การบริหารภาคอุตสาหกรรมไทย...สัมมนาวิชาการครั้งที่_37_มธ.

Download Report

Transcript การบริหารภาคอุตสาหกรรมไทย...สัมมนาวิชาการครั้งที่_37_มธ.

่
ข้อคิดเห็นต่อบทความเรือง
“การบริหารภาคอุตสาหกรรมไทย
ณ ทางแยก
ของการพัฒนา”
นิ พนธ ์ พัวพงศกร
่
สถาบันวิจ ัยเพือการพั
ฒนาประเทศ
ไทย
้ั ่ 37 “เรือง
่ Sustaining Thailand : ก้าว
สัมมนาทางวิชาการครงที
่ น” คณะเศรษฐศาสตร ์ มธ. ณ อาคาร
อย่างไรให้ประเทศไทยยังยื
ตลาดหลักทร ัพย ์แห่งประเทศไทย
30 ตุลาคม 2557
1
ประเด็น
้ องค ์ความรู ้อะไร
1.บทความนี ให้
่
ใหม่ๆ เรืองการพั
ฒนา
อุตสาหกรรมไทย
่
2.ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ้
วิจารณ์
– ข้อจากัดของวิธก
ี ารวิเคราะห ์
ในบทความ
2
1. บทความของดร.อาชนัน ให้องค ์
่
ความรู ้อะไรใหม่เกียวกับการพั
ฒนา
อุตสาหกรรมไทย
่ าอุตสาหกรรมไทย
• ทาลายมายาคติทเชื
ี่ อว่
กาลังสู ญเสียความสามารถในการแข่งขัน
โดยอาศ ัยข้อเท็จจริงบางประการ
้
– อุตสาหกรรมไทยมีสว
่ นแบ่งในตลาดโลกสู งขึน
– ไทยยังมีเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ที่
่ งกว่าคู แ
เพิมสู
่ ข่ง
– ไทยเป็ นฐานการผลิตสินค้าสาค ัญของโลกบาง
ชนิ ด
่
– เพิมเติ
ม : หลังเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี
2540/41 การปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
และสถาบันการเงิน ทาให้อต
ุ สาหกรรมไทยมี
่ ้
3
่
1. บทความของดร.อาชนันท ์ ให้องค ์ความรู ้อะไรใหม่เกียวกั
บการ
พัฒนาอุตสาหกรรมไทย
–ไทยเป็ น Asian Assembly Factory
อ ันดับสองรองจากประเทศจีน
–โครงสร ้างการผลิต/การส่งออกของ
อุตสาหกรรมไทยยังไม่หลุดพ้นจาก
่
การพึงพาตลาดประเทศตะวั
นตก
(decoupling) เพียงแต่ชอ
่ งทาง
่
การค้าเปลียนจากช่
องทางตรง เป็ น
้
ช่องทางอ้อมเท่านัน
• ให้ความเห็นท้วงติงทางเลือกการ
พัฒนาอุตสาหกรรม 3 ทาง (1) การ4
่
่
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติมของ
ผู ว้ จ
ิ ารณ์
• ข้อจากัดของวิธก
ี ารวิเคราะห ์
–การวิเคราะห ์ความสามารถในการ
แข่งขันควรเปรียบเทียบกับประเทศ
้
่
คู แ
่ ข่งทังกลุ
่มทีตามหลั
ง/มีสถานะ
ใกล้เคียงกับไทย (เวียดนาม
่ ญกว่า (ญีปุ่่ น
มาเลเซีย) และกลุ่มทีเจริ
เกาหลีใต้ ไต้หวัน)
่ เป็ นข้อมู ลด้านการค้า
–ข้อมู ลทีใช้
5
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
• จุดอ่อนของคาอธิบายการพัฒนา
อุตสาหกรรมไทย
–อ.อาชนันให้ภาพการพัฒนาอุตสาหกรรม
ไทยในแง่ บวกเป็ นหลัก
