ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

Download Report

Transcript ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

อาเซียน ASEAN ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
• ก่อตัง้ เมื่อปี 2510 ครบรอบ 40 ปี เมื่อปี 2550
• จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมันคง
่ เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์
สมาชิก และปี ทีเ่ ข้าเป็ นสมาชิก
ปี 2540
อาเซียน 6
สมาชิกใหม่ CLMV
ปี 2540
ปี 2510
ปี 2510
ปี 2538
ปี 2510
ปี 2542
ปี 2527
ปี 2510
ปี 2510
1
1
กฎบัตรอาเซียน ASEAN Blueprint
ประชาคม ยน
ประชาคมอาเซี
ประชาคม
ประชาคม
ความมันคง
่ น่ คง
อาเซี
อาเซียยนน (ASC)
(ASC)
เศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC)
ประชาคม
สังคม-วัฒนธรรม
อาเซียน (ASCC)
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
พิมพ์เขียว AEC
AEC Blueprint
ตารางดาเนินการ
Strategic Schedule
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
การเป็ นตลาดเดียวและฐานการผลิ ต
ร่วม
- เคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การ
ลงทุน แรงงานมีฝีมือ และการ
เคลื่อนย้ายเงิ นทุนเสรีมากขึน้
การสร้างขีดความสามารถทางการ
แข่งขันทางเศรษฐกิ จของอาเซียน
- ส่งเสริ มความสามารถในด้าน
ต่างๆ เช่น นโยบายการ
แข่งขัน สิ ทธิ ในทรัพย์สินทาง
ปัญญา นโยบายภาษี และการ
พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
AEC
Blueprint
การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิ จโลก
- ปรับประสานนโยบายเศรษฐ
กิ จของอาเซียนกับประเทศ
ภายนอกภูมิภาค เช่น FTA สร้าง
เครือข่ายการผลิ ต/จาหน่ าย
การพัฒนาเศรษฐกิ จอย่างเสมอภาค
- ส่งเสริ มการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิ จของสมาชิ ก ลด
ช่องว่างระดับการพัฒนา และ
สนับสนุนการพัฒนาSMEs
3
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC) (3)
เป้ าหมาย
•อาเซียนจะรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจภายในปี 2558 (2015)
•ตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน (single market and production base)
•การเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ า บริการ การลงทุน และแรงงานฝี มือเสรี และการเคลือ่ นย้ ายเงินทุนทีเ่ สรีมาก
ขึน้ (free flows of goods, services, investment, and skilled labors, and free flow of capital)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)
แนวทางดาเนินงานเพือ่ นาไปสู่ การเป็ น AEC
• การเปิ ดเสรีด้านการค้ าสิ นค้ า บริการ และการลงทุนระหว่ างกันตามกรอบความร่ วมมือต่ าง ๆ ทีม่ ี
อยู่เดิม เช่ น การเร่ งลดภาษีสินค้ าระหว่ างกันให้ เหลือร้ อยละ 0 ภายในปี 2553 สาหรับสมาชิกเดิม
และปี 2558 สาหรับสมาชิกใหม่ ภายใต้ กรอบ AFTA
• การยกเลิกข้ อจากัดการประกอบการด้ านการค้ าบริการในอาเซียน ภายในปี 2563 ภายใต้ กรอบ
ความตกลงด้ านการค้ าบริการ
• อาเซียน (AFAS) การเปิ ดให้ มกี ารลงทุนเสรีในอาเซียนและการให้ การปฎิบตั ิเยีย่ งคนชาติต่อนัก
ลงทุนอาเซียนภายในปี 2553 ภายใต้ เขตการลงทุนเสรีอาเซียน (AIA) เป็ นต้ น
ผลลัพฑ์ จากการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
การเปิ ดเสรี
ด้ านเงินทุน
มากขึน้
การเปิ ด
เสรี
ทางการค้ า
การเป็ น
ตลาดเดียว
และฐานการผลิตร่ วม
การเปิ ดเสรี
เคลือ่ นย้าย
แรงงานฝี มือ
ที่มา: กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
การเปิ ดเสรี
ภาคบริการ
การเปิ ดเสรี
ด้ านการ
ลงทุน
6
ี น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซย
(ASEAN Economic Community)
ี น
การรวมกลุม
่ ทางเศรษฐกิจ และทิศทางของอาเซย
