คุณนรา รัตนรุจ

Download Report

Transcript คุณนรา รัตนรุจ

แรงงานไทยกับการเข้ าส่ ู ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
นรา รัตนรุจ
10 มกราคม 2557
ภาคเอกชนไทยมีความพร้อมแค่ไหน
1. ระดับความรูค้ วามเข้าใจของภาคเอกชนไทย
• ไม่รู ้ และไม่คดิ จะรู ้
• รู ้ แต่ไม่รูเ้ รือ่ ง เห็นเป็ นเรือ่ งไกลตัว
• รู ้ แต่ไม่รูจ้ ะปรับตัวอย่างไร
• รู ้ เห็นเป็ นโอกาส มีการปรับตัวเชิงรุก
2.
เราจะตัง้ รับอย่างเดียวไม่ได้แล้ว
เอกชนต้องมีการปรับตัวให้รองรับ
การเปลี่ยนแปลงจาก AEC
โดยเฉพาะ SMEs เป็ นกลุม่ ใหญ่
ทีย่ งั ขาดความพร้อม และรัฐไม่
ควรละเลย
ส่วนใหญ่เป็ นผูป้ ระกอบการ
รายใหญ่ทมี่ ีความพร้อมทัง้
เงินทุนและบุคลากร
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
MODERNIZATION = ทันสมัย
WITH แต่
OUT ไม่
DEVELOPMENT = พัฒนา
องค์ การการค้ าระหว่ างประเทศ
GATT :
General Agreement on Tariffs & Trade
(ข้อตกลงทัว่ ไปว่าด้วยภาษีศุลกากร และการค้า)
GATS :
General Agreement on Trade in service
(ข้อตกลงทัว่ ไปว่าด้วยการค้าบริ การ)
GATT : General Agreement on Tariffs & Trade
• ก่อตัง้ ปี 2490 ค.ศ. 1947 สมาชิกเริม่ แรก 23 ประเทศ ปั จจุบนั เป็ น 123 ประเทศ
• เป็ นข้อตกลง : ประกอบด้วยข้อลดหย่อนภาษีศลุ กากร ในภาคีสมาชิกที่ตกลง และกฎการค้า
ในร่างสนธิสญั ญา (The International Trade Organization : ITO) องค์การการค้า
ระหว่างประเทศ
• เพือ่ ป้องกันไม่ให้มีการใช้มาตรการจากัดการค้า ในการบิดเบือนข้อลดหย่อนภาษีศลุ กากร
ระหว่างกัน
• มีสานักงานเลขาธิการแกตต์ (GATT Secretariats) ทาหน้าที่ควบคุมบริหารงานทัว่ ไป
กรณีภาคีไม่ปฏิบตั ิตามข้อตกลง มีบทบัญญัติให้ประเทศผูเ้ สียหายจากการกีดกันอืน่ ๆ หารือ
กับคู่กรณีเพือ่ ให้ปฏิบตั ิให้ถูกต้องตามข้อตกลงได้ และชดใช้ส่วนที่เสียหายคืน
 เป็ นความตกลงใน GATT ฉบับหนึ่ งจาก 40 ฉบับในการเจรจา
การค้าพหุภาคี รวมอุรุกวัย ซึ่งในเวลา 7 ปี
มีขอ้ ตกลง Marrakesh Agreement Establishing The World
Trade Organization.
ความตกลงฉบับนี้ เป็ นกรอบว่ากฎและหลักการที่เกี่ยวกับการค้า
บริ การ GATS ระหว่างประเทศสมาชิก GATT
ประเทศไทยยังเข้ าร่ วมกับกลุ่มประเทศต่ างๆ ทีม่ บี ทบาท
ทางเศรษฐกิจอีกหลายกลุ่ม คือ
1. กลุ่มเอเปค (Asia – Pacific Economic Corporation : APEC)
2. กลุ่มนาฟต้ า (North America Free Trade Area : NAFTA)
3. กลุ่มสหภาพยุโรป (European Union : EU)
4. กลุ่มอาเซ็ม (Asia – Europe Meeting - Asean : ASEM)
Association of Southeast Asian Nations : ASEAN
หมายถึ ง สมาคมประชาชาติ แห่ งเอเซี ยตะวันออกเฉี ยงใต้
เรี ยกย่อ ๆ ว่า อาเซียน เป็ นองค์กรที่ถือกาเนิดตามปฏิญญากรุ งเทพ ฯ
(Bangkok Declaration)ของผูน้ าประเทศเอเซี ยตะวันออกเฉี ยงใต้
5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซี ย มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ และไทย
ที่ จ ะให้ มี ก ารรวมกลุ่ ม และร่ วมมื อ กัน เสริ มสร้ า งให้ ภู มิ ภ าคมี
สั น ติ ภ าพอั น น ามาซึ่ งเสถี ย รภาพทางการเมื อ ง และความ
เจริ ญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
วิวฒ
ั นาการทางเศรษฐกิจของอาเซียน Building Blocs of ASEAN Integration
2510
Bangkok Declaration
ASEAN
2535
CEPT-AFTA Agreement on the Common Effective
2538
AFAS ASEAN Framework Agreement on Services
2539
AICO ASEAN Industrial Cooperation Scheme
2541
AIA Framework Agreement on the ASEAN Investment Area
ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit
2550
ASEAN Charter
ASEAN Community
+ Declaration on AEC Blueprint
2552
ATIGA ASEAN Trade in Goods Agreement
2554
ACIA ASEAN Comprehensive Investment Agreement
Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area
วัตถุประสงค์ ของอาเซียน
ส่ งเสริมความเข้ าใจอันดีระหว่ างประเทศสมาชิก
 ธารงสั นติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงในภูมภ
ิ าค


เสริมสร้ างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกนิ ดีของประชาชนในภูมิภาค

ส่ งเสริมความร่ วมมือในด้ านต่ างๆ เช่ น เศรษฐกิจ สั งคม วัฒนธรรม
วิชาการ วิทยาศาสตร์ และการบริหาร

ส่ งเสริมความร่ วมมือกับภายนอก และองค์ การระหว่ างประเทศต่ างๆ
หลักการพืน้ ฐานของอาเซียน
 การตัดสิ นใจโดยใช้ ฉันทามติ (Consensus)
 การไม่ แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน
(Non-interference)
 การร่ วมมือเพือ่ พัฒนาความเป็ นอยู่ของประชาชน
(Prosperity)
ความสาคัญของอาเซียน
Indicators (2009)
ประชากร
GDP
Total Trade
FDI
Tourists
ที่มา : ASEAN Secretariat
ASEAN
590 ล้ านคน
1,499.4 bl.USD
2.14% of world GDP
1,536.8 bl.USD
39.6 bl.USD
65.4 ล้ านคน
Thailand
67 ล้ านคน
264.3 bl.USD
0.38% of world GDP
286.3 bl.USD
6.0 bl.USD
14.1 ล้ านคน
ความหมายของตราสั ญลักษณ์ อาเซียน
สี นา้ เงิน สั นติภาพและความมัน่ คง
สี แดง ความกล้ าหาญและก้ าวหน้ า
สี เหลือง ความเจริญรุ่งเรือง
สี ขาว ความบริสุทธิ์
รวงข้ าว 10 ต้ น คือ 10 ประเทศรวมกันเพือ่ มิตรภาพและความเป็ นนา้ หนึ่งใจเดียว
วงกลม แสดงถึงความเป็ นเอกภาพ
วันอาเซียน 8 สิ งหาคม
ASEAN (Association of South East Asian Nations)
อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ปี 2540
ปี 2540
ปี 2510
ปี 2538
ปี 2510
ปี 2510
CAMBODIA
ปี 2542
ปี 2510
ปี 2510
ปี 2527
ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน : AEC
ทำไมต้องเป็ น AEC
AEC คืออะไร
ASEAN Economic Community
เป็ นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซี ยน
โดยมีเป้ าหมายเพื่อส่ งเสริ มอาเซี ยให้เป็ นตลาดและฐานผลิตเดียว
มี การเคลื่ อนย้ายสิ นค้า บริ การ และการลงทุน แรงงานฝี มื อ และ
เงิ นทุนอย่างเสรี ภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) และได้กาหนด
ยุทธศาสตร์สาคัญ 4 ด้านคือ
AEC = Common Market
1) การเป็ นตลาดเดี ย วและฐานการผลิ ต ร่ ว มกัน ให้ มี ก าร
เคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน แรงงานฝี มือและเงินทุนอย่างเสรี
2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของ
อาเซี ยนโดยส่ งเสริ มกรอบนโยบายด้านเศรษฐกิ จที่สาคัญ เช่น กรอบ
นโยบายการแข่งขันของอาเซียน สิ ทธิในทรัพย์สินทางปั ญญา นโยบาย
ภาษี และการพัฒ นาโครงสร้ า งพื้ นฐาน (การขนส่ ง และเทคโนโลยี
สารสนเทศ) เป็ นต้น
AEC = Common Market
3) การพัฒ นาเศรษฐกิ จ อย่า งเสมอภาค เพื่ อ ลดช่ อ งว่ า งการ
พัฒนาระหว่างประเทศสมาชิ ก โดยการสนับสนุ นการพัฒนาวิสาหกิ จ
ขนาดกลางและขนาดย่อม และส่ งเสริ มโครงการต่าง ๆ ภายใต้กรอบการ
ริ เริ่ มการรวมกลุ่มของอาเซียน เป็ นต้น
4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิ จโลก เน้นการปรั บประสาน
นโยบายเศรษฐกิจของอาเซี ยนที่มีต่อประเทศภายนอกภูมิภาค เช่น การ
จัดทาเขตการค้าเสรี และการสร้ างเครื อข่ายด้านการผลิ ตและจาหน่ าย
เป็ นต้น
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ชุมชนอาเซียน
ปี 2558 (2015)
ประชาคม
เศรษฐกิจ
อาเซียน
(AEC)
ประชาคม
ความมัน่ คง
อาเซียน (ASC)
ประชาคม
สังคม-วัฒนธรรม
อาเซียน
(ASCC)
พิมพ์เขียว AEC
(AEC Blueprint)
One Vision
One Identity
One Community
โครงสร้ างอาเซียนใหม่ ภายใต้ กฎบัตรฯ
Roadmap for ASEAN Community 2009-2015
ประชาคมอาเซียน
ภายในปี 2558
ประชาคม
การเมือง
ความมัน่ คง
ASEAN PoliticalSecurity Community
ประชาคม
เศรษฐกิจ
ASEAN Economic
Community
ประชาคมสั งคม
วัฒนธรรม
ASEAN SocioCultural
Community
ภาคประชาสั งคม
AIPA, CSO,
ABAC+
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
2015 (2558)
ประกอบด้ วย 3 เสาหลัก คือ
เสาหลักด้ านประชาสั ง คมและวัฒ นธรรม (ASEAN
SocioCultural Community-ASCC) : ซึ่งมีเป้ าหมายให้อาเซียนเป็ นประชาคมที่
มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปั น ประชากรอาเซี ยน
