AEC 3rd - กรมบังคับคดี

Download Report

Transcript AEC 3rd - กรมบังคับคดี

ี น : AEC
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซย
AEC
กรมเจรจาการค ้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ASEAN (Association of South East Asian Nations)
อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้
1967(2510) ก่อตงั้ ASEAN

ี มาเลเซย
ี ฟิ ลิปปิ นส ์ สงิ คโปร์
1967(2510) ก่อตงโดย
ั้
5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซย

ิ บรูไน
1984(2527) ขยายสมาชก

ิ เวียดนาม
1995(2538) ขยายสมาชก

ิ ลาว พม่า
1997(2540) ขยายสมาชก

ิ
1999(2542) ขยายสมาชก
ก ัมพูชา
ASEAN - 6
CLMV
ิ CAMBODIA
รวมสมาชก
ณ ปัจจุบ ัน 10 ประเทศ ประชากร 580 ล้านคน
่ ………..
และกาล ังมุง่ สู…
2015(2558) ASEAN Community
(AC)
ประชาคมอาเซียน
ไทยอยู ่ตรงไหน?? ใน
อาเซียน
Indicators (2009)
ประชากร
ASEAN
Thailand
591 ล้านคน
67 ล้านคน
1,496 พันล้าน
USD
2.4% ของ GDP
โลก
264 พันล้าน
USD
0.4% ของ
GDP โลก
การค้ารวม (ส่งออก+
1,536 พันล้าน
นำเข ้ำ)
USD
•Note: Latest available data in Year 2009
•Source:
ASEAN
Secretariat
as of 15 February
2011 พันล้านUSD
การลงทุนจำกต่
ำDatabase
งประเทศ
38
(FDI)
่
จำนวนนักท่องเทียว
73 ล้านคน
286 พันล้าน
USD
5 พันล้านUSD
GDP
(ผลิตภัณฑ ์มวลรวมใน
ประเทศ)
3
15 ล้านคน
เทียบก ับอาเซียน ไทยมีศ ักยภาพเป็ น
ลาดับต้นๆ
Country
Brunei
Land (km2)
Population
(thousand)
GDP
(US$ mil.)
GDP per
Capita (US$)
Unemployment
rate (%)
Tourist
Arrival
(thousand)
5,765
406
10,758
26,486
3.7
130
Cambodia
181,035
14,957
10,359
692
1.6
2,508
Indonesia
1,860,360
231,369
546,846
2,363
7.9
7,002
Lao PDR
236,800
5,922
5,579
910
1.3
2,513
Malaysia
330,252
28,306
193,107
6,822
3.7
24,577
Myanmar
676,577
59,534
24,972
419
4.0
791
Philippines
300,000
92,226
161,357
1,749
7.1
3,520
710
4,987
182,701
36,631
4.0
11,641
Thailand
513,120
66,903
264,322
3,950
1.0
15,936
Vietnam
331,212
87,228
96,317
1,119
4.6
5,049
4,435,830
591,841
1,496,341
2,532
n.a.
73,672
Singapore
ASEAN
•Note: Latest available data in Year 2009
•Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011
4
ไทยมีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศเป็ นอน
ั ดับ
2 ในอาเซียน
Trade (US$ mil.)
Country
Exports
Imports
Intra-ASEAN
Total
Value
% share to
total
Extra-ASEAN
Value
% share to
total
Brunei
7,168
2,400
9,568
2,472
25.8
7,096
74.2
Cambodia
4,985
3,901
8,886
2,097
23.6
6,788
76.4
Indonesia
116,510
96,829
213,339
52,366
24.5
160,972
75.5
Lao PDR
1,237
1,725
2,962
2,478
83.7
484
16.3
Malaysia
156,891
123,330
280,221
72,065
25.7
208,156
74.3
Myanmar
6,341
3,850
10,191
5,262
51.6
4,928
48.4
Philippines
38,334
45,534
83,868
17,399
20.7
66,469
79.3
Singapore
269,832
245,787
515,617
140,694
27.3
374,923
72.7
Thailand
152,497
133,769
286,266
59,250
20.7
227,016
79.3
Vietnam
56,691
69,230
125,921
22,121
17.6
103,800
82.4
810,489
726,354
1,536,843
376,207
24.5
1,160,636
75.5
ASEAN
•Note: Latest available data in Year 2009
•Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011
5
ตลาดเก่า (EU/USA) ยังเป็ นคู ค
่ า้
สาคัญของอาเซียน
Country
ASEAN trade partners, 2009
Trade
(US$ mil.)
(% share to total ASEAN trade)
Singapore
515,617
Thailand
286,266
India
Malaysia
280,221
Australia
Indonesia
213,339
Hong Kong
NZ
0.3
2.5
2.9
4.4
Korea
Vietnam
125,921
USA
Philippines
83,868
Japan
Myanmar
10,191
Brunei
9,568
Cambodia
8,886
Lao PDR
2,962
ASEAN
1,536,843
4.9
9.7
10.5
EU
11.2
China
11.6
ASEAN
24.5
0
5
10
15
20
25
30
่
•อาเซียนเริมขยายการค้
ากับประเทศคูค
่ า้ หลักทัง้ 6 แล้ว ใน
ขณะเดียวกัน ตลาดเก่า อย่าง สหภาพยุโรป สหร ัฐอเมริกา
้ านการค้าและการลงทุน
ยังคงมีบทบาทสาคัญทังด้
6
่ านมา ไทยส่งออกไปตลาดอาเซียน
ในช่วง 20 ปี ทีผ่
่ น
้ 8.9%
เพิมขึ
•ปี 2553
•ปี 2535
Other
25.5%
USA
22,4%
China
1,2%
Other
33.6%
EU
19,6%
ASEAN
13.8%
China
10,6%
Japan
17.5%
•ส่งออกรวม 32,609.1 ล้าน
เหรียญสหร ัฐฯ
USA
10,9%
EU
11,9%
Japan
10,3%
•ASEA