FTA
Custom Union
Common Market
Economic Union
Political Union
ี นดาเนินการเปิ ดเสรีระหว่างกันมาตัง้ แต่ปี 2535
อาเซย
และมีการดาเนินการมาถึงระดับหนึง่ แล ้ว
ี นยังไม่มก
อาเซย
ี ารทา Common External Tariff ร่วมก ัน
ี นมีการขจัดอุปสรรคทางการค ้าทีไ่ ม่ใชภ
่ าษี บ ้างแล ้ว
อาเซย
แต่ปัจจัยการผลิตยังไม่เคลือ
่ นย ้ายเสรี
(การเคลือ
่ นย ้ายแรงงานเสรีเฉพาะแรงงานมีฝีมอ
ื )
ยังไม่มน
ี โยบายการค ้าร่วมกัน
้ นสกุลร่วม
ยังมีการพิจารณาไปถึงขึน
้ ใชเงิ
การโครงสร ้างภาษี และรัฐธรรมนูฐการเมืองร่วมกัน
ความตกลงทีส่ าคัญในการเป็ นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่ วม
สินค้า
ข้ อตกลง FTA เริ่มตั้งแต่ ปี 2535 เปิ ดเสรีท้งั สิ้นภายในปี 2558
ปัจจุบนั ไทยเหลือสิ นค้ าอ่ อนไหว 4 ชนิดสิ นค้ า 13 ประเภทย่ อย ได้ แก่ กาแฟ มันฝรั่ง
มะพร้ าวแห้ ง และไม้ ตัดดอก
บริการ
ความตกลงว่าด้วยบริการอาเซียนเริ่มปี 2538
เร่งรัดการเปิดตลาดใน 5 สาขา และเปิดเสรีบริการทุกสาขาภายในปี 2558
ลงทุน
เขตการลงทุนอาเซียนเริ่มปี 2541 เปิดเสรีในปี 2558
ความ
ร่วมมือ
ด้านเกษตร ป่ าไม้ สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา
พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน e-ASEAN ฯลฯ
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
5
1. การเป็ นตลาดเดียวกันและฐานการผลิตร่ วม: การลดภาษีระหว่ างกัน
ASEAN's tariff in 2015
14,000
สินค้าส่วนใหญ่
ไม่มภี าษีระหว่าง
อาเซียนด้วยกัน
ในปี 2015
Numbers of tariff lines
12,000
10,000
8,000
6,000
เงือ่ นไขการได้รบั สิทธิประโยชน์
1.ต้องเป็ นสินค้าอยูใ่ นบัญชีลดภาษี (Inclusion List: IL)
2.เป็ นสินค้าทีม่ กี ารผลิตในอาเซียนรวมกันคิดเป็ นมูลค่า
อย่างน้อยร้อยละ 40
3.สินค้ามีการแปลงสภาพอย่างเพียงพอ หรือ ได้ถนิ่
กาเนิดเฉพาะสินค้า
4,000
2,000
0
Thailand2015
0%
8287
SL (0-5%)
13
HSL
Brunei2015
8207
16
77
Cambodia2015
10536
55
98
Indonesia2015
8625
Lao PDR2015
10566
26
Malaysia2015
12136
83
Myanmar2015
8240
11
Philippines2015
8854
80
Vietnam2015
10465
58
16
ทีม่ า: บริษทั ไบรอัน เคฟ (ประเทศไทย) จากัด รวบรวมจากกระทรวงพาณิชย์
GE
96
98
12
96
49
19
27
166
9
รายการสิ นค้าอ่อนไหวและอ่อนไหวสู ง
ประเทศ
บรู ไน
กัมพูชา
สิ นค้ าอ่อนไหว (อัตราภาษีร้อยละ 0-5)
กาแฟ ชา
สั ตว์ ปีกมีชีวติ เนือ้ สั ตว์ ปีก เนือ้ ปลา กล้วยไม้ และไม้ ตัดดอกบางชนิด
พืชผัก (หัวหอมใหญ่ มะเขือเทศ กระเทียม ผักบร็อกโคลี ผักกาด แค
รอท แตงกวา ถั่ว) ผลไม้ (สั บปะรด ฝรั่ง มะม่ วง มังคุด ส้ ม แตงโม
ลาไย ผลไม้ อนื่ ๆ)
อินโดนีเซีย
ไม่ มี
ลาว
สั ตว์ มชี ีวติ (โค กระบือ สุ กร) และสั ตว์ เลีย้ งสาหรับใช้ งานและทาพันธุ์
สั ตว์ ปีกเลีย้ งมีชีวติ เนือ้ /ส่ วนอืน่ ทีบ่ ริโภคได้ ของโค กระบือ สุ กร (สด
แช่ แข็ง แช่ เกลือ รมควัน) เนือ้ /ส่ วนอืน่ ทีบ่ ริโภคได้ ของสั ตว์ ปีก ปลามี
ชีวติ ไข่ สัตว์ ปีกทั้งเปลือก (สด ทาให้ สุก ทาไว้ ไม่ ให้ เสี ย) เครื่องในสั ตว์
(ไส้ ถุงกระเพาะ) พืชผักสด พืชผักแช่ เย็น แช่ แข็ง ทาไว้ ไม่ ให้ เสี ย
ชั่วคราว มันสาปะหลัง มันเทศ ลูกนัต สั บปะรด ฝรั่ง มะม่ วง มังคุด ส้ ม
แมนดาริน มะนาว เมลอน มะละกอ ผลไม้ อนื่ ข้ าว (ข้ าวเปลือก ข้ าว
กล้อง ข้ าวสี แล้ว ปลายข้ าว) อ้อย เมล็ดพืช บุหรี่
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
สิ นค้ าอ่อนไหวสู ง
ไม่ มี
ไม่ มี
ข้ าว (ข้ าวเปลือก ข้ าวกล้อง ข้ าวสี แล้ว ปลายข้ าว)
กาหนดลดภาษีเป็ นร้ อยละ 25 ในปี 2015
สิ นค้ านา้ ตาล จะลดภาษีจากร้ อยละ 30-40
เหลือร้ อยละ 5-10 ในปี 2015
ไม่ มี
10
รายการสิ นค้าอ่อนไหวและอ่อนไหวสู ง
ประเทศ
มาเลเซีย
พม่ า
ฟิ ลิปปิ นส์
สิ งคโปร์
ไทย
