คุณวรเทพ วงศาสุทธิกุล ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท

Download Report

Transcript คุณวรเทพ วงศาสุทธิกุล ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท

RELIABILITY
CONSISTANCY OF SUPPLY
HIGH QUALITY
STRONG PARTNERSHIP
จัดทัพอุตสาหกรรมยางไทยสู้ ศึกใหญ่ ตลาดเสรีอาเซียน
คุณวรเทพ วงศาสุ ทธิกลุ
ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่
บริษัท ไทยรับเบอร์ ลาเท็คซ์ คอร์ ปอร์ เรชั่น (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
ภาพรวมอุตสาหกรรมยางกลางนา้ / ปลายนา้
ผลิตภัณฑ์ ยางพารา
ยางแห้ ง
นา้ ยางข้ น
ปลายนา้
กลางนา้
ผลิตภัณฑ์ ยางพารา
3
ความต้ องการใช้ และสมดุลยางพาราโลก
ปี
2551
2552
2553
2554
2555
2556
อัตราเปลีย
่ นแปลงเฉลีย
่ (%)
ผลต
ิ
10.13
9.69
10.40
10.70
11.18
11.51
2.6%
ใช ้
10.18
9.33
10.78
10.61
10.73
11.13
1.8%
สต๊อ ค
1.52
1.88
1.50
1.40
1.76
2.15
7.2%
ที่มา : สถาบันวิจยั ยาง, LMC (2013) และประมาณการ (ตัวเลขส่ งออก-นาเข้า ปี 2555-2556)
่ ออก
สง
6.76
6.28
7.15
7.19
7.34
7.49
2.1%
ล้านตัน
นำเข้ำ
7.08
6.31
7.40
7.37
7.52
7.68
1.3%
4
ประเทศผู้ผลิตและผู้ใช้ ยางพารา ปี 2013
5
พืน้ ทีแ่ ละผลผลิตในกลุ่ม CLMV
• พื้นที่ปลูกยางในกลุ่ม CLMV เพิม่ ขึ้นราวปี ละ 1 ล้านไร่ ตั้งแต่ปี 2006-2012 เนื่องมาจาก
ทางการจีนมีนโยบายที่ตอ้ งการขยายพื้นที่ปลูกในต่างประเทศ
ที่มา : ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจและธุรกิจ SBC
6
พืน้ ทีแ่ ละผลผลิตในกลุ่ม CLMV (ต่ อ)
• ปัจจุบนั กลุ่ม CLMV มีพ้นื ที่ปลูกยางรวมกันถึง 12.84 ล้านไร่ ไทยมี 18.8 ล้านไร่ (ปี 2013)
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ ANPRC
7
พืน้ ทีแ่ ละผลผลิตในกลุ่ม CLMV (ต่ อ)
• ผลผลิตยางในกลุ่ม CLMV จะเพิม่ ขึ้นจาก 1 ล้านตันในปี 2012 เป็ น 2.8 ล้านตันในปี 2022 ทาให้
มีสดั ส่ วนของผลผผลิตยางพาราโลกเพิ่มจาก 9% เป็ น 17% ส่ วนไทยจะลดลงจาก 31% เป็ น
24% ในปี 2022
ล้านตัน
ประเทศ
Combodia
Laos
Myanmar
Vietnam
2012 2017 2022
0.06 0.16 0.45
0.02 0.04 0.10
0.10 0.16 0.54
0.85 1.39 1.70
CLMV
1.03 1.75 2.80
Wolrd Production 10.95 12.20 16.00
สดั สว่ นต่อผลผลิตโลก 9% 14% 17%
ที่มา : ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจและธุรกิจ SBC
8
สถิติการผลิตรถยนต์
Country
China
USA
Japan
Germany
South Korea
India
Brazil
Spain
France
Others
Total
2007
8.88
10.78
11.6
6.21
4.09
2.25