มีสภาพความเป็ นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน ส่ งเสริ มการให้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน รวมทั้ง
ส่ งเสริ มอัตลักษณ์ของอาเซียน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
เป้าหมาย: เพื่อให้เป็ นสังคมเป็ นเอกภาพ เอื้ ออาทรต่อกัน มีความเป็ นอยูท่ ี่ดี
พัฒนาทุกด้าน และมีความมัน่ คงทางสังคม โดย
การพัฒนามนุษย์
การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
ความยุตธิ รรมและสิทธิ
ส่ งเสริมความยั่งยืนด้ านสิ่งแวดล้ อม
การสร้างอัตสักษณ์อาเซียน
22
เน้นการบูรณาการด้านการศึกษา สร้างสังคมความรู ้ พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์
ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริม ICT การเข้าถึงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
ขจัดความยากจน สร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริมความ
มัน่ คงและความปลอดภัยด้านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ
คุม้ ครองสิทธิผดู้ อ้ ยโอกาส แรงงานย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคมองค์กรธุรกิจ
การจัดการปั ญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ปั ญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม
ข้ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
สร้างความรูส้ ึกเป็ นเจ้าของ อนุ รกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน
ส่งเสริมการสร้างสรรค์ดา้ นวัฒนธรรม ลดช่องว่างด้านการพัฒนา
ความร่ วมมือทีเ่ กีย่ วข้ องกับด้ านแรงงานในเสาหลักทีห่ นึ่ง
ความร่ ว มมื อ ด้า นแรงงานได้มี ก ารระบุ ไ ว้อ ย่า งชัด เจนในพิ ม พ์เ ขี ย ว ประชาคมสั ง คมและวัฒ นธรรม (ASCC
Blueprint) ในหมวดดังต่อไปนี้
A การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development)
A2 การลงทุนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
A3 การส่ งเสริ มงานที่มีคุณค่า
A6 การเสริ มสร้างทักษะการเป็ นผูป้ ระกอบอาชีพให้แก่สตรี เยาวชน ผูส้ ู งอายุ และผูท้ ุพพลภาพ
B การคุ้มครองและสวัสดิการสั งคม (Social Welfare and Protection)
B2 เครื อข่ายทางสังคมและการคุม้ ครองจากผลกระทบของการบูรณาการและกระแสโลกาภิวตั น์
C สิ ทธิและความยุติธรรมทางสั งคม (Social Justice and Rights)
C2 การคุม้ ครองและส่ งเสริ มสิ ทธิของแรงงานย้ายถิ่น
ความร่ วมมือทีเ่ กีย่ วข้ องกับด้ านแรงงานในเสาหลักทีส่ อง
เสาหลัก ด้ า นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซี ย น (ASEAN
Community-AEC)
Economic
ซึ่ งมีจุดมุ่งหมายหลัก คื อ การนาอาเซี ยนไปสู่ การเป็ นตลาดและฐานการผลิตร่ วมกัน (Single Market and
Production Base) ภายใต้หลักการดังกล่าว อาเซียนจะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี ใน 5 สาขา ประกอบด้วย 1) สิ นค้า 2) บริ การ 3)
การลงทุน 4) แรงงานฝี มือ 5) เงินทุน
ความร่ วมมือด้านแรงงานได้มีการระบุไว้อย่างชัดเจนในพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจ (AEC Blueprint) ใน
หมวดดังต่อไปนี้
A2 การเคลื่อนย้ ายธุรกิจบริการเสรี (Free flow of service) ซึ่ งประเทศสมาชิกอาเซี ยนจะต้องอนุญาตให้ ผู ้
ประกอบกิจการ การบริ การของอาเซี ยนเข้ามาทาธุ รกิจ และในปี พ.ศ. 2558 สมาชิ กอาเซี ยนสามารถมีสัดส่ วนการถือหุ น้ ได้ถึง
ร้อยละ 70
A5 การเคลือ่ นย้ ายแรงงานฝี มือเสรี (Free flow of skilled labour) ซึ่ งอยูภ่ ายใต้การเจรจาเรื่ องการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา
(Movement of Natural Persons) และเป็ นเรื่ องของบุคลากรวิชาชี พที่ตอ้ งมีการจัดทาข้อตกลงร่ วมกัน (Mutual Recognition
Arrangement : MRA) ซึ่ งเป็ นการยอมรับคุณสมบัติในการมีใบอนุญาตทางานในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยน ซึ่ งภายในปี 2015