เวียดนาม
สิ นค้ าอ่อนไหว (อัตราภาษีร้อยละ 0-5)
สุ กรมีชีวติ สั ตว์ ปีกมีชีวติ เนือ้ สุ กร เนือ้ ไก่แช่ เย็นแช่ แข็ง ไม่ ได้ ตัดเป็ น
ชิ้น นมและครีมมีไขมันเกินร้ อยละ 6 ไข่ ไก่ ไข่ เป็ ด ต้ นยางติดตา
กะหลา่ กล้วย สั บปะรด ฝรั่ง มะม่ วง มังคุด แตงโม มะละกอ ผลไม้
เมืองร้ อน (เงาะ ทุเรียน ลางสาด ขนุน ผลไม้ อนื่ ๆ) กาแฟไม่ ได้ ควั่
ไม่ ได้ สกัดกาเฟอีนออก เมล็ดยาง ไผ่ หวาย พืชใช้ ถักสานอื่นๆ ยาสู บ
ซิการ์ บุหรี่
ถั่วลันเตา ถั่วบีน กาแฟยังไม่ ได้ ควั่ ชาเขียว ข้ าวเปลือก ข้ าวกล้อง ข้ าว
สี แล้ว ปลายข้ าว นา้ ตาลดิบ รังไหม ไหมดิบ เศษไหม ฝ้ าย เศษฝ้ าย
สุ กรมีชีวติ สั ตว์ ปีกเลีย้ งมีชีวติ เนือ้ สุ กร เนือ้ สั ตว์ ปีกและเครื่องใน มัน
สาปะหลัง มันเทศ ข้ าวโพด ข้ าวซอร์ กมั ส่ วนสิ นค้ านา้ ตาล ขอชะลอ
การลดภาษีออกไปถึงปี 2015
ไม่ มี
ไม้ ตัดดอก มันฝรั่ง กาแฟ เนือ้ มะพร้ าว
สั ตว์ ปีกเลีย้ งมีชีวติ เนือ้ และเครื่องในไก่ ไก่งวง เป็ ด เนือ้ และส่ วนอืน่ ๆ
ทีบ่ ริโภคได้ ของกบ กระต่ าย ไข่ พืชมีชีวติ ต่ างๆ สั ม มะนาว เกรปฟรุต
ข้ าวเปลือกและข้ าวกล้อง ไส้ กรอก นา้ ตาลจากอ้อยหรือหัวบีท
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
สิ นค้ าอ่อนไหวสู ง
ข้ าว (ข้ าวเปลือก ข้ าวกล้อง ข้ าวสี แล้ว ปลายข้ าว)
ไม่ มี
ข้ าว (ข้ าวเปลือก ข้ าวกล้อง ข้ าวสี แล้ว ปลายข้ าว)
ฟิ ลิปปิ นส์ จะลดภาษีจากร้ อยละ 40 เป็ นร้ อยละ 35 ในปี
2015 นอกจากนี้ ไทยได้ ทาความตกลง MOU กับ
ฟิ ลิปปิ นส์ โดยฟิ ลิปปิ นส์ จะต้ องนาเข้ าข้ าวทัว่ ไปจากไทย
ปริมาณขั้นต่า 367,000 ตันต่ อปี
ไม่ มี
ไม่ มี
ไม่ มี
11
NTBs : Non-Tariff Barriers
NTBs ชุดที่ 1
NTBs ชุดที่ 2
NTBs ชุดที่ 3
1 ม.ค. 2551 (2008)
ยกเลิกภายใน
1 ม.ค. 2552 (2009)
อาเซียน5 ภายใน
1 ม.ค. 2553 (2010)
ฟิลปิ ปินส์ ภายใน
1 ม.ค. 2555 (2012)
CLMV ภายใน
1 ม.ค. 2558 (2015)
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
12
ประโยชน์ จากการใช้ แหล่ งกาเนิดสิ นค้ าในกลุ่ม AEC
การใช้ประโยชน์จาก AEC
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
13
ประโยชน์ จากการใช้ แหล่ งกาเนิดสิ นค้ าในกลุ่ม AEC
ASEAN +
การใช้ประโยชน์จาก AEC
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
14
ASEAN Rule of Origin
การกาหนดกฎว่ าด้ วยถิ่นกาเนิดสิ นค้ า
• มีจุดมุ่งหมายที่จะปรับปรุงกฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสิ นค้ าให้ มีความโปร่ งใส มีมาตรฐานที่เป็ นสากล
และอานวยความสะดวกให้ แก่ เอกชนมากขึน้ อาทิ การจัดทากฎการได้ แหล่ งกาเนิดสิ นค้ าโดย
วิธีการแปรสภาพอย่ างเพียงพอ (Substantial Transformation) และกฎการได้ แหล่ งกาเนิดสิ นค้ า
ของอาเซียนแบบสะสมบางส่ วน (Partial Accumulation Rule of Origin) มาใช้ เป็ นทางเลือก
สาหรับการคานวณแหล่ งกาเนิดสิ นค้ า
• ปรับปรุงกฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสิ นค้ าของอาเซียน
- พิจารณาจัดทากฎการได้ แหล่ งกาเนิดสิ นค้ าแบบเฉพาะรายสิ นค้ า (Product Specific Rule:
PSR) ให้ เป็ นอีกทางเลือกหนึ่ง นอกเหนือจากกฎ Regional Value Content (RVC) 40%
โดยมีแนวทางหลักๆ ดังนี้
3.1) สิ นค้ าที่ยงั ไม่ เคยมี PSR ทั้งในกรอบ ASEAN FTA และกรอบ AFTA ให้ ใช้ “กฎ RVC
40 หรือ CTH”
3.2) สิ นค้ าที่มี PSR แล้ วทั้งในกรอบ ASEAN FTA และกรอบ AFTA ให้ ใช้ “กฎ PSR ที่ยดื หยุ่น
มากกว่ า”
3.3) สิ นค้ าที่มี PSR ในกรอบ ASEAN FTA แต่ ยงั ไม่ มีใน AFTA ให้ “คณะทางาน ROO เป็ นผู้
พิจารณาจัดทากฎที่เหมาะสมขึน้ ”
15
การส่ งออกและนาเข้าสิ่ งทอไทย
• คาดการณ์ ว่าในปี 2554 แนวโน้ มในการขยายตัวต่ อการส่ งออกสิ่ งทอและเครื่องนุ่งห่ มไทย ยัง