2.98
2.89
3.02
20.56
73.26
2008 2009
9.35 13.79
8.71 5.71
11.56 7.93
6.04 5.21
3.81 3.51
2.31 2.63
3.22 3.18
2.54 2.17
2.57 2.05
20.42 15.53
70.53 61.71
2010
18.26
7.76
9.63
5.91
4.27
3.54
3.65
2.39
2.23
19.97
77.61
2011
18.42
8.65
8.40
6.31
4.66
3.93
3.41
2.35
2.24
21.62
79.99
2012
19.27
10.33
9.94
5.65
4.56
4.15
3.34
1.98
1.97
22.95
84.14
ที่มา : Organisation Internationale des Constructeurs d'Automobiles
สถานการณ์การผลิตล่าสุ ด ปี 2013 คาดว่า จะมีการผลิตรวมอยูท่ ี่ 85.5 ล้านคัน เพิ่ม 1.6% คาดจีนมียอดผลิต 20.8
ล้านคัน (+8%) ส่ วนอันดับสอง อเมริ กาอยูท่ ี่ 10.85 ล้านคัน (+5%) และญี่ปุ่น ผลิต 8.97 ล้านคัน (-10%)
9
โครงสร้ างตลาดรถยนต์ โลก
ใช้ยางประมาณ 9.2 ล้านตัน/ปี
• ทัว่ โลกมีรถที่วงิ่ อยูป่ ระมาณ 1,096 ล้าน
คัน (94%) และแต่ละปี จะมีรถใหม่เข้ามา
เพิ่มอีกเฉลี่ยประมาณ 75 ล้านคันต่อปี
(6%)
จากโครงสร้ างตลาดรถยนต์ โลก
• ตลาดจาหน่ ายยางสาหรับรถยนต์ ใหม่
(Original Equipment Segment) มีขนาด
6%
• ในขณะทีต่ ลาดจาหน่ ายยางทดแทน
(Replacement Segment) มีขนาดถึง 94%
ที่มา : OICA
ใช้ยางประมาณ 0.6 ล้านตัน/ปี
10
สั ดส่ วนการใช้ น้ายางข้ นตามผลิตภัณฑ์ ต่างๆ
จากปริ มาณการใช้น้ ายางข้นปี 2013 ที่
ประมาณ 1.34 ล้านตัน แบ่งออกเป็ น
1. ถุงมือประมาณ 7.5 แสนตัน
2. เส้นด้ายยางยืดประมาณ 1.9 แสนตัน
3. โฟมที่นอนประมาณ 1.6 แสนตัน
4. กาวและสารยึดแน่น 1.1 แสนตัน
5. พรมบุหรื อรองของ 0.67 แสนตัน
6. ถุงยางอนามัย 0.27 แสนตัน
7. อื่นๆ ประมาณ 0.41 แสนตัน
11
อุตสาหกรรมถุงมือยาง
ปริมาณความต้ องการของโลก : 7.5 แสนตัน/ปี
*โดยส่ วนใหญ่ใช้ในทางการแพทย์ 7.4 แสนตัน
(ประมาณ 150 พันล้านคู่ จากทั้งหมดประมาณ 155 พันล้านคู่)
ประเทศผู้ส่งออก : มาเลเซี ย อินโดนีเซี ยน ไทย
ประเทศผู้นาเข้ า : สหรัฐอเมริ กา ยุโรป ญี่ปุ่น และ
ไต้หวัน
12
อุตสาหกรรมเส้ นด้ ายยางยืด
ปริมาณความต้ องการของโลก : 1.9 แสนตัน/ปี
ประเทศผู้ส่งออก : มาเลเซี ย ไทย
ประเทศผู้นาเข้ า : จีน ฮ่องกง เวียดนาม
13
อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย
ปริมาณความต้ องการของโลก : 2.7 หมื่นตัน/ปี
ประเทศผู้ส่งออก : ไทย อินเดีย สหรัฐอเมริ กา
มาเลเซี ย
ประเทศผู้นาเข้ า : จีน สหรัฐอเมริ กา ยุโรป
14
ปริมาณส่ งออกยางพาราของผู้ส่งออกหลัก
ล้านตัน
ปี
2551
2552
2553
2554
2555
2556
้
อ ัตรำเพิมขึ
่ นเฉลี
ย
่ (%)
ไทย
2.83
2.74
2.73
3.00
3.00
3.44
3.9%
ี
อินโดนีเซย
2.30
2.06
2.37
2.57
2.53
2.72