จะมีการเคลื่อนย้ายเสรี ใน 7 สาขาวิชาชี พ ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิ ก วิศวกร บัญชีและช่ างสารวจ ส่ วนสาขา
วิชาชีพ/อาชีพอื่น จะทยอยให้มีการเคลื่อนย้ายเสรี ต่อไปในอนาคต
ความร่ วมมือทีเ่ กีย่ วข้ องกับด้ านแรงงานในเสาหลักทีส่ าม
เสาหลักด้ านประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEN Political and
Security Community – APSC)
ซึ่ ง มี ว ัต ถุ ป ระสงค์ห ลัก เพื่ อ สร้ า งค่ า นิ ย มและแนวปฏิ บัติ ร่ ว มกัน ของอาเซี ย นในด้า นต่ า งๆ เสริ ม สร้ า งขี ด
ความสามารถของอาเซี ยนในการเผชิญกับภัยคุกคามความมัน่ คงทั้งในรู ปแบบเดิมและรู ปแบบใหม่ บนพื้นฐานของหลักการว่า
ด้วยความมัน่ คงของมนุษย์ และให้ประชาคมอาเซียนมีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้ นและสร้างสรรค์กบั ประชาคมโลก โดยให้อาเซียนม
บทบาทนาในภูมิภาค
ความร่ วมมือด้านแรงงานเป็ นเพียงการสนับสนุ น เพื่อสร้างให้เกิดความมัน่ คงในภูมิภาคอาเซี ยน ได้แก่ เรื่ อง
การค้ามนุษย์ (การลักลอบเข้ามาทางานของแรงงานต่างด้าว) และยาเสพติด เป็ นต้น
แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC Blueprint
27
4 เป้ าหมายภายใต้ AEC Blueprint
เพื่อประสานกลายเป็ นหนึ่งเดียว คือ
1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี
เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี
เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี
อาเซียน
2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน
AEC
เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
สนับสนุ นการพัฒนา SMEs
ลดช่องว่างการพัฒนา IAI
การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE
ปี 2015
นโยบายการแข่งขัน
การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค
สิทธิในทรัพย์สนิ ทางปั ญญา
โครงสร้างพื้นฐาน
นโยบายภาษี
e-ASEAN
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร้างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
1. อาเซียนจะกลายเป็ นตลาดร่วมอย่างสมบูรณ์
สินค้า
ภาษีนาเข้าเป็ นศูนย์/อุปสรรคนาเข้า
ระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป
บริการ
ทาธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี
การลงทุน
การลงทุนในอาเซียนทาได้อย่างเสรี
แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือเสรี
เงินทุน
การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรียงิ่ ขึ้ น
ความร่วมมือ ความมัน่ คงด้านอาหาร เกษตร ป่ าไม้
ตลาด 10 ประเทศรวมเป็ นหนึ่ ง
แผนงานใน AEC Blueprint
เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี
4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี

อานวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทางาน

ทาข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก

ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา
สาขาวิศวกรรม
สาขานักบัญชี
สาขาแพทย์
สาขาพยาบาล
สาขาทันตแพทย์
สาขานักสารวจ
สาขาสถาปัตยกรรม
การเคลือ่ นย้ ายแรงงานเสรี
เฉพาะแรงงานฝี มือเท่ านั้น เริ่มต้ นที่ 7 อาชีพ
พยาบาล
วิศวกรรม
แพทย์
สถาปัตยกรรม
ทันตแพทย์
นักสารวจ
นักบัญชี
จะเกิดอะไรขึ้นใน AEC 2015
อาเซียนจะกลายเป็ นตลาดร่วม
อาเซียนสามารถถือหุน้ ได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน
“การเปลี่ยนแปลงเกิด
อาเซียนดึงดูดการลงทุนจากทั ่วโลก
จากผลการดาเนินการ
อานวยความสะดวกในการดาเนินธุรกิจระหว่างประเทศ อย่างค่อยเป็ นค่อยไป
มีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็ นระบบ AEC ไม่ได้ทาให้เกิด
ความเปลี่ยนแปลง
พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง
ในทันที แต่เป็ น work in
เศรษฐกิจอาเซียนบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
progress และเป็ น
ขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนเพิ่มสูงขึ้น milestone”
มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน
สรุป...