น่ าจะขยายตัวสู งขึน้ อย่ างต่ อเนื่อง แต่ อาจจะไม่ มากเท่ าเมือ่ เทียบกับปี 2553 คาดการณ์ ว่ามูลค่ า
การส่ งออกสิ่ งทอและเครื่องนุ่งห่ มไทยในปี 2554 จะมีมูลค่ าการส่ งออกประมาณ 8,500 ล้ าน
เหรียญสหรัฐ เพิม่ ขึน้ ประมาณร้ อยละ 10 และคาดการณ์ ว่าตลาดอาเซียนจะเป็ นตลาดคู่ค้า
อันดับแรกของไทย แทนทีส่ หรัฐอเมริกา
• ปัจจุบนั สิ นค้ าสิ่ งทอมีสัดส่ วนของมูลค่ าการส่ งออกสู งกว่ าเครื่องนุ่งห่ มมาตั้งแต่ ปี 2550 อันเกิด
จากสาเหตุ 2 ประการใหญ่ ๆ ด้ วยกัน กล่ าวคือ
 ประการแรก เกิดจากการรวมกลุ่มภายใต้ เขตการค้ าเสรีอาเซียนและการรวมกลุ่มการค้ า
อืน่ ๆ ทีม่ คี วามต้ องการนาเข้ าเส้ นใย เส้ นด้ าย และผ้ าผืน อันเป็ นวัตถุดบิ สาคัญในการผลิต
เครื่องนุ่งห่ มในกลุ่มอาเซียนคือ เวียดนาม ลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ ทาให้ การส่ งออก
ของอุตสาหกรรมสิ่ งทอและเครื่องนุ่งห่ มของไทยในอาเซียนขยายตัวเพิม่ ขึน้
 ประการทีส่ อง ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ มไทย ได้ มกี ารย้ ายฐานการผลิตไป
อยู่ในประเทศทีม่ คี ่ าแรงถูกกว่ า อาทิเช่ น ลาว ฯลฯ เพือ่ ลดต้ นทุนในการผลิต
2. การเปิ ดเสรีธุรกิจบริการ
สัดส่ วนการถือหุ น้ ให้กบั นักลงทุน
สาขา PIS
ปี 2549
(2006)
ปี 2551
(2008)
ปี 2553
(2010)
49%
51%
70%
ปี 2556
(2013)
ปี 2558
(2015)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)/สุขภาพ/ท่องเทีย่ ว/การบิน
โลจิสติกส์
สาขาอื่น
30%
49%
51%
49%
51%
PIS: Priority Integration Sectors
ทีม่ า: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
70%
70%
(สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม)
17
3. การเปิ ดเสรีการลงทุน
เปิ ดเสรีการลงทุน
• ไม่ เลือกปฏิบัติ (คนชาติ = นักลงทุนอาเซียน)
• ให้ การปฏิบัตกิ บั นักลงทุนอาเซียนดีกว่าต่ างชาติ
• ลด/เลิกข้ อจากัดต่ างๆ หรือเงือ่ นไขในการลงทุน
คุ้มครองการลงทุน
• นักลงทุนฟ้องรัฐได้ หากได้ รับความเสียหายจากการผิดพันธกรณีของรัฐ
• การโอนเงินโดยเสรี
• รัฐต้ องชดเชยการเวนคืน หรือ จากเหตุการณ์ ไม่ สงบ
• ปกป้ องคุ้มครองความปลอดภัย
ส่ งเสริมการลงทุน
อานวยความสะดวก
การลงทุน
ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
C
• โดยเฉพาะระหว่างอาเซียนด้ วยกันเอง
• สนับสนุน SMEs
• สร้ าง regional clusters เช่ น อุตสาหกรรมยานยนต์
• ขยายความร่ วมมือด้ านอุตสาหกรรมในภูมิภาค
• Harmonize นโยบายการลงทุนของประเทศสมาชิก
• ปรับปรุงขั้นตอน/กระบวนการในการลงทุน
• สร้ างความโปร่ งใสให้ กบั กฎระเบียบที่เกีย่ วข้ อง
• เพิม่ การประสานงานในระดับรัฐมนตรี
18
ผลกระทบและการเตรียมความพร้ อมของภาคอุตสาหกรรมไทย (1)
ข้ อสั งเกตุ
• ASEAN ไม่ ได้ เป็ น Custom Union ก่ อนทีจ่ ะเป็ น (ASEAN ECONOMIC
COMMUNITY:AEC)
• เนื่องจากอัตราอากรนาเข้ าของประเทศสมาชิกไม่ เท่ ากัน ซึ่งอาจมีช่องทางให้ ประเทศผู้ผลิต
สิ นค้ าทีอ่ ยู่นอกกลุ่มอาศัยช่ องทางจากประเทศทีม่ ภี าษีนาเข้ าต่ากว่ าเข้ ามาใน ASEAN ได้ หาก
กฎถิ่นกาเนิดสิ นค้ า (Rules of Origin) ไม่ เหมาะสม
ผลกระทบของ AEC ต่ ออุตสาหกรรมไทย (+)
ผลกระทบเชิงบวก
1. ตลาดทีม่ ขี นาดใหญ่ เพิม่ โอกาสในการส่ งออก
2. ต้ นทุนในการผลิตของไทยต่าลง สามารถนาเข้ าสิ นค้ าและบริการได้ ในราคาถูกลง โดยเฉพาะ
อย่ างยิง่ วัตถุดบิ และสิ นค้ าขั้นกลางทีใ่ ช้ ในการผลิต จะทาให้ มคี วามได้ เปรียบในด้ านต้ นทุนการ
ผลิตทีม่ ากขึน้
3. นักลงทุนไทยสามารถไปลงทุนยังประเทศอาเซียนได้ ง่ายขึน้ สามารถแสวงหาแหล่ งลงทุนที
เหมาะสม ทั้งในด้ านวัตถุดบิ แรงงาน
4. โอกาสของไทยในการส่ งออกแรงงานคุณภาพ และเป็ นการแสวงหาแรงงานคุณภาพในสาขาที่
ขาดแคลนมาใช้
ผลกระทบของ AEC ต่ ออุตสาหกรรมไทย (-)
ผลกระทบเชิงลบ
1.