3.4%
ี
มำเลเซย
1.19
1.11
1.27
1.26
1.34
1.31
2.0%
เวียดนำม
0.66
0.73
0.78
0.82
1.02
1.04
9.4%
ก ัมพูชำ
0.02
0.04
0.04
0.05
0.06
0.09
38.6%
ที่มา : ANRPC (NOV 2013 )
• ไทยยังคงเป็ นประเทศที่มีการส่ งออกยางพาราไปในตลาดโลกมากสุ ด รองลงมาคือ
อินโดนีเซียและมาเลเซีย
• เป็ นที่น่าสังเกตุวา่ ประเทศเวียดนามและกัมพูชา (ซึ่ งเป็ นประเทศในกลุ่ม CLMV) มี
แนวโน้มการส่ งออกที่เพิ่มขึ้น ดูได้จาก อัตราเพิ่มขึ้นเฉลี่ยที่อยูใ่ นระดับสูง (เวียดนาม
+9.4%, กัมพูชา +38.6%)
15
10 อันดับมูลค่ าสิ นค้ าส่ งออกสาคัญของไทย ปี 2556
อันดับ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สนิ ค้ำสง่ ออกสำคัญ
รถยนต์ อุปกรณ์และสว่ นประกอบ
เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และสว่ นประกอบ
น้ามันสาเร็จรูป
อัญมณีและเครือ่ งประดับ
เคมีภณ
ั ฑ์
เม็ดพลาสติก
ผลิตภัณฑ์ยาง
ยางพารา
แผงวงจรไฟฟ้ า
เครือ่ งจักรกลและสว่ นประกอบของเครือ่ งจักรกล
2556
738,113.4
537,217.0
386,002.8
305,837.9
274,946.9
270,791.2
263,680.9
249,287.7
218,531.2
205,014.5
ล้านบาท
2555 อัตรำเปลีย่ นแปลง
707,712.20
4.3%
588,398.70
-8.7%
397,858.70
-3.0%
408,040.20
-25.0%
263,027.80
4.5%
263,587.20
2.7%
268,379.78
-1.8%
270,153.80
-7.7%
206,462.00
5.8%
205,456.1
-0.2%
ที่มา : กระทรวงพาณิ ชย์
• ในปี 2556 มูลค่าการส่ งออกยางพารารวมทั้งหมดอยูที่ 512,969 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 4.7
จาก 538,534 ล้านบาท ในปี 2555
16
มูลค่ าตลาดส่ งออกยางพารา
ล้านบาท
ปี
2551
2552
2553
2554
2555
2556
มูลค่ำตลำดรวม
385,150
306,541
462,717
650,517
538,534
512,969
ที่มา : กระทรวงพาณิ ชย์
ยางพารา
อ ัตรำเปลีย
่ นแปลง
16.5%
-20.4%
50.9%
40.6%
-17.2%
-4.7%
กลำงนำ้
223,628
146,188
249,262
382,904
270,154
249,288
ผลิตภัณฑ์ยาง
ปลำยนำ้
161,522
160,353
213,455
267,613
268,380
263,681
17
มูลค่ าการส่ งออกยางกลางนา้ (ยางพารา)
ปี
2551
2552
2553
2554
2555
2556
QTY (ล้ำนต ัน)
2.83
2.74
2.73
3.00
3.00
3.44
ที่มา : กระทรวงพาณิ ชย์
%QTY
-4.5%
-3.3%
-0.2%
9.6%
0.1%
14.6%
มูลค่ำ (ล้ำนบำท)
223,628
146,188
249,262
382,904
270,154
249,288
%มูลค่ำ
15.1%
-34.6%
70.5%
53.6%
-29.4%
-7.7%
18
มูลค่ าการส่ งออกยางปลายนา้ (ผลิตภัณฑ์ ยาง)
ปี
2551
2552
2553
2554
2555
2556
ปลำยนำ้
อ ัตรำเปลียนแปลง
่
161,522
18.6%
160,353
-0.7%
213,455
33.1%
267,613
25.4%
268,380
0.3%
263,681
-1.8%