N
22.7%
•ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญ
สหร ัฐฯ
Note
่
่
1. AFTA เริมเจรจาปี 2535 และเริมลดภาษี
ปี 2536
(1993)
้
2. ASEAN 6 ภาษีเป็ นร ้อยละ 0 ตังแต่
1 ม.ค.2553 (2010)
7
่ านมา ไทยนาเข้าจากตลาด
ในช่วง 20 ปี ทีผ่
่ น
้ 3%
อาเซียนเพิมขึ
•ปี 2535
Oth
Jap
er
an
Chi
EU
US
2…
2…
na
A 14,
3,…ASEAN
1… 4%
13.6%
•นาเข้ารวม 40,615.8 ล้าน
เหรียญสหร
ัฐฯ
Note
่
่
1. AFTA เริมเจรจาปี
2535 และเริมลดภาษี
ปี 2536
(1993)
้
2. ASEAN 6 ภาษีเป็ นร ้อยละ 0 ตังแต่
1 ม.ค.2553 (2010)
•ปี 2553
Other
36.6%
China
12,7%
Japan
18,7%
EU
9,1%
USA
6,3%
•ASEA
N
16.6%
•นาเข้ารวม 182,406.54 ล้าน
เหรียญสหร ัฐฯ
8
่ างชาติเข้ามา
ไทยเป็ นประเทศทีต่
ลงทุนในอ ันดับ 3
Country
Singapore
FDI Inflows
(US mil.)
15,279
40.3
Vietnam
7,600
20.1
Thailand
4,975
13.1
Indonesia
4,876
12.9
Philippines
1,963
5.2
Malaysia
1,381
3.7
578
1.5
Myanmar
่ ามาลงทุนในอาเซียนมาก
ประเทศทีเข้
่ ด ได้แก่ สหภาพยุโรป สหร ัฐฯ และ
ทีสุ
ตามมาติดๆๆ อย่าง จีน ญีปุ่่ น เกาหลีใต้
่ น
้
ได้เข้ามาลงทุนในอาเซียนเพิมขึ
%
share
Sources of FDI Inflows to ASEAN, 2009
(% share to total net inflow)
30
25
Cambodia
539
1.4
Brunei
369
1.0
Lao PDR
318
0.8
15
37,881
100.0
10
ASEAN
24.1
20
13.8
10.8
10.4
9.9
3.9
5
2.2
2
India
Australia
0.7
0
EU
ASEAN
•Note: Latest available data in Year 2009
•Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011
USA
China
Japan
Korea
NZ
9
การพัฒนาการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน Building Blocs of
ASEAN Integration
•Bangkok
2510
Declaration
ASEAN
Agreement on the Common Effective
•Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area
•CEPT-AFTA
2535
2538
•AFAS
ASEAN Framework Agreement on Services
2539
•AICO
ASEAN Industrial Cooperation Scheme
2541
2550
2552
2554
•AIA
Framework Agreement on the ASEAN Investment Area
•ASEAN
•
Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit
ASEAN Charter
ASEAN Community
• + Declaration on AEC Blueprint
•ATIGA
•ACIA
ASEAN Trade in Goods Agreement
ASEAN Comprehensive Investment Agreement
10
•สาขาสาคัญในการรวมกลุม
่ เศรษฐกิจ
•(Priority Integration Sectors: PIS)
•ประเทศผู้
ประสานงาน
•อินโดนีเซี
ย
•ยานยนต์
•ผลิตภัณฑ์ไม้
•มาเลเซีย
•ผลิตภัณฑ์ยาง
•สิ่งทอและ
เครื่องนุง่ ห่ม
•พม่า
•ผลิตภัณฑ์
เกษตร
•ผลิตภัณฑ์ประมง
•สิงคโปร์
•เทคโนโลยี
สารสนเทศ
•สุขภาพ
•ไทย
•การท่องเทีย
่ ว
•การบิน
•เวียดนาม
•โลจิสติกส์
•อิเล็กทรอนิกส์
•ฟิลิปปินส์
11
ชุมชน
อาเซียน
ประชาคม
เศรษฐกิจ
อาเซียน
ประชำคม
ควำมมั่นคง
อำเซียน (ASC)
(AEC)
ASEAN Economic
Community
ประชำคม
สังคม-วัฒนธรรม
อำเซียน
(ASCC)
พิมพ ์เขียว
AEC
AEC
Blueprint
ตาราง
ดาเนิ นการ
Strategic
Schedule
12
พิมพ ์เขียว AEC
พิมพ ์เขียว
AEC
AEC
Blueprint
13
…. มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC
One Vision,
One Identity,
One Community
ี น (ASEAN
าคมเศรษฐกิจอาเซย
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม
Economic Community: A
2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งข ัน
ทาธุรกิจบริการได ้อย่างเสรี
e-ASEAN (พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส)์
นโยบายการแข่งขัน
ไปลงทุนได ้อย่างเสรี
ิ ธิทรัพย์สน
ิ ทางปั ญญา
สท
ิ ค ้าเคลือ
สน
่ นย ้ายได ้อย่างเสรี
แรงงานมีฝีมอ
ื ไปทางานได ้อย่างเสรี
เงินทุนเคลือ
่ นย ้ายได ้อย่างเสรีมากขึน
้
AEC
ปี 2558
(2015)
การคุ ้มครองผู ้บริโภค
พัฒนาโครงสร ้างพืน
้ ฐาน (คมนาคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน)
3. การพ ัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้าก ับเศรษฐกิจโลก
่ งว่างการพัฒนา
ลดชอ
ิ เก่า-ใหม่
ระหว่างสมาชก
สนั บสนุนการพัฒนา
วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร ้างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทาเขตการค ้าเสรี(FTA)
ี น
กับประเทศนอกอาเซย
แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC Blueprint
16
แผนงานในพิมพ์เขียว AEC
เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี
1. เปิดเสรีการค้าสินค้า
1.1 ยกเลิกมาตรการภาษี