สิ นค้ าของประเทศอาเซียนอืน่ เข้ าสู่ ตลาดไทยได้ โดยง่ าย ทาให้การแข่งขันสู งขึ้น
1.
ในด้ านการลงทุน หากประเทศไทยไม่มีการพัฒนาปั จจัยพื้นฐาน (Infrastructure) ประสิ ทธิภาพ
การผลิตของแรงงาน (Labor productivity) และไม่มีการปรับปรุ งกฎระเบียบกฎหมายให้มี
ความทันสมัยไม่เป็ นอุปสรรคต่อนักลงทุน อาจทาให้มีการย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไป
ยังประเทศอื่นๆ ใน ASEAN
ผลกระทบของ AEC ต่ ออุตสาหกรรมไทย (-)
การเคลือ่ นย้ ายแรงงานได้ อย่ างเสรี ทาให้ เกิดการเคลือ่ นย้ ายของแรงงานมีฝีมือของไทยไป
ประเทศทีใ่ ห้ ค่าตอบแทนสู งกว่ า เช่ น สิ งคโปร์ มาเลเซีย และบรู ไน และต้ องจ้ างแรงงานต่ าง
ด้ าวจากประเทศทีค่ ่ าแรงถูกกว่ าเข้ ามา อาจก่ อปัญหาด้ านสั งคม และเนื่องจากทิศทางนโยบาย
ของไทยคือ การเป็ น “รัฐสวัสดิการ” ทาให้ งบประมาณของรัฐส่ วนหนึ่งจะไปเป็ นสวัสดิการ
ของแรงงานต่ างด้ าว
ผลกระทบของ AEC ต่ออุตสาหกรรมไทย (-)
ตลาดสิ นค้ าในประเทศ (Domestic Market)
–
แต่ ตลาดภายในยังไม่ มกี ลไกในการป้ องกันไม่ ให้ สินค้ าคุณภาพต่ากว่ าทีผ่ ลิตได้ ในประเทศ
เข้ ามาขายในประเทศมากขึน้
–
ผู้บริโภคใช้ สินค้ าทีน่ าเข้ าจากต่ างประเทศทีม่ คี ุณภาพและราคาต่ากว่ า
–
ดังนั้นจึงควรมีมาตรการทีจ่ ะเพิม่ ความต้ องการใช้ สินค้ าในประเทศด้ วย
การเตรียมความพร ้อมของภาคอุตสาหกรรม ต่อการเข ้าเป็ น AEC
24
A Framework for Global Network Design Decisions Making
ขั้นตอนที่ 1: วิเคราะห์กลยุทธ์ Supply Chain
1. กลยุทธ์ การแข่ งขัน
Competitive Strategy
(Advantage)
2. การแข่ งขันบนเวทีโลก
Global Competition
ขั้นตอนที่ 1
วิเคราะห์ กลยุทธ์ ด้าน Supply
4. การบริหารจัดการ
3. ข้ อจากัดภายใน
Chain
โซ่ ห่วงอุปทาน
Internal Constraints:
Supply Chain Management
Capital, growth strategy,
existing network
26
A Framework for Global Network Design Decisions Making
ขั้นตอนที่ 2: พิจารณารูปลักษณ์ การลงทุนและสิ่ งอานวยความสะดวก
2. ความต้ องการของผู้บริโภคทั้ง
ในอาเซียนและนอกอาเซียน
Regional demand, Size, Growth,
Homogeneity, and
Local specifications
ขั้นตอนทีloc่ 2
2. นและ
รูปลักษณ์ การลงทุ
3. เทคโนโลยีการผลิตและ สิ่ งอานวยความสะดวก 2. สถานการณ์ การเมือง
การเงินและการคลัง แล
รูปแบบสิ นค้ า
ความเสี่ ยงของตลาด
PRODUCTION TECHNOLOGIES
POLITICAL, EXCHANGE
Cost, Scale/Scope impact, support
RATE AND DEMAND RISK
required, flexibility Production
1. กฎระเบียบด้ านภาษีและ
Tax Incentive
27
A Framework for Global Network Design Decisions Making
ขั้นตอนที่ 3: ความเหมาะสมของสถานที่ต้งั
1. การศึกษาและวิเคราะห์ วธิ ีการ
ผลิต
Production Methods: Skill
needs, Response time
ขั้นตอนที่ 3
ความเหมาะสมของสถานทีต่ ้ัง
Desirable Size
2. การศึกษาความ
เหมาะสมของการ
บริการโครงสร้ างพืน้ ฐาน Available
Infrastructure
28
A Framework for Global Network Design Decisions Making
ขั้นตอนที่ 4: การเลือกสถานทีค่ ้งั
1. วิเคราะห์ ต้นทุนโรงงาน
FACTOR COSTS:
- Labor
- Materials
- Site Specific
ขั้นตอนที่ 4
Location Choices
2. วิเคราะห์ ถึงต้ นทุนโลจืสติกส์
Logistics Cost:
- Transport
- Inventory
- Logistics Infrastructure
29
รายละเอียดความยากง่ายในการดาเนินธุรกิจของอาเซียน