ที่มา : กระทรวงพาณิ ชย์
ยำงล้อ
64,757
60,434
80,642
109,100
101,899
103,926
ถุงมือ
21,959
22,485
30,701
34,696
36,456
32,494
ยำงยืด
6,514
7,646
9,746
11,056
10,733
9,777
ถุงยำง
8,685
8,918
3,653
4,667
4,403
4,430
ล้านบาท
อืน
่ ๆ
59,608
60,870
88,713
108,095
114,889
113,054
19
ปัจจัยทีท่ าให้ อุปสงค์ ยางพาราขยายตัว
5ปัจจัยทีท่ าให้ อุปสงค์ ยางพาราขยายตัว
จานวนประชากรโลกที่เพิม่ ขึน้
ราคานา้ มันในตลาดโลกและสต็อคนา้ มันทีม่ อี ยู่ของโลก
ปริมาณผลผลิตยางพาราของโลก
ราคายางพาราของโลก
ภาวะเศรษฐกิจโลก
20
ปัจจัยที่ทาให้ ยางพาราขยายตัว
จานวนประชากรโลกทีเ่ พิม่ ขึน้
องค์กรอนามัยโลก ประมาณว่าอีก 40 ปี ข้างหน้า โลกจะมีประชากรเกินกว่า 9,000 ล้านคน
สิ นค้าจาเป็ นต้องบริ โภคก็จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งรถยนต์ เส้นด้ายยางยืด ถุงมือยางและถุงยาง
21
ปัญหาการพัฒนาและ
ยกระดับอุตสาหกรรมยางพารา
ปัญหาการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา
มิตดิ ้ านพืน้ ที่
ปลูก
มิตดิ ้ านอืน่ ๆ
มิตดิ ้ าน
บุคลากร
มิตดิ ้ านผลิต
ปัญหาการพัฒนา
อุตสาหกรรม
ยางพารา
มิตดิ ้ าน
การตลาด
มิตดิ ้ านบริหาร
จัดการ
23
ปัญหาการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา
มิติดา้ นพื้นที่
ปลูก
ขาดการจัดการพืน้ ทีป่ ลูก (Zoning) อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
มิติดา้ นผลิต
ผลผลิตต่ อไร่ หรือปริมาณนา้ ยางทีไ่ ด้ ต่าและขึน้ ลงไม่ แน่ นอน
โครงสร้ างการปลูกยางส่ วนใหญ่ เป็ นเกษตรกรรายย่ อย
ทาให้ มตี ้ นทุนสู งในการรวบรวมวัตถุดบิ
ขาดการวิจัยและพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
เทคโนโลยีการผลิต
เงินทุน (โดยเฉพะผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ยาง)
24
ปัญหาการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา
มิติดา้ น
การตลาด
ต้ องพึง่ พาตลาดส่ งออก และราคาถูกกาหนดโดยผู้ซื้อ
น้ อยราย ทาให้ มีความเสี่ ยงทางด้ านราคา และเสี ยโอกาส
ในการสร้ างมูลค่ าเพิม่
ขาดตลาดซื้อขายที่เป็ นที่ยอมรับในระดับสากล
ราคายางไม่ มีเสถียรภาพ
มิติดา้ นบริ หาร
จัดการ
นโยบายภาครัฐ > การพยุงราคา, การจัดเก็บเงิน
สงเคราะห์ (CESS), โครงสร้ างภาษี
โครงสร้ างการจัดการที่มภี าครัฐเป็ นหลักทาให้ ไม่ เกิด
ความคล่องตัวในการพัฒนา
25
ปัญหาการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา
มิติดา้ นบุคลากร
ขาดแคลนแรงงาน ทั้งในแง่ ทกั ษะความชานาญและ
จานวนแรงงาน อีกทั้งยังมีค่าแรงทีส่ ู ง