่ ฒนาการอุตสาหกรรมไทย
–คาอธิบายเรือพั
่ อมโยง
่
ยังขาดประเด็นสาคัญทีเชื
่
ข้อเท็จจริงเรืองอุ
ตสาหกรรมไทยในตอนที่
2 และยุทธศาสตร ์การยกระด ับ
ความสามารถในการแข่งขันในตอนที่ 4
ควรมีบทวิเคราะห ์จุดอ่อนของอุตสาหกรรม
่
่ ัดเจน
ไทยก่อน เพือให้
ได้นย
ั เชิงนโยบายทีช
ว่าควรมีนโยบายในการพัฒนาศ ักยภาพ
ด้านการผลิต (supply-side capability) 6
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
่
–ประเด็นสาคญ
ั ทีขาดหายไปมี
2
ประเด็น
(1) ทาไมอุตสาหกรรมส่งออกไทยจึง
่
อ่อนแอไม่สามารถสร ้างมู ลค่าเพิมให้
้ เมือเที
่
่
สู งขึน
ยบก ับประเทศทีประสบ
ความสาเร็จในการพัฒนา
อุตสาหกรรม : Jongil Kim (2012)
และฉลองภพ
(2) ความสาเร็จในการพัฒนา
อุตสาหกรรมเกิดจากความสามารถ
7
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
• ทาไมการส่งออกอุตสาหกรรมส่งออก
่
ไทยจึงไม่สามารถสร ้างมู ลค่าเพิมให้
้ เมือเที
่
่
สู งขึน
ยบกับประเทศทีประสบ
ความสาเร็จในการพัฒนา
อุตสาหกรรมอย่างเกาหลีใต้ ญีปุ่่ น
–ข้อเท็จจริง : อ ัตราการเติบโตทาง
เศรษฐกิจของไทยชะลอตัวลง เพราะการ
ลงทุนชะงักงัน เนื่ องจากในอดีตการ
่
เติบโตทางเศรษฐกิจพึงพาการลงทุ
นเป็ น
่ ัตราการเพิมของผลิ
่
หลัก ขณะทีอ
ตภาพ
้
ทังระบบ
(total factor productivity)
่
8
อยู ่ในระดับตา
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
Product space
(Hidalgo,Klinger,Hausmann and
Barabasi 2007) คือ เครือข่ายการผลิตใน
่
ประเทศ ยิงโครงสร
้างการผลิตมีสน
ิ ค้าที่
คล้ายคลึงกันเป็ นจานวนมาก อุตสาหกรรม
ก็สามารถผลิตสินค้าชนิ ดใหม่ๆ
่
(เปรียบเสมือนลิงทีอาศ
ัยอยู ่ในป่ า ถ้าเป็ นป่ า
สมบู รณ์กล
็ งทุนแสวงหาผลไม้ได้ง่าย ถ้าเป็ น
่
ป่ าเสือมโทรม
ลิงอาจอดตาย)
ทฤษฎี product space network นี ้ เป็ น
่
ความพยายามทีจะใช้
ขอ
้ มู ลโครงสร ้าง
อุตสาหกรรมมาอธิบายว่าทาไมบางประเทศ
จึงสามารถร ักษาอ ัตราการเจริญเติบโตทาง 9
่
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
–โดยสรุป Kim พบว่า
ไทยประสบความสาเร็จในการ
่
เปลียนโครงสร
้างการส่งออกไปสู ่
สินค้าhigh techในกลุ่ม “denser
area of product space” และ
สามารถกระจายการผลิตสินค้า
หลายชนิ ด....สอดคล้องกับอาชนัน
่
แต่เมือเปรี
ยบเทียบก ับโครงสร ้าง
อุตสาหกรรมของญีปุ่่ นก ับเกาหลีใต้
ปรากฏว่าอุตสาหกรรมไทยมีพลังใน10
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
–Kim พบว่าไทยจะหลุดพ้นจากก ับดัก
่