อาเซียนจะกลายเป็ น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 (2015)
ไทยจะเป็ นส่ วนหนึ่งของตลาดและฐานการผลิตร่ วมของอาเซียน
ภาษีนาเข้ าจะเป็ นศูนย์ ในอาเซียน-6 ณ 1 มค 2553
ใน CLMV
ณ 1 มค 2558
จะไปทาธุรกิจภาคบริการ หรื อไปลงทุนในอาเซียนอื่นๆได้ อย่ างเสรี
ขณะเดียวกัน ไทยจะต้ องเปิ ดเสรี ถงึ 70% ในปี 2558
สิ่งแรกคือ ต้ องให้ ทกุ ภาคส่ วนตระหนัก(รู้ ) แต่ อย่ า(ตื่น)ตระหนก
ผลที่จะเกิดขึน้ มีทงั ้ ได้ และเสีย ต้ องกระตุ้น ต้ องปรั บตัว แนะการเตรี ยมตัวรั บมือ ให้ กับผู้ท่ อี าจเสีย/ได้ รับผลกระทบ แนะ
ลู่ทางการใช้ ประโยชน์ ให้ กับผู้ท่ จี ะได้ ประโยชน์ ให้ ทกุ ภาคส่ วนที่เกี่ยวข้ อง
ควรแนะให้ ภาคเอกชนใช้ ยุทธศาสตร์ เชิงรุ ก มากกว่ าคิดแต่ จะรั บ
ไทยอยูต่ รงไหน?? ในอาเซียน
Indicators
ASEAN
Thailand
598 ล้านคน
67 ล้านคน
GDP
(ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ)
1,858 พันล้านUSD
2.4% ของ GDP โลก
318 พันล้านUSD
0.4% ของ GDP โลก
การค้ารวม (ส่งออก+นาเข้า)
2,045 พันล้านUSD
385 พันล้านUSD
76.2 พันล้านUSD
6.3 พันล้านUSD
73 ล้านคน
15 ล้านคน
ประชากร
การลงทุนจากต่างประเทศ (FDI)
จานวนนักท่องเที่ยว
Note: Latest available data in Year 2010
Source: ASEAN Secretariat Database
การจัดอันดับศักยภาพการแข่งขันของไทยในอาเซียน
IMD: ASEAN Overall & Factor Benchmarking 2012
Singapore
Overall
Economic
Performance
Government
Efficiency
Business
Efficiency
Infrastructure
Malaysia Thailand
Indonesia
Philippines
4
9
16
10
27
15
37
32
41
42
2
13
26
28
32
2
6
23
35
26
8
26
49
56
55
Source: TMA (Thailand Management Association)
ศักยภาพของไทยในอาเซียน
ประเทศ
GDP
ประเทศ
Export
ประเทศ
FDI
1. อินโดนีเซีย
546,527.0 1. สิงคโปร์
269,832.5 1. สิงคโปร์
16,256.2
2. ไทย
264,322.8 2. ไทย
174,966.7 2. เวียดนาม
7,600.0
3. มาเลเซีย
193,107.7 3. มาเลเซีย
156,890.9 3. ไทย
5,956.9
4. สิงคโปร์
182,701.7 4. อินโดนีเซีย
152,497.2 4. อินโดนีเซีย
4,876.8
5. ฟิ ลิปปิ นส์
161,357.6 5. เวียดนาม
56,691.0 5. ฟิ ลิปปิ นส์
1,948.0
6. เวียดนาม
96,317.1 6. ฟิ ลิปปิ นส์
38,334.7 6. มาเลเซีย
1,381.0
7. พม่ า
24.972.8 7. บรู ไน
7,168.6 7. พม่ า
578.6
8. บรู ไน
14,146.7 8. พม่ า
6,341.5 8. กัมพูชา
530.2
9. กัมพูชา
10,368.2 9. กัมพูชา
4,985.8 9. ลาว
318.6
1,237.2 10. บรู ไน
176.8
10. ลาว
5,579.2 10. ลาว
ที่มา : ASEAN Secretariat, สถิตปิ ี 2009
โครงสร้างแรงงานอาเซียน
โครงสร้างแรงงานอาเซียน 2010 จาแนกตามสาขา
ที่มา: ILO 2010
สัดส่วนการจ้างงานในอาเซียน จาแนกตามอาชีพ
ที่มา: ASEAN Statistic Database
สัดส่ วน: เปอร์ เซนต์
สัดส่วนแรงงาน และ ค่าแรงขั้นต ่าของสมาชิกอาเซียน
อัตราการว่างงานจาแนกรายประเทศอาเซียน
ที่มา: tradingeconomics.com, Bank of Thailand
พันธกรณีของไทยกับอาเซียน
กรณี : การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี
ASEAN :กับเงื่อนไขการเคลือ่ นย้ ายแรงงานเสรีใน AEC.
