีวิต (Life Cycle Assessment):
Life Cycle Assessment (LCA)
Energy Resource
Energy Resource
Energy Resource
Energy Resource
Energy Resource
Raw Material
Production
Transportation
Usage
Disposal
Waste
Waste
Waste
Waste
Waste
7
1.3 แนวคิดและทฤษฎี (ต่อ)
แผนผังวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ข้าวสาร:
8
2. แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกหลักของ
การปลูกข้าวเปลือก
9
2.1 การปล่อยก๊าซมีเทน (CH4) จากนาข้าว
10
IPCC 2006: การประเมินมีเทนจากนาข้าว
11
IPCC 2006: การประเมินมีเทนจากนาข้าว (ต่อ)
12
IPCC 2006: การประเมินมีเทนจากนาข้าว (ต่อ)
13
IPCC 2006: การประเมินมีเทนจากนาข้าว (ต่อ)
14
IPCC 2006: การประเมินมีเทนจากนาข้าว (ต่อ)
15
2.2 การเผาชีวมวลหลังเก็บเกี่ยว: CH4 N2O CO และ NOX
16
2.2 การเผาชีวมวลหลังเก็บเกี่ยว: CH4 N2O CO และ NOX (ต่อ)
17
2.2 การเผาชีวมวลหลังเก็บเกี่ยว: CH4 N2O CO และ NOX (ต่อ)
18
2.3 การใช้ป๋ ยเคมี
ุ
และปุ๋ยอินทรีย:์ N2O from Managed Soil
19
2.3 การใช้ป๋ ยเคมี
ุ
และปุ๋ยอินทรีย:์ N2O from Managed Soil (ต่อ)
20
2.3 การใช้ป๋ ยเคมี
ุ
และปุ๋ยอินทรีย:์ N2O from Managed Soil (ต่อ)
21
2.3 การใช้ป๋ ยเคมี
ุ
และปุ๋ยอินทรีย:์ N2O from Managed Soil (ต่อ)
22
2.3 การใช้ป๋ ยเคมี
ุ
และปุ๋ยอินทรีย:์ N2O from Managed Soil (ต่อ)
23
2.3 การใช้ป๋ ยเคมี
ุ
และปุ๋ยอินทรีย:์ N2O from Managed Soil (ต่อ)
24
2.4 การใช้ปนู ขาวและปุ๋ยยูเรีย: CO2
EFUrea = 0.2 tonne of C (tonne of urea)^-1
EFLimestone = 0.12 tonne of C (tonne of limestone)^-1
EFDolomite = 0.13 tonne of C (tonne of Dolomite)^-1
25
3.ผลการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ในนาข้าว: กรณี ศึกษา จ.ศรีสะเกษ
26
แผนผังวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ข้าวสาร:
27
ตารางที่ 1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (IPCC 2006)
28
4.วีธีการประเมิน: การศึกษาเปรียบเทียบ
IPCC 2006 และ IPCC 1996 Guidelines
29
ตารางที่ 1 และ 2 การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (IPCC 2006 และ IPCC 1996)
30
ANOVA Test: Analysis Of Variance between groups
. anova
IPCCtotalRai
IPCCMethod
Number of obs =
Root MSE
=
. anova
558
280.19
R-squared
=
Adj R-squared =
Source
Partial SS
df
Model
8004153.05
1
8004153.05
101.96
0.0000
IPCCMethod
8004153.05
1
8004153.05
101.96
0.0000
Residual
43649548.5
556
78506.3821
Total
51653701.5
557
92735.5503
IPCCtotalKgPaddy
MS
F
0.1550
0.1534
Prob > F
IPCCMethod
Number of obs =
558
Root MSE
= 1.29956
R-squared
=
Adj R-squared =
MS
F
0.0882
0.0865
Source
Partial SS
df
Prob > F
Model
90.7869666
1
90.7869666
53.76
0.0000
IPCCMethod
90.7869666
1
90.7869666
53.76
0.0000
Residual
939.011178
556
1.68886903
Total
1029.79814
557
1.8488297
31
5. การจัดการฟาร์ม: การศึกษาเปรียบเทียบ
ระหว่าง นาข้าวอินทรีย์ นาข้าวเกษตรดีที่
เหมาะสม (GAP) และ นาข้าวแบบดัง้ เดิม
32
33
34