ประเทศรายได้ปานกลางก็ตอ
่ เมือ
อุตสาหกรรมสามารถยกระดับการ
พัฒนา (upgrading) เช่นใน
่ แรงงานมาก ต้อง
อุตสาหกรรมทีใช้
่ ทก
ปร ับตัวไปเป็ นการผลิตทีใช้
ั ษะ และ
่ ตน
่
ใช้กระบวนการผลิตทีมี
้ ทุนตาลง
–ไทยเคยมีนโยบายปร ับโครงสร ้าง
อุตสาหกรรมในปี 2541 และการ
ส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้ าหมายในยุค
่
ร ัฐบาลทักษิณ เพือยกระดับการ
11
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
่
• การเปลียนแปลงโครงสร
้างอุตสาหกรรม ก ับ
growth
– โครงสร ้างรายได้จากภาคอุตสาหกรรมไทยได้
่ นจนใกล้
้
เพิมขึ
เคียงก ับเกาหลีใต้และไต้หวน
ั
(ประมาณ 34%)
– แต่ไทยยังมีการจ้างงานในภาคเกษตรสู งผิดปรกติ
่
และการจ้างงานภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างตา
(15%)
่
้
 เกิดความเหลือมล
าระหว่
างสาขาเศรษฐกิจสู ง
– วิกฤตการณ์เศรษฐกิจในปี 2540/41 ทาให้การ
ขยายต ัวของรายได้และการจ้างงานอุตสาหกรรม
หยุดชงัก
– ถ้าเราไม่สามารถกระตุน
้ การเติบโตของ
ภาคอุตสาหกรรมได้อ ัตราการเจริญเติบโตทาง 12
่
่
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
–ขณะเดียวก ันการขยายต ัวของ
อุตสาหกรรมใช้แรงงานหนาแน่ นในจีน
่
และเวียดนาม ทาให้อต
ุ สาหกรรมทีใช้
่
แรงงานเข้มข้นของไทย (อาหาร สิงทอ)
ลดสัดส่วนลง
–แต่ไทยก็สามารถปร ับตัวไปสู ่อต
ุ สาหกรรม
่ ทุนหนาแน่ น คือ อิเล็กทรอนิ กคส ์และ
ทีใช้
รถยนต ์
–โจทย ์สาคัญของไทย ทาอย่างไร
อุตสาหกรรมไทยจึงจะสามารถแข่งขันกับ
่ คา
่ ขณะเดียวก ันก็ไต่
ประเทศทีมี
่ จ้างตา
้
่
บันไดขึนไปเพื
อแย่
งชิงส่วนแบ่งตลาด 13
่
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
• ผลการวิเคราะห ์โครงสร ้างการส่งออก
สินค้าอุตสาหกรรม
– โครงสร ้างสินค้าส่งออกอุตสาหกรรม
่
เปลียนแปลงคล้
ายก ับเกาหลีใต้และไต้หวัน
ในอดีต
่
– สินค้าในหมวดเครืองจั
ก (SITC7) มีสด
ั ส่วน
่ นเป็
้
เพิมขึ
น 40% ในปลายทศวรรษ 2540
่
เพราะสินค้าเกษตรและสิงทอลด
ความสาคัญลง
่ แตกต่
่
่
– สิงที
างก ับเกาหลีใต้ คือ สิงทอไทยลด
ความสาคัญลงจนไม่ตด
ิ 10 อ ันดับแรกในปี
2552
– แต่ในเกาหลีใต้และไต้หวัน การส่งออกสิง่ 14
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
• คาถาม คือ ศ ักยภาพของ
อุตสาหกรรมการส่งออกของไทย
อยู ่ทไหน
ี่
และไทยจะสามารถ
พัฒนาอุตสาหกรรมให้เต็ม
ศ ักยภาพดังกล่าวได้อย่างไร : ใช้
product space analysis
–Product space analysis ผู ผ
้ ลิตที่
่
เดิมผลิตวิทยุสามารถเปลียนไป