ลดภาษีนาเข้าเป็นลาดับตัง้ แต่ปี 2536
1 มค. 2553(2010)
อาเซียน-6 ลดภาษีนาเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์
1 มค. 2558(2015)
CLMV ลดภาษีนาเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์
ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List ) ภาษีไม่ตอ้ งเป็น 0% แต่ตอ้ งไม่เกิน 5%
และ สินค้าในรายการอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List)
ให้กาหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับทีส
่ มาชิกยอมรับได้
สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้าตาล
ประเทศทีข
่ อไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
แผนงานในพิมพ์เขียว AEC
เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี
สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List ) ภาษีไม่ตอ
้ งเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5%
ASEAN – 6 ภายใน 1มค 2553
CLMV ภายใน 1 มค 2558
ภาษีนาเข้า
ไทย
กาแฟ มันฝรง่ ั มะพร ้าวแห้ง ไม้ตด
ั ดอก
5%
บรูไน
กำแฟ ชำ
5%
กัมพู ชา
้
เนื อไก่
ปลำมีชวี ต
ิ ผักผลไม้บำงชนิ ด พืชบำงชนิ ด
5%
ลาว
มาเลเซีย
้
สัตว ์มีชวี ต
ิ เนื อโคกระบื
อ สุกรไก่ ผักผลไม้บำงชนิ ด
้ ขก้ำว
สัตว ์มีชวี ต
ิ บำงชนิ ด เนื อสุ
ร ไก่ยำสู
ไข่ พืบ
ชและผลไมบ้ ำงชนิ ด ยำสูบ
พม่า
้
ถัว่ กำแฟ นำตำล
ไหม ฝ้ ำย
ฟิ ลิปปิ นส ์
้ กร ไก่ มันสำปะหลัง
สัตว ์มีชวี ต
ิ บำงชนิ ด เนื อสุ
้
้ ตว ์ปรุงแต่ง น้ำตำล
สัตว ์มีชวี ต
ิ บำงชนิ ด เนื อไก่
ไข่
ชบำงชนิ ด เนื อสั
ข พื้ำวโพด
เวียดนาม
สิงคโปร ์และอินโดนี เซีย
ไม่มี
5%
5%
5%
5%
5%
5%
แผนงานในพิมพ์เขียว AEC
เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี
สินค้าในรายการอ่อนไหวสูง Highly Sensitive List
ให้กาหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับทีส
่ มาชิกยอมรับได้
สินค้า : ข้าว และน้าตาล
ประเทศทีข
่ อไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
ไทยได้ชดเชย เป็นการนาเข้าขัน
้ ต่า
ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน
มาเลเซีย
ข้าว เป็ น 20% ปี 2010
อินโดนี เซีย
ข้าว 25% ภำยในปี 2015
ฟิ ลิปปิ นส ์
น้ าตาล คงอัตรำ 38% ถึงปี 2011 และลดตำมลำดับเป็ น 5% ปี 2015
น้ าตาล จำก 40% เป็ น 5-10% ปี 2015
ข้าว คงอัตรำ 40% ถึงปี 2014 และลดเป็ น 35% ปี 2015
ไทยได้ชดเชย โดยฟิลป
ิ ปินส์ตกลงจะซือ
้ ข้าวจากไทย
•อย่างต่าปีละ 3.67 แสนตัน
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี
1.2 ขจัดการกีดกันทีม
่ ิใช่ภาษี NTBs
มีไทยและมาเลเซียต้องยกเลิกในชุดที่ 1และ 2 ไทยและเวียดนามยกเลิกในชุดที่ 3
NTBs ชุดที่ 1
ยกเลิกภายใน
1มค.2551(2008)
NTBs ชุดที่ 2
ยกเลิกภายใน
1มค.2552(2009)
NTBs : Non-Tariff Barriers
NTBs ชุดที่ 3
อาเซียน5 ภายใน
1มค.2553(2010)
ฟิลิปปินส์ ภายใน
1มค.2555(2012)
CLMV ภายใน
1มค.2558(2015)
20
แผนงานในพิมพ์เขียว AEC
1.3 การอานวยความสะดวกทางการค้า
ASEAN Single Window
(ASW)
เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี
บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
ไทย สิงคโปร์
จะเริ่มดาเนินโครงการในต้นปี 2554
กัมพูชา ลาว พม่า
จะเข้าร่วมเป็นผู้สงั เกตการณ์
(Observer)
Self Certification
บรูไน มาเลเซีย และสิงคโปร์
ได้เริม
่ ดาเนินโครงการนาร่องเมือ
่
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2553
ไทยเข้าร่วมโครงการนาร่อง เมื่อ
วันที่ 28 ตุลาคม 2554
แผนงานในพิมพ์เขียว AEC
เคลื่อนย้ายบริการเสรี
2. เปิ ดเสรีบริการ
อนุญาตให้ผป
ุ้ ระกอบกิจการบริการของอาเซียน ไปทาธุรกิจโดยถือ
หุ้นได้อย่างน้อยถึง 70% โดยมีลาดับดาเนินการ คือ
ปี 2553
(2010)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) / สุขภาพ
/ ท่องเที่ยว / การขนส่งทางอากาศ
70%
โลจิสติกส์
51%
สาขาอืน
่ ๆ ที่เหลือทัง้ หมด
51%
ปี 2556
(2013)
ปี 2558
(2015)
70%
70%
การเปิ ดเสรีการค้าบริการใน ASEAN หรือ AFAS
คือ
่ นอุปสรรคต่อการค้า
การลด/ยกเลิกกฎระเบียบทีเป็
ข้อจาก ัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู ต
่ ลาด
บริการในอาเซียน
1. จานวนผู ใ้ ห้บริการ
Mode 1
Cross Border Supply
Mode 2
Consumption Abroad
Market
access
Mode 3
Commercial Presence
Mode 4
Movement of
Natural Persons
National
•
treatment
2. มู ลค่าการให้บริการ
3. ปริมาณของบริการ
่ บริการ
4. จานวนของบุคคลทีให้
5. ประเภทของนิ ตบ
ิ ุคคล
6. สัดส่วนการถือหุน
้ ในนิ ตบ
ิ ุคคล
ต ัวอย่างข้อจาก ัดต่อการปฏิบต
ั ก
ิ ับต่างชาติ
กฎหมาย/มาตรการทีร่ ัฐของประเทศภาคีม ี
การใช้บงั ค ับ/ปฏิบต
ั ก
ิ ับผู ใ้ ห้บริการต่างชาติ
แตกต่างก ับผู ใ้ ห้บริการในชาติตน เช่น
่ น ข้อจาก ัดด้านสัญชาติ ภาษี
กฎหมายทีดิ
้ าในการน
่
สัดส่วนเงินกู ต
้ อ
่ ทุน ทุนขันต
าเงิน
เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ เป็ นต้น
23
่ ใช่
การจาแนกสาขาบริการและสาขาทีไม่
บริการ
ภาคบริการ (จาแนกตาม WTO)
บริการธุรกิจ
่
บริการสือสารโทรคมนาคม
่
่ อง
บริการก่อสร ้างและวิศวกรรมเกียวเนื
บริการจัดจาหน่ าย
บริการการศึกษา
่
บริการสิงแวดล้
อม
บริการการเงิน
บริการสุขภาพและบริการทางสังคม
่
บริการด้านการท่องเทียว
บริการด้านนันทนาการ ว ัฒนธรรม และ
กีฬา
11. บริการด้านการขนส่ง
่
12. บริการอืนๆ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
่ ใช่บริการ
ภาคทีไม่
1.
2.
3.
4.
5.
การเกษตร
การประมง
การทาป่ าไม้
การทาเหมืองแร่
การผลิต (อุตสาหกรรม)
24
แผนงานใน AEC Blueprint
3. เปิ ดเสรีการลงทุน


เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี
การลงทุน
1. การเกษตร
2. การประมง
3. ป่าไม้
4. เหมืองแร่
5. ภาคการผลิต
(อุตสาหกรรม)
ต้องปฏิบต
ั ิกบ
ั นักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง
ทบทวนความตกลง AIA ให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ
(เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม อานวยความสะดวก)
ACIA : ASEAN Comprehensive Investment Agreement
 เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อานวยความสะดวก
การลงทุน
สาระสาคัญของ ACIA
เปิ ดเสรีการลงทุน
คุม
้ ครองการ
ลงทุน
ส่งเสริมการ
ลงทุน
อานวยความ
สะดวก
26
• ไม่เลือกปฏิบต
ั ิ (คนชาติ = นักลงทุน
อาเซียน)
• ให้การปฏิบต
ั ก
ิ บ
ั นักลงทุนอาเซียนดีกว่า
ต่
• านังชาติ
กลงทุนฟ้องร ัฐได้ หากได้ร ับความ
่อนไขในการ
•เสีลด/เลิ
ก
ข้
อ
จ
ากั
ด
ต่
า
งๆ
หรื
อ
เงื
ยหายจากการผิด
ลงทุ
พันนธกรณี ของร ัฐ
• การโอนเงินโดยเสรี
• ร ัฐต้องชดเชยการเวนคืน หรือ จาก
เหตุ
การณ์ไม่สงบางอาเซียนด้วยกันเอง
• โดยเฉพาะระหว่
•• ปกป้
้ ครองความปลอดภั
ย
สนับองคุ
สนุ นม
SMEs
• สร ้าง regional clusters เช่น
อุตสาหกรรมยานยนต ์
•• ขยายความร่
มมือด้านอุตสาหกรรมใน
Harmonize วนโยบายการลงทุ
นของ
ภู
มภ
ิ าค
ประเทศสมาชิ
ก
้
• ปร ับปรุงขันตอน/กระบวนการในการ
26
ลงทุน
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี
4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี

อานวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทางาน

ทาข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก
ยอมรับร่วมกันเรือ
่ ง “คุณสมบัต”ิ ที่เป็นเงือ
่ นไขการได้รบ
ั อนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ
นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึง่ สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพใน
ประเทศอาเซียนอื่นๆได้
แต่ยงั ต้องปฏิบัตต
ิ ามกฏระเบียบภายในของประเทศ
นั้นๆในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานัน
้ ๆ
ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา
สาขาวิศวกรรม
สาขานักบัญชี
สาขาแพทย์
สาขาพยาบาล
สาขาทันตแพทย์
สาขานักสารวจ
สาขาสถาปัตยกรรม
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียงิ่ ขึ้น
5. การเคลือ
่ นย้ายเงินทุนเสรียงิ่ ขึน
้
เปิดเสรีบญ
ั ชีทน
ุ (Capital Account) อย่างเป็นขัน
้ ตอนและ
สอดคล้องกับวาระแห่งชาติ-ความพร้อมของแต่ละประเทศ
อนุญาตให้มม
ี าตรการปกป้องทีเ่ พียงพอ หรือทีจ
่ าเป็นเพื่อรักษา
เสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค
ให้ทุกประเทศสมาชิกได้รบ
ั ประโยชน์อย่างทัว
่ ถึงจากการเปิดเสรี