Topic
Brunei
Cambodia Indonesia
Income category
High
Low Lower middle
GNI per capita (US$)
26,325
650
2,230
Population (m)
0.4
14.8
230.0
Ease of doing business (rank)
112
147
121
Starting a business
133*
170
155*
Dealing with construction permits
74
146
60
Registering property
183
117
98
Getting credit
116
89
116
Protecting investors
120
74
44
Paying taxes
22*
57
130*
Trading across borders
52
118
47*
Enforcing contracts
159
142
154
Closing a business
42
183
142
Note:
* reforms making it easier to do business
** reforms making it more difficult to do business
Lao PDR
Malaysia Philippines Singapore
Thailand
Vietnam
Low Upper middle Lower middle
High Lower middle Lower middle
880
7,230
1,790
37,220
3,760
1,010
6.3
27.5
92.0
5.0
67.8
87.3
171
21
148
1
19
78
93
113*
156*
4
95
100*
115
108
156**
2
12
62*
163
60*
102
15
19**
43
152
1
128
6
72
15*
182
4
132
2
12
173
116*
23
124
4
91*
124
170
37
61*
1
12
63
110
59
118
13
25
31
183
55
153
2
46
124
ทีม่ า: Doing Business 2011, World Bank
30
ตารางแสดงสถานการณ์ภาพรวมของอุตสาหกรรสิ่ งทอทั้งหมดของอินโดนีเซีย
ทีม่ า : กระทรวงอุตสาหกรรมอินโดนีเซีย
31
อินโดนีเซียมีการนาเข้ าสิ่ งทอและผลิตภัณฑ์ จากตลาดโลก
ปี 2552 อินโดนีเซียมีการนาเข้ าสิ่ งทอและผลิตภัณฑ์ จากตลาดโลกทีส่ าคัญ 5 ประเภท แรกได้ แก่
1. เส้ นด้ ายฝ้ าย (Cotton Yarn) มีมูลค่ าการนาเข้ า ในปี 2552 ทั้งหมด 1,476 ล้ านเหรียญสหรัฐ หรื
ลดลงร้ อยละ 25.05 เมือ่ เทียบกับปี 2551โดยนาเข้ าจาก จีน สหรัฐอเมริกา ฮ่ องกง ออสเตรเลีย
และอินเดีย เป็ นต้ น
2. ผ้ าถัก (Knit Fabric) มีมูลค่ าการนาเข้ า ในปี 2552 ทั้งหมด 628.49 ล้ านเหรียญสหรัฐ หรือลดลง
ร้ อยละ 11.6 เมือ่ เทียบกับปี 2551โดยนาเข้ าจาก เกาหลีใต้ จีน ฮ่ องกง ไต้ หวัน และไทย เป็ นต้ น
3. ผ้ าใยสั งเคราะห์ (Manmade Filament Fabric) มีมูลค่ าการนาเข้ า ในปี 2552 ทั้งหมด 572.12
ล้ านเหรียญสหรัฐ หรือลดลงร้ อยละ 20.64 เมือ่ เทียบกับปี 2551โดยนาเข้ าจาก จีน เกาหลีใต้
ไต้ หวัน ญีป่ ุ่ น และ ฮ่ องกง เป็ นต้ น
4. เส้ นใยประดิษฐ์ (Manmade Staple Fibers) มีมูลค่ าการนาเข้ า ในปี 2552 ทั้งหมด 561.73 ล้ าน
เหรียญสหรัฐ หรือลดลงร้ อยละ 8.24 เมือ่ เทียบกับปี 2551 โดยนาเข้ าจากจีน ญีป่ ุ่ น ไทย ไต้ หวัน
และ เกาหลีใต้ เป็ นต้ น
5. ผ้ าผืน (Impregnated Text Fabric) มีมูลค่ าการนาเข้ า ในปี 2552 ทั้งหมด 248.21 ล้ านเหรียญ
สหรัฐ หรือลดลงร้ อยละ 11.69 เมือ่ เทียบกับปี 2551โดยนาเข้ าจากจีน เกาหลีใต้ ไต้ หวัน เยอรมนี
และ ญีป่ ุ่ น เป็ นต้ น
32
การวิเคราะห์ SWOT ของอุตสาหกรรมสิ่ งทอไทย
จุดแข็ง (Strength)
1. อุตสาหกรรมสิ่ งทอของไทยมีการผลิตครบวงจร ตั้งแต่ อุตสาหกรรมต้ นนา้ กลางนา้ และปลายนา้
2. มีการรวมกลุ่มกันจัดตั้งสมาคม เพือ่ พัฒนา ให้ ความช่ วยเหลือ และแก้ ไขปัญหาอุตสาหกรรมสิ่ ง
ทอของไทย อาทิเช่ น การตั้งสมาคมอุตสาหกรรมเส้ นใยสั งเคราะห์ สมาคมอุตสาหกรรมทอ
ผ้ าไทย สมาคมอุตสาหกรรมสิ่ งทอไทย สมาคมอุตสาหกรรมฟอกย้ อม พิมพ์ และตกแต่ งสาเร็จ
สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ มไทย และสมาคมไหมไทย