่
15
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
ความหลากหลายของสินค้าส่งออก
Diversification of Exports by Commodity Group in 2009
Source: UN COMTRADE DB
16
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
• จากตารางส่วนแบ่งตลาดของสินค้าอุตสาหกรรม
ส่งออกพบว่า
– (1) สินค้าส่งออกของไทยในอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ม ี
่
ความหลากหลาย (diversified) ค่อนข้างสู ง เมือเที
ยบ
่
ก ับเกาหลีใต้และญีปุ่่ น อุตสาหกรรมไทยทีหลากหลาย
น้อย คือ เคมี (SITC6)
– (2) อุตสาหกรรมอาหาร (SITC 0) มีความหลากหลาย
กว่าเกาหลีใต้-ญีปุ่่ น
่
– (3) อุตสาหกรรมเครืองจั
กร-รถยนต ์ (SITC7) มีความ
หลากหลายมากเช่นกัน
– (4) แม้วา
่ อุตสาหกรรมเบา (SITC6,8) จะมีความ
หลากหลาย แต่ยงั หลากหลายน้อยกว่าเกาหลีใต้-ญีปุ่่ น
แสดงว่าไทยจาเป็ นต้องแสวงหา product niches ใน
อุตสาหกรรมเบา
– (5) โอกาสของไทยอยู ่ทไหน
ี่
: คานวณจาก (ก) ความ
่ ัดด้วย17
ใกล้เคียงกันของสินค้าคู ต
่ า
่ งๆ (proximity) ซึงว
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
่
่
(6) สินค้าทีไทยมี
โอกาสสู งสุดทีจะขยายการ
่
่ (1) และ
ส่งออกอยู ่ในหมวดอาหาร (0) เครืองดื
ม
่
่
สิงทอ
(8)
รอบลงมาคื
อ
เครื
องจักร-รถยนต
์ (7)
Density by Commodity Group in 2000
Source: http://www.chidalgo.com/productspace
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
่
่ น
้
– (7) ไทยมีศ ักยภาพทีจะผลิ
ตสินค้าใหม่เพิมขึ
่ RCA เกิน
(วัดจากค่าความใกล้ชด
ิ ของสินค้าทีมี
1) และไทยยังประสบความสาเร็จสามารถผลิต
สินค้าใหม่ทมี
ี่ ศ ักยภาพ เพราะสัดส่วนของสินค้า
่ งไม่ได้ผลิตมีแนวโน้มลดลงและลดตา
่
ศTable
ักยภาพที
ยั
12: The Proportion of Unoccupied Products in Density
่
กว่าประเทศอืนๆ
Source: Jongil Kim 2012.
19
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
–สินค้าใหม่ทไทยมี
ี่
โอกาส และสามารถ
ต ักตวงโอกาสได้ คือ อุตสาหกรรม
่
่ ว ัตถุดบ
้
อาหาร เครืองดื
ม
ิ เชือเพลิ
ง
้ วน (SITC 0,1,2,3,5,6)
เคมี และชินส่
่
–ในอุตสาหกรรมเครืองจั
กร (SITC7) แม้
ไทยจะสามารถตักตวงโอกาสสู งในการ
ผลิตสินค้าใหม่ๆ แต่คา
่ density (หรือ
่
proximity) ค่อนข้างตา
–นัย คือ ไทยต้องพยายามสร ้างโอกาส
20
ใหม่ๆ โดยการเลือกขยายฐานผลิตสู ่
Table 13: Density with Unoccupied
Products Only by Commodity Group
in 2000
Source: Jongil Kim 2012.