เกษตรกรขาดความรู้ ความเข้ าใจในตลาดสิ นค้ าเกษตร
ล่วงหน้ า
ผู้ประกอบการขาดความรู้ ความเข้ าใจในเรื่องของการ
เข้ าสู่ AEC
มิติดา้ นอื่นๆ
ต้ นทุนพลังงาน
ระบบโครงสร้ างพืน้ ฐานทางขนส่ ง (Logistics)
26
ศักยภาพในการแข่ งขันอุตสาหกรรมยางพารา
ศักยภาพในการแข่ งขันอุตสาหกรรมยางพารา
มิติด้านการตลาด
มิติด้านบริหารจัดการ
มิติด้านบุคลากร
มิติด้านผลิต
ศักยภาพ
ของไทย
28
ศักยภาพในการแข่ งขันอุตสาหกรรมยางพารา
มิติดา้ นผลิต
มีพนื้ ทีแ่ ละภูมอิ ากาศทีเ่ หมาะสมต่ อการปลูกยางพาราทาให้ มี
ผลผลิตเป็ นจานวนมาก
มีความหลากหลายของการแปรรู ปยางดิบทีใ่ ช้ เป็ นวัตถุดบิ ในการ
ผลิตผลิตภัณฑ์ ยาง
มีเทคโนโลยี Dipping Product สู งเทียบเคียงกับมาเลเซีย
29
ศักยภาพในการแข่ งขันอุตสาหกรรมยางพารา
มิติดา้ น
การตลาด
ยางไทยเป็ นทีต่ ้ องการในตลาดโลกสู ง โดยเฉพาะนา้ ยางข้ นและยาง
แผ่ นรมควัน
ราคายางขายได้ ราคาสู ง โดยเฉพาะนา้ ยางข้ นและยางแผ่ นรมควัน
เนื่องจากคุณภาพทีเ่ หนือกว่ าประเทศคู่แข่ ง
มีความสามารถในการแข่ งขันสู ง เพราะพึง่ พาวัตถุดบิ ใน
ประเทศเป็ นสาคัญ
สิ นค้ ายางพาราไทยเป็ นทีย่ อมรับในตลาดโลก ทาให้ หาตลาด
ส่ งออกทาได้ ง่าย
30
ศักยภาพในการแข่ งขันอุตสาหกรรมยางพารา
มิติดา้ นบริ หาร
จัดการ
นโยบายภาครัฐ > สนุบสนุนการปลูกยางและขยายพืน้ ทีป่ ลูก,
กาหนดนโยบายในการสร้ างยุทธศาสตร์ เพือ่ พัฒนายางครบวงจร
มีหน่ วยงานวิจัยภาครัฐ สนับสนุนการพัฒนายาง
มิติดา้ นบุคลากร
เกษตรกรชาวสวนยางส่ วนใหญ่ มปี ระสบการณ์ มานาน
31
โอกาสและอุปสรรคอุตสาหกรรมยางพาราไทย
โอกาสและอุปสรรคอุตสาหกรรมยางพารา
โอกาส
• การให้ความสาคัญกับการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้ผลิตภัณฑ์จากยางพาราเพื่อสร้างเป็ น
ฐานการผลิต Dipping Product ของโลก
• ประเทศคู่แข่งอย่างมาเลเซี ยได้ลดพื้นที่ในการผลิตยางลง
• แนวโน้มการขยายตัวอุตสาหกรรมยานยนต์ของจีน ทาให้ยงั คงมีการนาเข้ายาง
จากไทยสูงขึ้น
• การรวมตัวกันของประเทศผูผ้ ลิตรายใหญ่ของโลก ที่ส่วนใหญ่อยูใ่ นกลุ่มประเทศ
AEC ที่มีผลผลิตยางมากกว่าร้อยละ 70 ในโลก สร้างอานาจการต่อรองใน
ตลาดโลกได้
33
โอกาสและอุปสรรคอุตสาหกรรมยางพารา
อุปสรรค
• ไทยอาจจะส่ งออกยางไปจีนลดลง เนื่องจาก จีนจะเลือกซื้อยางในกลุ่มประเทศ CLMV
ก่อน เพราะความสะดวกทางด้านการขนส่ งและโลจิสติกส์
• ประเทศเวียดนามจะเป็ นคู่แข่งสาคัญในตลาดส่ งออกยาง จากการมีพ้นื ที่ปลูกยางจานวน
มาก และได้รับถ่ายทอด Know How จากทั้งประเทศฝรั่งเศสและมาเลเซีย