หลักการ


•
เปิดเสรี
โดย


ยกเลิก ผ่อนคลายข้อจากัด “ตามความเป็นไปได้และเหมาะสม”
เพื่ออานวยความสะดวกการจ่ายชาระเงินและโอนเงิน สาหรับ
ธุรกรรมบัญชีเดินสะพัด หรือ Current Account Transactions
เพื่อสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หรือ มาตรการริเริมต่างๆ
ในการส่งเสริมพัฒนาตลาดทุน
แผนงานใน AEC Blueprint
6. ความร่วมมืออืน
่ ๆ
อาหาร เกษตร และป่าไม้
ยกระดับการค้าและความสามารถในการ
แข่งขันสินค้าอาหาร เกษตร และป่าไม้
สิทธิในทรัพย์สน
ิ ทาง
ปัญญา
ส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ และใช้
ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์โดยเน้นการมีส่วน
ร่วมของอุตสาหกรรมทีเ่ กีย
่ วข้อง
นโยบายการแข่งขัน
ส่งเสริมวัฒนธรรมการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรมใน
ภูมิภาคและสร้างเครือข่ายหน่วยงานกากับ
ดูแลด้านนโยบายการแข่งขัน
การพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน
พัฒนาโครงข่ายการขนส่ง เทคโนโลยี
สารสนเทศ และพลังงานที่มป
ี ระสิทธิภาพ
การพัฒนา SME
พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและ
การปรับตัวของ SME ในอาเซียน
29
FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่คา้
AEC
31
FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคูเ่ จรจา -- ปั จจุบน
ั
India
สินค้า : มีผChina
ล 2549
~
บริการ : มีผล 2550
~
ลงทุน : ลงนาม 13
สค 52
AEC
สินค้า : ลงนาม 13 สค. 52
มีผล 1 มค. 53
บริการ/ลงทุน : กาลังเจรจา
Japan
ค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 2551 อาเซยี น-เกาหลี
สาหร ับไทย มีผล 2 มิย 52
ประเทศบวก 3
Korea
่ ผลแล้ว
สินค้า /บริการ : อาเซียนอืนมี
้
ตังแต่
ปี 50 สาหร ับไทย บริการ ลง
นาม 26 กพ 52 มีผล 1 มิย 52
สาหร ับ สินค้า มีผล 1 ตค 52
ลงทุน :ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52
มีผล 31 ตค 52
สินAustralia
ค้า/บริการ/ลงทุ
: ลง
New น
Zealand
นาม 26 กพ 52
มีผล 1
มค. 53
ประเทศบวก 6
32
33
34
35
36
37
38
39
FTA ของอาเซียนกับประเทศคู เ่ จรจา – อนาคต….
AEC
Russia
EU
GCC
Gulf
Cooperatio
บาห ์เรนnคูCouncils
เวต
โอมาน กาตาร ์
ซาอุดอ
ี าระเบีย
สหร ัฐอาหร ับเอ
มิเรตส ์
MERCOSUR
Mercado Comun del Sur
ตลาดร่วมอเมริกาใต้
ตอนล่าง
อาเจนตินา
ปารากวัย บราซิล
อุรุกวัย เวเนซูเอลา
40
41
42
การขยาย FTA ของอาเซียน – อนาคต…
CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia)
(ASEAN +6)
EAFTA (East Asia FTA)
(ASEAN +3)
China
Japan
AEC
Australia
New Zealand
Korea
India
ASEAN 10 : 583 ล้านคน ( 9% ของประชากรโลก )
GDP (ผลผลิตมวลรวมในประเทศ) 1,275 พันล้าน US$ ( 2%
โลก ) 2,068 ล้านคน
EAFTA (อาเซียน ของ
+3)GDP
: ประชากร
( 31% ของประชากรโลก )
GDP 9,901 พันล้าน
US$
GDP โลก3,284
)
CEPEA (อาเซี
ยน(18%
+6) ของ
: ประชากร
ล้านคน
(50% ของประชากรโลก )
GDP 12,250 พันล้าน
US$ (22% ของ GDP โลก )
43
การใช้ประโยชน์จาก AEC
AEC
่
าพของการลงทุนอุตสาหกรรมในอาเซียนเมือเข้
าสู ่ AEC
ในห่วงโซ่การผลิต
ฐานการผลิต
ไม่จาเป็ น
ต้องอยู ่ในประเทศใด
ประเทศหนึ่งเพียงแห่งเดียว
กลยุทธ ์สาคัญในการแข่งขัน
คือการใช้ประโยชน์สูงสุดจาก
“ฐานการผลิตร่วม” ใน AEC
ฐานการผลิตจะอยู ่ทใด
ี่
้
ขึ
นอยู
่ ่กบั ความได้เปรียบ
 ทีใดจะมี
สู งสุดในด้านต้นทุน
ของปั จจัยการผลิต
อในด้
านการตลาด
 หรื
จาเป็
น/ได้
เปรียบมาก
่ ่ใกล้
น้อยเพียงใดทีอยู
แหล่งวัตถุดบ
ิ
 ต้นทุนด้านโลจิสติกส ์
 สภาพแวดล้อมการ
ลงทุน รวมถึงกฏ
ระเบียบ ข้อกาหนด
ของภาคร ัฐ
ใครบ้างที่จะได้รบ
ั ผลจาก AEC ?
ผู้ค้า
เกษตรกร
ผู้บริโภค
แรงงาน
นักธุรกิจ
ประชาชน
นักวิชาชีพ
46
AEC
โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats)
สาหรับผูผ
้ ลิต/ผูป
้ ระกอบการ/ผูส
้ ง่ ออกไทย
ภาษีนาเข้าเป็นศูนย์
อุปสรรคทีม
่ ใ
ิ ช่ภาษีหมดไป
ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึง่
ทาธุรกิจบริการ/ ลงทุน
ในอาเซียนได้อย่างเสรี
ขยายส่งออกไปยังตลาด
อาเซียนได้เพิ่มขึน
้
นาเข้าวัตถุดบ
ิ
จากอาเซียน
ที่มค
ี ณ
ุ ภาพ /ราคาถูกได้
สินค้าประเภทเดียวกัน
จากอาเซียน
เข้ามาแข่งในไทย
สินค้าไทยคุณภาพด้อย
ต้นทุนสูง จะเสียตลาด
ตลาดใหญ่ขน
ึ้ ทาให้เกิด คู่แข่งอาเซียนอาจใช้
ประโยชน์จากตลาด
Economy of Scale
ใหญ่ขน
ึ้ ได้เช่นกัน
(ผลิตมากขึน
้ ต้นทุนลด)
ทาให้ตน
้ ทุนของคูแ
่ ข่ง
 ต้นทุนผลิตลดลง
ก็อาจต่าลงด้วย
ธุรกิจคูแ
่ ข่ง
ไปตัง้ ธุรกิจ หรือขยาย
จากอาเซียน
บริการในอาเซียนได้
เข้ามาแข่งในไทย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 47
AEC
โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats)
สาหรับแรงงาน/นักวิชาชีพไทย
แรงงานฝีมอ
ื
เคลือ
่ นย้ายได้โดยเสรี
การเป็น AEC ทาให้
เศรษฐกิจการค้า
ในอาเซียนขยายตัว
การลงทุนเสรีใน AEC
ทาให้ผู้ผลิตไทยอาจย้าย
ฐานการผลิตไป CLMV
แรงงานฝีมอ
ื นักวิชาชีพ
สามารถไปทางาน
ในประเทศอาเซียนอืน
่
แรงงานฝีมอ
ื จากอาเซียน
จะเข้ามืทางานในไทยได้
อุตสาหกรรม/ธุรกิจใทย
ขยายตัว
 การจ้างงานเพิม
่ ขึ้น
หากอุตสาหกรรมไทย
แข่งขันไม่ได้ การจ้างงาน
อาจได้รบ
ั ผลกระทบ
การจ้างงานในประเทศ
อาจลดน้อยลง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 48
AEC
โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats)
สาหรับเกษตรกรไทย
ภาษีนาเข้า
เป็นศูนย์หรือลดลง
ตลาดอาเซียน
มีความต้องการมากขึน
้
สาหรับสินค้าเกษตรไทย
ที่มค
ี ณ
ุ ภาพ
ไทยส่งออก
สินค้าเกษตรได้มากขึน
้