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
–Hausmann,et.al (2007) วัดระดับ
ความซ ับซ ้อนทางเทคโนโลยีของ
สินค้าต่างๆ จากระดับรายได้ของ
ประเทศผู ส
้ ่งออก และพบว่าประเทศ
่ สน
่ เทคโนโลยี
ทีมี
ิ ค้าส่งออกทีมี
ซ ับซ ้อนจานวนมาก จะมีอ ัตราการ
เติบโตทางเศรษฐกิจสู ง
–ผลการศึกษาพบว่าสินค้าส่งออก
22
ไทยมีระดับความซ ับซ ้อนของ
่ ความซ ับซ ้อนมากขึน
้
สินค้าทีมี
Figure 8: Contribution of Each Commodity Group to
คือหมวด
5,6,7 Sophistication
Technological
Source: Jongil Kim 2012.
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
แต่ความซ ับซ ้อนทางเทคโนโลยี
ของสินค้าในหมวด 5,7 ยังห่าง
จากฐีปุ่่ น/เกาหลีใต้มาก
จึงควรมีนโยบายกระจายการผลิต
สู ส
่ น
ิ ค้าชนิ ดใหม่ๆในหมวด 5,7
24
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
• ข้อสรุปของ product space
analysis : ได้ผลใกล้เคียงกับ
่
อาชนัน แต่ให้นย
ั เพิมเติ
มต่อ
นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรม
–อุตสาหกรรมไทยได้ขยายตัวไปสู ่
่ เทคโนโลยี
สินค้าชนิ ดใหม่ๆ ทีใช้
้ และเป็ นสินค้าทีมี
่
เข้มข้นขึน
้
เทคโนโลยีสลับซ ับซ ้อนขึน
–ไทยสามารถตักตวงโอกาสจากการ
25
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
่
–แต่ปัญหาสาคญ
ั ของอุตสาหกรรมทีใช้
เทคโนโลยีซ ับซ ้อนของไทย คือ สินค้า
่
่
ส่วนใหญ่ยงั มีมูลค่าเพิมในระด
บ
ั ตามาก
่
่
เพราะตากว่
ามู ลค่าเพิมของสิ
นค้าใน
ญีปุ่่ นถึง 4.5 เท่าตวั
้ น
สาเหตุ เพราะอุตสาหกรรมเหล่านี เป็
กิจการของบริษท
ั ต่างชาติ
่ สว
–ไทยมีสน
ิ ค้าส่งออกทีมี
่ นแบ่งตลาด
่
สู งมากเพียงไม่กชนิ
ี่ ด ไม่เพียงพอทีจะ
ก่อให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมใน
..26
่
่
้
่
2. ข้อคิดเห็นเพิมเติ
มของผู ว้ จ
ิ ารณ์
้ ควรมีมาตรการสนับสนุ น
–ดังนัน
ให้บริษท
ั ของคนไทยเข้าสู ่
่ เทคโนโลยีขน
อุตสาหกรรมทีใช้
ึ้
สู ง
่ าคัญ คือ ไทย จะ
–ความท้าทายทีส
สามารถสร ้างศ ักยภาพของ
อุตสาหกรรมไทยได้เพียงใด
้ ดจากการลงทุน
ศ ักยภาพนี เกิ
ยกระดับคุณภาพของคน
27
3. ไทยประสบความสาเร็จ
ด้าน industrial
diversification แต่ไม่ม ี
สถาบัน กติกาและแรงจู งใจ
แรงกดดันให้อต
ุ สาหกรรม
สามารถก้าวข้ามไปสู ่การ
ยกระดับการพัฒนา
อุตสาหกรรม (industrial
upgrading)
28
3. ไทยประสบความสาเร็จด ้าน industrial diversification แต่ไม่สามารถก ้าวข ้าม
่ ารยกระดับ
ไปสูก