3. ผู้ซื้อเชื่อมัน่ ในผู้ประกอบการไทย เพราะมีประสบการณ์ ด้านอุตสาหกรรมสิ่ งทอยาวนานกว่ า 30
ปี
4. รัฐบาลมีเสถียรภาพ ทาให้ นักลงทุนต่ างชาติมคี วามมัน่ ใจทีจ่ ะมาลงทุนร่ วมกับ ผู้ประกอบการ
ไทย ตลอดจนสร้ างความมัน่ ใจให้ กบั ผู้ซื้อ
5. มีความร่ วมมืออันดีระหว่ างภาครัฐและเอกชน ในการแก้ ปัญหาและอุปสรรคต่ างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ทาให้
การแก้ ไขปัญหาเป็ นไปอย่ างรวดเร็ว และมีประสิ ทธิภาพ
6. ประเทศไทยมีทตี่ ้งั เหมาะสมในการเป็ นศูนย์ กลางภูมภิ าค
33
การวิเคราะห์ SWOT ของอุตสาหกรรมสิ่ งทอไทย
จุดอ่ อน (Weakness)
1. ประสิ ทธิภาพการผลิตต่า เนื่องจากเครื่องจักรทีใ่ ช้ ในกระบวนการผลิตมีอายุการใช้ งานนานกว่ า
10 ปี โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมเส้ นใย ปั่นด้ าย และฟอกย้ อม ทาให้ สินค้ าทีผ่ ลิตได้ ส่วนใหญ่ ยงั
ไม่ ได้ คุณภาพตามความต้ องการของผู้ซื้อ
2. ต้ นทุนการผลิตสู ง เนื่องมาจากโครงสร้ างภาษีทไี่ ม่ เหมาะสม กล่ าวคือ มีอตั ราภาษีนาเข้ าวัตถุดบิ
ในอัตราสู ง โดยเฉพาะอัตราภาษีนาเข้ าผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมี เส้ นใยสั งเคราะห์ สารเคมี และ
วัตถุดบิ ในการย้ อมสี แม้ ว่าจะได้ ทาการปรับลดอัตราภาษีลงแล้ วก็ตาม แต่ กย็ งั ถือว่ าประเทศไทย
มีอตั ราทีส่ ู งกว่ าประเทศคู่แข่ ง ทาให้ ไม่ สามารถแข่ งขันกับประเทศคู่แข่ งได้
3. ขาดการทาตลาดเชิงรุ ก ส่ วนใหญ่ เป็ นการผลิตตามคาสั่ งซื้อของลูกค้ า และไม่ มี แบรนด์ เนมเป็ น
ของตนเอง ตลอดจนขาดการพัฒนารู ปแบบผลิตภัณฑ์ ให้ ตรงกับความต้ องการของลูกค้ าทีม่ กี าร
เปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา
4. ขาดแคลนบุคลากรด้ านสิ่ งทอ เนื่องจากมีบุคลากรทีจ่ บการศึกษาทางด้ านนีจ้ านวนน้ อย โดย
จานวนผู้จบการศึกษาสาขาสิ่ งทอจากสถาบันการศึกษาต่ างๆ ในแต่ ละปี มีจานวนไม่ถึง 700 คน
หรือน้ อยกว่ าร้ อยละ 1 ของจานวนแรงงานทีม่ ใี นอุตสาหกรรมสิ่ งทอทั้งหมด ดังนั้น จึงต้ องสร้ าง
34
แรงจูงใจ เพือ่ ให้ มผี ู้เข้ าศึกษาด้ านสิ่ งทอเพิม่ มากขึน้ ดังแสดงในตารางที่ 9-1
การวิเคราะห์ SWOT ของอุตสาหกรรมสิ่ งทอไทย
โอกาส (Opportunities)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ค่ าจ้ างแรงงานยังไม่ สูงจนเกินไปนัก เมือ่ เทียบกับประเทศคู่แข่ ง เช่ น ประเทศจีน
สามารถแข่ งขันในด้ านการส่ งออกเครื่องนุ่งห่ มกับประเทศคู่แข่ ง เช่ น ประเทศจีน มาเลเซีย และ
อินโดนีเซียได้ โดยเฉพาะสิ นค้ าทีม่ ลี กั ษณะเป็ นแฟชั่น มีความแตกต่ างหลากหลาย
ประเทศคู่แข่ งทีส่ าคัญของไทย อย่ างเช่ น ประเทศอินโดนีเซียก็ประสบกับปัญหาการเมือง
ภายในประเทศ??? ซึ่งแตกต่ างกับไทยทีม่ เี สถียรภาพทางการเมือง ทาให้ นโยบายต่ างๆ มีความ
ต่ อเนื่อง และส่ งผลดีต่อการสนับสนุนโครงการและมาตรการต่ างๆ ให้ เกิดผลสั มฤทธิ์
เนื่องจากความก้ าวหน้ าทางด้ านเทคโนโลยีการผลิต ทาให้ สามารถสร้ างมูลค่ าเพิม่ ให้ กับสิ่ งทอ
และเครื่องนุ่งห่ มได้ เช่ น การสร้ างสรรค์ เส้ นใยชนิดใหม่ และพัฒนาเทคนิคการฟอกย้ อม
ตลาดชายแดนเพือ่ นบ้ าน เป็ นตลาดที่สาคัญของไทย ดังจะเห็นได้ จากมูลค่ าทางการค้ าทีเ่ พิม่ ขึน้
อย่ างต่ อเนื่อง
การทีป่ ระเทศเพือ่ นบ้ านตามแนวชายแดนของไทยส่ วนใหญ่ เป็ นประเทศทีม่ รี ายได้ น้อย อีกทั้ง