อุปสรรคนาเข้า
สินค้าเกษตรหมดไป

เกษตรกรมีรายได้
มากขึน
้
สินค้าเกษตรจากอาเซียน
ที่คณ
ุ ภาพดีกว่า/ราคาถูก
จะเข้ามาแข่งขัน
และแย่งตลาด
หากเกษตรกรไทย
ไม่เตรียมรับมือ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 49
AEC
โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats)
สาหรับผูบ
้ ริโภค/ประชาชนทั่วไปของไทย
ภาษีเป็นศูนย์
การเป็น AEC ทาให้
ผู้ผลิต/ ผู้ให้บริการ
ในประเทศต้องปรับปรุง
เพื่อให้แข่งขันได้
สามารถเลือกซือ
้ สินค้า
นาเข้าจากอาเซียนที่
หลากหลาย / ราคาถูกลง
ทาให้สน
ิ ค้าและบริการ
คุณภาพดีขน
ึ้ ราคาถูกลง
สินค้าไม่ได้คณ
ุ ภาพ
อาจเข้ามาจาหน่าย
หากไม่มก
ี ารควบคุม
ที่เข้มงวดเหมาะสม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 50
่ โอกาส และทีอาจได้
่
นค้า/บริการทีมี
ร ับผลกระท
่ โอกาสในการ
สินค้า/บริการทีมี
แข่งขัน
่ ขอ
สินค้า/บริการทีมี
้ กังวลว่า อาจได้ร ับ
ผลกระทบ
ผลผลิตการเกษตร เช่น ข้าว
โดยเฉพาะข้าวคุณภาพดี-ข้าว
หอมมะลิ น้ าตาลทราย ผลไม้
สด ฯลฯ
้ วน
รถยนต ์และชินส่
่
เครืองใช้
ไฟฟ้าและ
อิเล็คทรอนิ กส ์ คอมพิวเตอร ์และ
้ วน ยางพารา ยางแท่ง ยาง
ชินส่
่
แผ่นรมควัน ผลิตภัณฑ ์สิงทอ
้ าแฟชน
่ ั อาหารสาเร็จรู ป
เสือผ้
อาหารกระป๋ อง วัสดุกอ
่ สร ้าง
สินค้าอุปโภคบริโภค
น้ ามันปาล ์ม (คู แ
่ ข่ง : มาเลเซีย)
เมล็ดกาแฟ (คู แ
่ ข่ง : เวียดนาม)
มะพร ้าว (คู แ
่ ข่ง : ฟิ ลิปปิ นส ์)
เส้นไหม (คู แ
่ ข่ง : เวียดนาม)
เคมีภณ
ั ฑ ์ (คู แ
่ ข่ง : มาเลเซีย สิงคโปร ์)
พลาสติก (คู แ
่ ข่ง : มาเลเซีย สิงคโปร ์)
เหล็ก โลหะ(คู แ
่ ข่ง : อินโดนี เซีย
มาเลเซีย)
ผลิตภัณฑ ์ยา (คู แ
่ ข่ง : ฟิ ลิปปิ นส ์
้ าสาเร็จรู ป
มาเลเซีย อินโดนี เซีย)เสือผ้
(คู แ
่ ข่ง : อินโดนี เซีย เวียดนาม)
ร ้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม
่ ก
ทีพั
51
โทรคมนาคม การเงิน การประก ันภัย
ค้าปลีก ค้าส่ง บริการด้านโลจิสติกส ์
ไทยพร้อมแล้วหรือยัง?
--- เตรียมรุกเตรียมรับ AEC ---
AEC
ภาคเอกชนไทยมีความพร้อมแค่ไหน
1. ระดับความรูค
้ วามเข้าใจของภาคเอกชนไทย
•โดยเฉพาะ SMEs
ไม่รู้ และไม่คด
ิ จะรู้
เป็นกลุ่มใหญ่ที่ยงั ขาด
ความพร้อม และรัฐไม่
รู้ แต่ไม่รเู้ รือ
่ ง เห็นเป็นเรือ
่ งไกลตัว
ควรละเลย
รู้ แต่ไม่รจ
ู้ ะปรับตัวอย่างไร
•ส่วนใหญ่เป็น
รู้ เห็นเป็นโอกาส มีการปรับตัวเชิงรุก
ผู้ประกอบการราย
2. เราจะตัง้ รับอย่างเดียวไม่ได้แล้ว
ใหญ่ที่มค
ี วาม
เอกชนต้องมีการปรับตัวให้รองรับการเปลีย
่ นแปลงจาก พร้อมทั้งเงินทุน
และบุคลากร
AEC
ภาคเอกชนไทยควรเตรียมความพร้อมอย่างไร
เชิงรุก
•
ศึกษา/เสาะหาแหล่งวัตถุดิบที่มีความได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ
•
ศึกษาความเป็นไปได้ในการย้ายฐานการผลิต
•
สร้างมูลค่าเพิ่มและพัฒนา BRAND Thailand ให้เป็นที่ยอมรับ
•
สร้างพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศอาเซียนอื่น เพื่อใช้ประโยชน์จาก
ความได้เปรียบในการแข่งขันของหุ้นส่วนในพันธมิตร
เชิงร ับ
•
เรียนรู้คู่แข่ง (จุดอ่อน-จุดแข็ง) ทั้งในประเทศและอาเซียนอื่น
•
ศึกษารสนิยมและแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคสินค้าและ
บริการ
•
ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตสินค้า/การให้บริการ (ต้นทุนและ
คุณภาพ)
•
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร
ภาคร ัฐไทยควร
ปราใจับตัวอย่
รับรู้ สร้างความเข้
ข้อมูล AEC างไร
 วิเคราะห์ผลกระทบ ทั้งบวกและลบ
 กาหนดยุทธศาสตร์รองรับ การเปลีย
่ นแปลง
 สร้างความเข้าใจ การรับรูส
้ ป
ู่ ระชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะ
กลุ่มผลกระทบ เพื่อปรับตัว
 ขยายผล สาหรับกลุม
่ ที่มีโอกาส ใช้จุดแข็งทีม
่ ี
 พัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเปลีย
่ นแปลง
 ปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่เกีย
่ วข้อง เพื่อประโยชน์ของ
ประเทศ
 สร้างเครือข่ายร่วมภาครัฐ เอกชน เพื่อร่วมดาเนินการ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ยุทธศาสตร์การ
สร้างความเชือ
่ มโยงกับประเทศในภูมภ
ิ าค
เพื่อความมัน
่ คงทางเศรษฐกิจและสังคม
่
แนวทางการพัฒนาเพือสร
้างความพร ้อมในการเข้าสู ่ประชาคมอาเซียน
•(1)
•เตรียม
•ความพร ้อม
•ธุรกิจไทย
•(2)
•เตรียม
•ความพร้อม
•แรงงานไทย
•(3)
•เตรียม
•ความพร้อม
•สินค้า/บริการ
ไทย
•พัฒนาความร่วมมือระหว่าง
ภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน
ที่มีศักยภาพ โดยเสริมสร้าง
ความรู้ ความเข้าใจ ในเรือ
่ ง
ประชาคมอาเซียน
(กฎระเบียบ ข้อตกลง ภาษา
ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม)
•เสริมสร้างความเข้มแข็งให้
สถาบันการศึกษาทัง้ ของรัฐ
และเอกชนให้มม
ี าตรฐานเป็น
ที่ยอมรับในระดับสากล
ตลอดจนการยกระดับทักษะ
ฝีมือแรงงาน (ภาษา
ขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรม)
•กาหนดมาตรฐานขัน
้ พืน
้ ฐาน
ของคุณภาพสินค้าและบริการ
ตลอดจนการกาหนดระบบ
บริหารจัดการร่วมด้านการ
พัฒนาทักษะและด้าน
คุณสมบัติของแรงงานนาเข้า
เพื่อให้ได้แรงงานที่มค
ี ณ
ุ ภาพ
และตรงกับความต้องการ
สาหรับทุกประเทศ
มาตรการรองรับผลกระทบจาก AEC
57
มาตรการรองรับผลกระทบจาก AEC
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถการ
แข่งขันของประเทศ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์)
กองทุนให้ความช่วยเหลือเพือ
่ การปรับตัวของภาคการผลิตและภาค
บริการทีไ
่ ด้รบ
ั ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า
(กระทรวงพาณิชย์) (กองทุน FTA)
มาตรการปกป้องจากการนาเข้าสินค้าทีเ่ พิม
่ ขึน
้ มาก
(Safeguard Measure)
มาตรการบริหารการนาเข้าสินค้าเกษตร
58
•บทบาทกระทรวงพาณิ ชย ์
•กระทรวงพาณิ ชย ์พร ้อมให้การสนับสนุ นและอานวยความสะดวก
•โดยการทางานร่วมกัน
•ลู ่ทางการค้าและการลงทุน
•กรมส่งเสริมการส่งออก (สอ.) www.
depthai.go.th
•สายด่ส
วน
center
: 1169, 0•การใช้
ท
ิ ธิCall
ประโยชน์
และมาตรการ
2507-8424
รองร ับผลกระทบกรมการค้
า
ต่างประเทศ (คต.) www.dft.go.th
•สายด่
นนาผู
Callป
1385,
0•การพัวฒ
้ Center:
ระกอบการ
SMEs
2547-4855
•กรมพัฒนาธุ
รกิจการค้า (พค.)
www.dbd.go.th
่ Center
•ความรู
้เกียวก
บ
ั ข้อตกลง
และ0•สายด่
วน Call
: 1570,
พัน2528-7600
ธกรณี ของไทย
•กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
(จร.) www.dtn.go.th
www.thailandaec.com โทร : O2507-7555
ขอบคุณ
One Vision
One Identity
One Community