การพัฒนาอุตสาหกรรม (industrial upgrading)
้
• แนวคิดขันตอนการพั
ฒนาก ับ
diversification / upgrading (Imb and
Wacziarg 2003)
– ระด ับการพัฒนาก ับ diversification มี
่
ความสัมพันธ ์แบบต ัว U-ควา
่
– ประเทศรายได้ตาจะก้
าวสู ป
่ ระเทศรายได้ปาน
กลางต้องสามารถกระจายสาขาการผลิตใหม่ๆ
ได้ (diversification)
– ณ ระดับรายได้ตอ
่ หัว $9,000 diversification
่
จะเริมลดลง
เกิด industrial upgrading
้
– ความสาเร็จในการก้าวขึนเป็
นประเทศรายได้
่
ปานกลางเกิดจากการระดมทร ัพยากรทีแฝงอยู
่
่ ดการลงทุนใหม่
มาใช้ อย่างเต็มทีเกิ
29
้
3. ไทยประสบความสาเร็จด ้าน industrial diversification แต่ไม่สามารถก ้าวข ้าม
่ ารยกระดับ
ไปสูก
การพัฒนาอุตสาหกรรม (industrial upgrading)
diversification
9,000
รายได ้ต่อหัว ($)
30
3. ไทยประสบความสาเร็จด ้าน industrial diversification
• การจะยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรม
ไม่สามารถอาศ ัยกลไกตลาดได้
่ า
– แต่ตอ
้ งมีสถาบัน/กฎกติกาใหม่เพือท
่
้ั
หน้าทีประสานกิ
จการต่างๆตงแต่
ตน
้ น้ าถึง
ปลายน้ าและให้ขอ
้ มู ลข่าวสารต่างๆ
(coordination failure & information
costs)
่
• เงื่อนไขสาคัญทีจะท
าให้ฝ่ายการเมืองมี
แรงจู งใจในการสร ้างสถาบันประสานการ
ยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรม คือ
่ ดขึนต่
้ อเนื่ อง
– แรงกดดน
ั จากวิกฤตทีเกิ
– แรงงานมีพลังต่อรอง
้
้
• แต่เงื่อนไขทังสองไม่
เกิดขึนในประเทศ
31
3. ไทยประสบความสาเร็จด ้าน industrial diversification
• ถึงแม้วา
่ ไทยจะประสบวิกฤต
้
เศรษฐกิจ 3 ครง้ั นับตังแต่
ร ัฐบาลพลเอกเปรม
– แต่การปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
นโยบายการค้า และสถาบันการเงิน ทาให้
เศรษฐกิจไทยฟื ้ นตัวอย่างรวดเร็ว จนหมดแรง
่
กดด ันต่อภาคการเมืองทีจะปฏิ
รูปสถาบันการ
จัดการทางเศรษฐกิจ
่
– BOI พยายามปร ับระบบแรงจูงใจใหม่เพือเน้
น
่ ทก
การส่งเสริมอุตสาหกรรมทีใช้
ั ษะและ
เทคโนโลยี แต่ไม่สาเร็จ
่ ร ับการส่งเสริมมีจานวน
– ประเภทกิจการทีใด้
32
่
จานวนประเภทกิจการทีสามารถขอร
ับ
สิทธิประโยชน์BOI
กิจการ
จานวน
กิจการ
่
กิจการทีให้
ความสาคั
ญเป็น
พิเศษ
กิจการ
เป็น
ประโยช
น์ต่อ
ประเทศ
มาตร
า 31(1)
31(2)
31(3)
มาตร
า 36(1)
36(2)
งดเว้น
ภาษีอากร
่
เครืองจั
ก
รขาเข้า
เว้น
ภาษี
เงินได้
นิ ต ิ
บุคคล
สิทธิสาหร ับ
อุตสาหกรรม
อิเล็กทรนิ กส ์
เว้นอากร
่
เครืองจั
กร
ตามสิทธิ
สาหร ับ
อุตสาหกรรม
อิเล็กทรนิ กส ์