GATT
General Agreement on Tariffs and Trade ด้ านการค้ า
บริการ
AEC
FREE Flows of Skills Labour
ภายใต้ MRA : Mutual Recognition Agreement
GATS
FRIF : Flows of Trade in Services
General Agreement on Trade in Services
AFAS : ASEAN Framework Agreement on
Services
ี นต่อความต ้องการ
ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซย
แรงงาน
ต ้องการแรง
ี น/
งานอาเซย
ตปท
กิจการในประเทศ
เพิม
่ การสง่ ออก/
ลดต ้นทุน
การเคลือ
่ นย ้าย
ิ ค ้าเสรี
สน
เพิม
่ การ
ผลิตเพือ
่
สง่ ออก
กิจการ
ี นในไทย
อาเซย
การเคลือ
่ นย ้าย
บริการเสรี
การย ้ายการ
ลงทุนเสรี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ต ้องการ
แรงงานใน
ประเทศ
กิจการไทย
ี น
ไปอาเซย
การย ้าย
แรงงาน
ฝี มือเสรี
44
ต ้องการ
แรงงานไทย/
ี น
อาเซย
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเคลือ่ นย้ายแรงงานฝี มือ
AEC Blueprint
 เจตนารมณ์ของ AEC Blueprint คือการเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือโดย
เสรี(ทุกอาชึพ)เพื่อวัตถุประสงค์ของตลาดและฐานการผลิตเดียวอาเซียน (หรือ
การค้า/การลงทุนเสรี)(เริม่ จาก 7 วิชาชีพ)
 ไม่เจรจาผูกพันบุคคลต่างชาติทเี่ ดินทางเข ้ามา
ั ชาติ
เพือ
่ หางานทา (Job seekers) การขอสญ
ถิน
่ ทีอ
่ ยู่ หรือการจ ้างงาน ทีเ่ ป็ นการถาวร
้
 ไม่ห ้ามการใชมาตรการที
จ
่ าเป็ นต่อการกากับดูแล
การเข ้าเมืองของบุคคลต่างชาติ ทัง้ นีต
้ ้องไม่
กระทบผลประโยชน์ทไี่ ด ้จากข ้อผูกพันทีม
่ ี
46
MRAs: Mutual Recognition Arrangements
(ข ้อตกลงยอมรับร่วมกัน)
ี น ฉบับที่ 2 (Bali
 ตามปฏิญญาว่าด ้วยความร่วมมือในอาเซย
ี น ครัง้ ที่ 9 วันที่ 7
Concord II) จากการประชุมสุดยอดอาเซย
ี ได ้กาหนดให ้จัดทา
ตุลาคม 2546 ณ เกาะบาหลี อินโดนีเซย
ข ้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs)
ี หลัก เพือ
ด ้านคุณสมบัตใิ นสาขาวิชาชพ
่ อานวยความสะดวกใน
ี หรือแรงงานเชย
ี่ วชาญ หรือผู ้มี
การเคลือ
่ นย ้ายนักวิชาชพ
ี นได ้อย่างเสรี
ความสามารถพิเศษของอาเซย
 การเคลือ
่ นย ้ายแรงงานเสรีดงั กล่าว เป็ นการเคลือ
่ นย ้ายเฉพาะ
แรงงานฝี มอ
ื และต ้องมีคณ
ุ สมบัตต
ิ ามมาตรฐานทีก
่ าหนด ไว ้ใน
ี น
ข ้อตกลงยอมรับร่วมกัน (MRAs) ของอาเซย
47
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อตลาดแรงงานของไทย
จากการเปิ ดตลาดการเคลื่อนย้ายบุคคลระหว่างประเทศ
By Inflows
 การเปิ ดตลาดโดยมุ่งเน้นที่บุคคลและ
แรงงานระดับสูง (High skills) รวมถึงนัก
ธุรกิจ และนักลงทุน จะเป็ นส่วนสาคัญต่อ
การพัฒนาเศรษฐกิจและการจ้างงานของ
ไทย
 ไทยไม่มีนโยบายเปิ ดตลาดแรงงาน
ระดับกลาง-ล่าง (Semi-low skills)
ดังนั้นจึงไม่กระทบตลาดแรงงานส่วนใหญ่
ของไทย
By Outflows
 การเจรจาเปิ ดตลาดแลกเปลี่ยน
ผลประโยชน์ระหว่างกันจะเป็ นการเปิ ด
โอกาสเพิ่มขึ้ นให้กบั แรงงานของไทย
สามารถไปทางานยังต่างประเทศได้
พันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆ
2. Intra-corporate transferees
ผูโ้ อนย้ายภายในกิจการระหว่างประเทศ
คุณสมบัตข
ิ องบุคคล
 บุคคลระดับ Managers, Executives, Specialists
 ได ้รับการจ ้างงานในบริษัททีเ่ กีย
่ วข ้องมาไม่น ้อย
กว่า 1 ปี
ระยะเวลาอนุญาตพานัก
 1 ปี และอาจต่ออายุได ้อีก 2 ครัง้ โดยต่อได ้ครัง้ ละ
1 ปี
กฎระเบียบอนุญาตทางานของไทย
 ต ้องผ่านหลักเกณฑ์ Management needs
กาหนดโดยกรมการจัดหางาน ได ้แก่ 1. ขนาดของ
ทุนจดทะเบียนชาระแล ้ว 2. การจ ้างงาน 3. ขยาย
การลงทุนจากต่างชาติ 4. สง่ เสริมการสง่ ออก 5.