ANOVA Test: Analysis Of Variance between groups
. anova
IPCCtotalRai farmsystem
Number of obs =
279
Root MSE
= 327.701
. anova
R-squared
=
Adj R-squared =
MS
F
0.0732
0.0665
Source
Partial SS
df
Prob > F
Model
2341657.19
2
1170828.6
10.90
0.0000
farmsystem
2341657.19
2
1170828.6
10.90
0.0000
Residual
29639135.8
276
107388.173
Total
31980793
278
115038.824
IPCCtotalKgPaddy farmsystem
Number of obs =
279
Root MSE
= 1.12471
Source
Partial SS
df
Model
29.18424
farmsystem
R-squared
=
Adj R-squared =
0.0771
0.0705
MS
F
Prob > F
2
14.59212
11.54
0.0000
29.18424
2
14.59212
11.54
0.0000
Residual
349.129818
276
1.26496311
Total
378.314058
278
1.36084193
35
6. การคานวนต้นทุนการทาลายชัน้ บรรยากาศ
(Climate Damage Costs)
36
37
Carbon Market Prices
38
7. สรุปผลและข้อเสนอแนะทางนโยบาย
39
7.1 สรุปผลการศึกษา
ผลการศึกษา:
การเลือกใช้สตู รการคานวณตาม IPCC Guideline 2006 จะให้ค่าการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่าการคานวณตาม Revised IPCC Guideline 1996
ปริ มาณก๊ าซเรื อนกระจกจากข้ าวเปลือกตาม IPCC 2006 และ 1996 มีค่า
เท่ากับ 400.40 และ 629.96 kg CO2-e ต่อไร่ ตามลาดับ และ มีค่าเท่ากับ 1.08
และ 1.70 kg CO2-e ต่อข้าวเปลือก 1 kg
• ประเภทข้าวเปลือกทีผ่ ลิตจากระบบแบบเกษตรอินทรีย์ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
มากทีส่ ดุ รองลงมาเป็ น ระบบเกษตรดีทเ่ี หมาะสม และระบบเกษตรดัง้ เดิม
ปริม าณก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตข้าวเปลือกเป็ น 632.45, 503.19 และ
315.11 kg CO2-e ต่อไร่ ตามลาดับ และ มีค่าเท่ากับ 2.00, 1.31 และ 0.86
kg CO2-e ต่อไร่
40
7.2 ข้อเสนอแนะทางนโยบาย
การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก: การวางแผนจัดเก็บข้อมูลกิจกรรมที่
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวทีเ่ ป็ นระบบและเอือ้ อานวยให้สามารถนาไปใช้
ในการคานวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกได้ เพื่อสามารถเลือกใช้วธิ กี ารคานวน/
ประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีเ่ ป็ นประโยชน์ทส่ี ดุ แก่ประเทศ
การเจรจาในเวทีระหว่างประเทศ: การวางแนวทางการเจรจาที่เกี่ยวกับการ
จัดทาบัญชีก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยทีใ่ ห้ผลประโยชน์สงู สุดแก่ประเทศ
ได้
การจัดการฟาร์ม : แม้ว่าเกษตรอินทรีย์และเกษตรดีเหมาะสมจะมีต้นทุน
การท าลายชั น้ บรรยากาศที่ สู ง กว่ า แต่ ควรมี ก ารประเมิ ณ ผลได้ อ่ื น ๆ
ประกอบด้วย เช่น ความปลอดภัยทางอาหาร และสุขภาพของเกษตรกร
41
ขอขอบคุณครับ:
ผูว้ ิ จยั หลัก
นางจีราภา โธฌีม
นายอัครพล ฮวบเจริญ
นางสาวปุณณภา พิสกุล
นางสาวจุฑารัตน์ พรหมทัต
นายณภัทร อุ๋ยเจริญ
ว่าที่ ร.ต.ชนธัญ อนิวรรตน์
นายอดิเรก เข็มเพ็ชร
เศรษฐกรชานาญการ
เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร
เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร
เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร
เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
42