ระดับพืน้ ฐานทางเทคโนโลยีสิ่งทอต่า และอัตราค่ าจ้ างแรงงานถูกกว่ าไทยมาก เช่ น ประเทศลาว
พม่ า และกัมพูชา จึงเป็ นโอกาสดีทปี่ ระเทศไทยจะขยายฐานการผลิตไปลงทุนในประเทศเพือ่ น
บ้ านดังกล่ าว เพือ่ เป็ นการลดต้ นทุนการผลิต
35
การวิเคราะห์ SWOT ของอุตสาหกรรมสิ่ งทอไทย
ภัยคุกคาม (Threat)
1. การจากัดปริมาณโควตาส่ งออกในกลุ่มประเทศทีม่ ขี ้ อตกลงทางการค้ าสิ่ งทอ ทาให้ ไม่ สามารถ
เพิม่ การส่ งออกได้
2. ต้ องปฏิบตั ิตามเงือ่ นไข/กฎระเบียบสากล เช่ น มาตรฐานการผลิต (ISO 9000) มาตรฐาน
สิ่ งแวดล้ อม (ISO 14000) และมาตรฐานการจ้ างงาน (SA 8000) เป็ นต้ น
3. ขาดข้ อมูลเชิงลึก ข้ อมูลข่ าวสารไม่ ครบถ้ วนสมบูรณ์ และขาดการปรับปรุงข้ อมูลให้ ทันสมัย เช่ น
ข้ อมูลด้ านการผลิต การนาเข้ าและส่ งออกของประเทศคู่แข่ ง เป็ นต้ น
36
การสนับสนุนเงินทุนประกอบการจากรัฐ
ในปี 2552 รัฐบาลอินโดนีเชียจึงมีนโยบายสนับสนุนการผลิตสิ นค้ าสิ่ งทอ
1. รัฐบาลอินโดนีเซียให้ ส่วนลดร้ อยละ 11.0 ของราคาเครื่องจักรใหม่ ด้ วยงบประมาณ 175 พันล้ าน
รู ปี หรือ 19 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ แบ่ งเป็ นสาหรับอุตสาหกรรมเสื้อผ้ าสาเร็จรู ป 52.5 พันล้ านรู ปี
ปั่นด้ ายทอผ้ า 35 พันล้ านรูปี สิ่ งทออืน่ ๆ 87.5 พันล้ านรูปี
2. รัฐบาลให้ เงินกู้ดอกเบีย้ ต่าสาหรับการซื้อเครื่องจักรและเครื่องมือใหม่ โดยจะให้ เงินกู้ในจานวน
ไม่ น้อยกว่ า 100 ล้ านรูปี แต่ สูงสุ ดไม่ เกิน 5 พันล้ านรูปี (หรือร้ อยละ 75 ของเครื่องจักรใหม่ ) ทั้งนี้
อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ดงั กล่ าวจะต่ากว่ าอัตราดอกเบีย้ เงินกู้ทวั่ ไปของธนาคารพาณิชย์ประมาณร้ อย
ละ 4-5 ต่ อปี
37
ข้ อแตกต่ างของการรวมกลุ่ม AEC และ EU
ปัจจัย
ด้านโครงสร้างขององค์กร
สหภาพยุโรป
 เป็ นองค์กรที่มีรปู แบบที่เรียกว่า Community
Method
 มีการจัดระบบการทางานและมีการกาหนด
อานาจและหน้ าที่ขององค์กรที่ชดั เจน
ระบบกฎหมาย
 มีระบบกฎหมายและมาตรการต่ างๆ ของตน
โดยเฉพาะ จะไม่อยู่ภายใต้ระบบกฎหมาย
ระหว่างประเทศทัวๆ
่ ไป
การออกนโยบายเพื่อรองรับการ
รวมเศรษฐกิ จ
 มีการจัดตัง้ กองทุนช่วยเหลือแก่ประเทศ
สมาชิ กเพื่อลดความเหลื่อมลา้ ของประเทศ
สมาชิ ก
นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนและ
สกุลเงิ น
การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อ
ประชาคม
อาเซียน
 เป็ นองค์กรที่มีรปู แบบที่เรียกว่า
Intergovernmental Method
 ยังไม่มีการกาหนดหน้ าที่ทางกฎหมายระหว่าง
ประเทศที่ชดั เจน มีเพียงวิ สยั ทัศน์ หรือ
ข้อตกลงทางการเมือง
 ใช้ระบบกฎหมายระหว่างประเทศอยู่ ซึ่งไม่มี
สภาพบังคับที่ชดั เจน
 ไม่ได้มีกองทุนเพื่อลดความเหลื่อมลา้ ทาง
เศรษฐกิ จเป็ นของตนเอง พึ่งพิ งสถาบันการเงิ น
ระหว่างประเทศ เช่น Asian Development
Bank (ADB)
 มีแนวคิ ดที่จะให้เอเชียใช้เงิ นสกุลเดียวกันที่
เรียกว่า Asian Currency Unit (ACU) แต่ยงั อยู่
ในขัน้ การศึกษา
 มี European Monetary Union เพื่อทาหน้ าที่
กาหนดเงื่อนไขทางเศรษฐกิ จ สามารถใช้สกุล
เงิ นเดียวกันได้
 สหภาพยุโรปได้มีการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมี
 อาเซียนไม่เคยมีการให้สิทธิ แก่ประชาชนใน
ส่วนร่วมในประชาคม เช่น การเลือกตัง้ สมาชิ ก
อาเซียนโดยตรง
ของ European Parliament
ทีม่ า: บริษัท ไบรอัน เคฟ (ประเทศไทย) จากัด
38