การถ่ายทอดเทคโนโลยี และ 6. Special needs
of the management
49
บริการวิชาชีพ
บริการกฎหมาย
บริการบัญชี ตรวจสอบบัญชี
บริการด้านภาษี
สถาปั ตยกรรม
สถาปั ตยกรรมผังเมือง/ภูมิสถาปั ตยกรรม
วิศวกรรม
วิศวกรรมแบบครบวงจร
แพทย์และทันตแพทย์
สัตวแพทย์
กายภาพบาบัด พยาบาล ผดุงครรภ์ ปฐมพยาบาล
บริการวิชาชีพอื่นๆ
50
พันธกรณีของไทยในอาเซียนและเวทีระหว่างประเทศอื่นๆ
ผูเ้ ข้ามาติดต่อธุรกิจ
คุณสมบัตข
ิ องบุคคล
 บุคคลธรรมดาทั่วไป
ระยะเวลาอนุญาตพานั ก
 90 วัน
วัตถุประสงค์ของการเดินทางเข ้ามา
 เข ้าร่วมประชุมและติดต่อธุรกิจ
ั ญาซอ
ื้ -ขายบริการ
 ตกลงสญ
 เยีย
่ มเยียนธุรกิจ และกิจกรรมอืน
่ ๆที่
ใกล ้เคียง
1. Business
Visitors
การขาดแคลนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในอาเซียน
การขาดแคลนนักวิชาชีพด้านสาธารณสุขในประเทศไทย
ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข
Inflows
เอกชน
จ้างแรงงานต่างด้าว
ประชาชนกระทบ
หรือไม่
กระทรวงแรงงาน/
มหาดไทย
หลักการ
ไม่เลือกปฏิบตั ิ
กระทรวงสาธารณสุข
สานักงาน
ประกันสังคม
กรมพัฒนาฝี มือ
แรงงาน
บริการสาธารณะอืน่
ๆ
รักษาพยาบาล
ป้ องกันโรค
เก็บเงินเข้ากองทุนจากแรงงานไทย ต้องเก็บต่างด้าวหรือไม่ จ่ายชดเชยตาม พรบ.
ทัง้ คนไทย / ต่างด้าวหรือไม่
พัฒนาแรงงานไทย ให้ได้ระดับดี แรงงานต่างด้าวด้วยหรือไม่
รถขนส่ง เป็ นต้น
การเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียน
 การเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าเมืองถูกกฎหมายเพื่อทางาน ตามกฎหมายไทย มี 2 แบบหลักๆ
 ตามการลงทุน/การค้า (มาตรา 12 : BOI or FDI)
 การหางานทา (มาตรา 9: ทัว่ ไป ตลอดชีพ MOU)
 (การเคลือ่ นย้ายออกขึ้นกับกฎหมายประเทศปลายทางและกฎระเบียบกระทรวงแรงงาน)
 แรงงานทัง้ ไทยและอาเซียน มี 2 ระดับ
 แรงงานฝี มือ (Skilled workers)
 แรงงานระดับล่าง (Unskilled)
 เป้ าหมายของการเคลื่อนย้ายแรงงาน AEC 2558 จากัดอยูท่ ่ี
 บุคคลธรรมดา/นักธุรกิจ (Mode 4) ไม่ผกู พันคนหางานทาทัว่ ไป
 แรงงานฝี มือ/ระดับวิชาชีพ(ใน 7 สาขาวิชาชีพ + การท่องเทีย่ ว/โรงแรม)
55
แรงงานอาเซียนในประเทศไทย
 แรงงานฝี มือและระดับวิชาชีพปัจจุบนั ยังค่อนข้างน้อย (14,313คน หรือ ร้อยละ 13-14 ของ
แรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายทัง้ หมด* แยกเป็ น มาตรา 9 จานวน 12,303 คน และมาตรา 12 จานวน
2,010 คน)
 ระดับล่างจาก CLM ไม่ตา่ กว่า 3 ล้านคน
56
ไทยสามารถนาจุดแข็งจุดอ่อนมา
ปรับใช้ให้เป็ นประโยชน์กบั ประเทศ
จุดแข็ง
57
จุดอ่อน
ภูมิศาสตร์ที่ได้เปรียบ ศูนย์กลาง
เชือ่ มโยงเพือ่ นบ้านและใกล้เคียง
ขาดปั จจัยทางการพัฒนา เช่น
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม
การวิจยั
ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์
เศรษฐกิจค่อนข้างมัน่ คง ตลาดเงิน
เป็ นที่ยอมรับ
นโยบายภาครัฐขาดความต่อเนือ่ ง
ปั ญหาการเมือง
ภาคเอกชน/อุตสาหกรรม มีการ
รวมตัว/เข้มแข็ง เช่น ยานยนต์
อัญมณี ท่องเที่ยว
มาตรฐานสินค้า/บริการยังไม่เป็ นที่
ยอมรับจากสากล
แรงงานมีศกั ยภาพในสาขาวิชาชีพ
ค่าจ้างถูก
แรงงานขาดทักษะความรูด้ า้ น
ภาษาต่างประเทศ
ภาคเอกชนไทยควรเตรียมความพร้อมอย่างไร
เชิงรุก
•
•
•
•
ศึกษา/เสาะหาแหล่งวัตถุดบิ ที่มีความได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ
ศึกษาความเป็ นไปได้ในการย้ายฐานการผลิต
สร้างมูลค่าเพิม่ และพัฒนา BRAND Thailand ให้เป็ นที่ยอมรับ
สร้างพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศอาเซียนอืน่ เพือ่ ใช้ประโยชน์จากความ
ได้เปรียบในการแข่งขันของหุน้ ส่วนในพันธมิตร