• ต้นทุนการผลิตยางแท่งไทยยังสูงกว่าประเทศคู่แข่ง (จากกระบวนการผลิต, ค่าแรงงาน
และต้นทุนพลังงาน)
• ความผันผวนของราคายางธรรมชาติในตลาดโลก ทาให้ประเทศผูน้ าเข้าเริ่ มพยายาม
พัฒนาวัตถุดิบอื่นเพื่อทดแทน (จีนมีการตั้งโรงงานยางสังเคราะห์เพิ่มขึ้น)
• การขยายพื้นที่ปลูก โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศ CLMV อาจทาให้ผลผลิตล้นตลาด ส่ งผล
กระทบต่อราคายาง
• การรวมตัวกันของ AEC จะส่ งผลให้การลงทุนมีการเคลื่อนไหวอย่างเสรี จึงมีแนวโน้ม
ว่าอาจมีการเคลื่อนย้ายการลงทุนด้านยางพาราไปยังประเทศที่มีตน้ ทุนต่ากว่าไทย
34
แนวทางการส่ งเสริมและเตรียมความพร้ อม
จัดทัพอุตสาหกรรมยางไทยสู้ ศึกใหญ่ ตลาด AEC
แนวทางการส่ งเสริมและเตรียมความพร้ อมจัดทัพอุตฯ ยางไทยสู้ ศึกใหญ่ AEC
1. พัฒนาการผลิต
• มุ่งเพิม่ ผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ โดยอาศัยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2. พัฒนาอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์ ยาง
• สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั สิ นค้ายางพารา
• เพิ่มสัดส่ วนการใช้ยางในประเทศให้สูงขึ้น
• เสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขันในตลาดโลก
36
แนวทางการส่ งเสริมและเตรียมความพร้ อมจัดทัพอุตฯ ยางไทยสู้ ศึกใหญ่ AEC
3. นโยบายภาครัฐ
• มุ่งสนับสนุนพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราอย่างเป็ นระบบ
• ปล่อยให้ราคาเป็ นไปตามกลไกตลาด
• จัดทาแผนยุทธศาสตร์พฒั นายางพาราที่มีการบูรณาการความร่ วมมือของทุกหน่วยงาน ทั้ง
ภาครัฐและเอกชน
• จัดตั้งหน่วยงานกลางยางพาราทั้งระบบ (การยางแห่งประเทศไทย) ลดความซ้ าซ้อน และ
เกิดความต่อเนื่องของนโยบาย (รวมอุตสาหกรรมยาง ต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า เป็ น
หน่วยงานเดียวกัน)
4. พัฒนาตลาดกลางยางพาราเพือ่ รับ AEC
• พัฒนาตลาดกลางเพื่อซื้อ-ขาย วัตถุดิบยาง
• พัฒนาตลาดกลางเพื่อซื้อ-ขาย ยางแปรรู ป STR 20 (ETF)
• พัฒนาตลาด AFET
37
แนวทางการส่ งเสริมและเตรียมความพร้ อมจัดทัพอุตฯ ยางไทยสู้ ศึกใหญ่ AEC
5. จัดตั้งให้ ไทยเป็ นศูนย์ กลางยางพารา (HUB)
• สร้างอานาจต่อรอง และเป็ นผูก้ าหนดราคา
• เป็ นศูนย์กลางในการผลิตอุตสาหกรรมยางปลายน้ าและอุตสาหกรรมสร้างมูลค่าเพิ่ม
6. เสริมสร้ างความสามารถในการแข่ งขัน
• พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทาง Logistics
• พัฒนาบุคลากร
38
RELIABILITY
CONSISTANCY OF SUPPLY
HIGH QUALITY
STRONG PARTNERSHIP
THANK YOU