สิทธิทไม่
ี่
่
เกียวข้อ
งก ับ
อากร
สนับสนุ
น
ทางการ
เงิน
เกษตรกรรมและ
ผลผลิตจาก
การเกษตร
21
21
5
0
0
0
0
0
0
0
0
เหมืองแร่ เซรา
มิกส ์ และโลหะ
้ ลฐาน
ขันมู
19
6
3
1
1
0
0
0
0
0
0
อุตสาหกรรมเบา
ผลิตภัณฑ ์โลหะ
่
เครืองจั
กร และ
อุปกรณ์ขนส่ง
16
1
0
0
0
2
3
0
0
0
0
20
11
5
0
1
4
3
0
0
0
0
อุตสาหกรรม
อิเล็กทรอนิ กส ์
และ
่
เครืองใช้
ไฟฟ้า
9
5
3
0
0
0
0
5
6
0
0
เคมีภณ
ั ฑ์
กระดาษ และ
พลาสติก
16
2
2
0
0
5
4
0
0
0
0
กิจการบริการและ
สาธารณู ปโภค
28
14
11
0
2
10
8
0
0
5
1
3. ไทยประสบความสาเร็จด ้าน industrial diversification
• ความสาเร็จในการส่งเสริมให้บริษท
ั ข้ามชาติ
เข้ามาพัฒนาอุตสาหกรรมส่งออก ทาให้
บริษท
ั ไม่มค
ี วามจาเป็ นต้องลงทุนพัฒนาฝี มือ
แรงงาน
– การลงทุนพัฒนาฝี มือแรงงานของบริษท
ั ข้าม
ชาติ ส่วนใหญ่เป็ น OJT เฉพาะในกิจการจึงมี
่
spillover ตา
– บริษท
ั ข้ามชาติไม่มแ
ี รงจู งใจพัฒนาศ ักยภาพ
ของซ ัพพลายเออร ์ไทย เพราะสามารถซือ้
้ วนทีต้
่ นทุนตาจากต่
่
ชินส่
างประเทศ
• แรงงานไทยรวมตัวไม่ได้ออ
่ นแอ ขาดอานาจ
ต่อรองกับนายจ้าง
– การพัฒนาก่อให้เกิดตลาดแรงงานแบบทวิ
ลักษณ์แรงงาน 60-70% อยู ่นอกระบบ เพราะ
ภาคอุตสาหกรรม(โดยเฉพาะ MNC) จ้าง
35
3. ไทยประสบความสาเร็จด ้าน industrial diversification
• แม้ร ัฐไทยจะมีนโยบายพัฒนาฝี มือ
แรงงาน แต่ไม่เคยประสบความสาเร็จ
เพราะหน่ วยงานร ัฐต่างคนต่างทา
(fragmented) (Ritchie 2010)
• นโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยตรง
จากต่างชาติกเ็ ป็ นนโยบายแบบ
่ เกิด
“passive learning” ทีไม่
spillover ต่อบริษท
ั ในประเทศ เพราะ
ปั ญหาของนโยบายพัฒนาแรงงาน
36
3. ไทยประสบความสาเร็จด ้าน industrial diversification แต่ไม่สามารถก ้าวข ้าม
่ ารยกระดับ
ไปสูก
การพัฒนาอุตสาหกรรม (industrial upgrading)
่ น อุตสาหกรรมต้อง
– แต่การจะเติบโตแบบยังยื
มีความชานัญเฉพาะอย่าง มีสาขาการผลิต
้ สาขาการ
น้อยลง แต่ระดบ
ั การพัฒนาลึกขึน
่
ผลิตมีความเชือมโยงก
ัน
่
– การเปลียนแปลงจาก
diversification สู ่
upgrading จะต้องอาศ ัยการสร ้าง นวตก
รรม การพัฒนาฝี มือแรงงานให้ปร ับตัวกับ
เทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนการลงทุนใน
้
ๆ เช่น IT
โครงสร ้างพืนฐานใหม่
่
้
– กลไกตลาดจะไม่กอ
่ ให้เกิดสิงเหล่
านี เพราะ
ปั ญหาสารสนเทศ และ coordination
failure
้ งต้องมีการสร ้างกฎกติกา สถาบันใหม่37
– ดงั นันจึ
ขอบคุณคร ับ
38