เชิงรับ
•
•
•
•
เรียนรูค้ ู่แข่ง (จุดอ่อน-จุดแข็ง) ทัง้ ในประเทศและอาเซียนอืน่
ศึกษารสนิยมและแนวโน้มความต้องการของผูบ้ ริโภคสินค้าและบริการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตสินค้า/การให้บริการ (ต้นทุนและคุณภาพ)
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร
Out flows
โอกาสการลงทุน / บริการในประเทศ ASEAN
 เป็ นแหล่งข้อมูลสนับสนุนภาคเอกชน
• กฎระเบียบการจ้างงานของแต่ละประเทศ
• โครงสร้างแรงงานทีส่ อดคล้อมกับธุรกิจ
 พัฒนาแรงงานไทยสู่ ASEAN
• ผลิตแรงงานตรงตามความต้อผล
 กาหนดมาตรการเชิงรุก (ปกป้ อง) และช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
การเตรียมความพร้อมไทย
ภาครัฐ
 ทุนมนุษย์
 การพัฒนากฎระเบียบให้ทน
ั สมัยและเอื้อต่อการแข่งขัน
 ให้ความสาคัญการกับการพัฒนา/ถ่ายโอนเทคโนโลยี
 มาตรการสนับสนุนของภาครัฐ อาทิ เงินทุน ข้อมูลเชิงลึกของ
สมาชิกอาเซียน
60
การเตรียมความพร้อมคนไทยสูพ
่ ลเมืองอาเซียน
ภาษา
กระบวนการ
ทางาน
เรียนรู ้
วัฒนธรรม
61
ซึ่งจาเป็ นในการติดต่อสื่อสาร
จาเป็ นในการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาให้สอดคล้อง
กับความต้องการของตลาดแรงงาน ASEAN
ต้องปรับตัวและเรียนรูว้ ฒ
ั นธรรม ความเชื่อ และค่านิ ยม
ของประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความต่างเพื่อใช้โอกาส
ความท้าทาย (ต่อ)
62
62
การเตรียมความพร้อมคนไทยสูพ
่ ลเมืองอาเซียน
63
วัฒนธรรม
องค์กร
ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี ยอมรับความแตกต่างด้าน
เชื้ อชาติ ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สิ่งจูงใจการ
ทางาน
อาทิ เงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการ ฯลฯ เพื่อรักษาบุคลากร
ที่มีคุณภาพไว้ในองค์กร
การรับพนักงาน
ต่างชาติ
ไม่ปิดกั้นการรับพนักงานต่างชาติ เพื่อแก้ไขปั ญหาการ
ขาดแคลนแรงงานในประเทศ และส่งเสริมให้มีการ
ถ่ายทอดองค์ความรูท้ ี่มีคุณค่าระหว่างกัน
มาตรการรองรับผลกระทบของภาครัฐ
กองทุนเพือ่ ปรับโครงสร้างด้านการเกษตร
•อยูภ่ ายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
•โครงการทีด่ าเนินการแล้ว : กระเทียม โคเนื้อ โคนม ชา ปาล์ม สุกร
•อยูภ่ ายใต้กระทรวงพาณิชย์ ให้การสนับสนุนด้านวิจยั และพัฒนา
กองทุนเพือ่ การปรับตัวภาคการผลิตและบริการที่ •โครงการทีด่ าเนินการแล้ว : ่ เครือ่ งใช้ไฟฟ้ า เครือ่ งหนัง สมุนไพร ข้าวปลาป่ น ส้ม
บริการอาหาร ขนส่ง ท่องเทียว
ได้รบั ผลกระทบจาก FTA
แผนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อม
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ.
2555-2559
โครงการพัฒนาให้ไทยเป็ นศูนย์กลาง
การศึกษาในภูมิภาค
•อยูภ่ ายใต้สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
•มียทุ ธศาสตร์ 4 ด้าน คือ 1. ปั จจัยเอื้อต่อธุรกิจ 2. เพิ่มขีดความสามารถการ
แข่งขัน 3. การเติบโตอย่างสมดุล 4. การเชือ่ มโยงกับเศรษฐกิจโลก
• อยูภ่ ายใต้คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ
• มียุทธศาสตร์ 5 ด้าน 1. โครงสร้างพื้นฐาน 2. พัฒนา & ฟื้ นฟูแหล่งท่องเทีย่ ว 3.
พัฒนาสินค้า บริการ และปั จจัยสนับสนุน 4. สร้างความเชือ่ มัน่ & ส่งเสริมการ
ท่องเทีย่ ว 5. การมีสว่ นร่วมของภาครัฐ ประชาชน ท้องถิ่น
• อยูภ่ ายใต้สานักงานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (สพฐ.)
• วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพโรงเรียนมัธยมศึกษาทีม่ ีความพร้อมให้มีมาตรฐาน
ระดับสากล และพัฒนาสูก่ ารเป็ นศูนย์กลางการศึกษาในภูมภิ าค
66
67
69
70