เครื่องมือและการจัดการเกี่ยวกับเครื่องมือ

Download Report

Transcript เครื่องมือและการจัดการเกี่ยวกับเครื่องมือ

การจัดการเครื่องมือแพทย์
เพื่อความปลอดภัย
ก ุลญนาท ผ่องแผ้ว
แนวทางการบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์

มีคณะกรรมการบริหารจัดการ
เครื่องมือ โดยมาจากสหวิชาชีพ
 กาหนดนโยบายของโรงพยาบาลใน
เรื่องการบริหารจัดการเครื่องมือ
แพทย์
 จัดตัง้ คณะอนุกรรมการในการ
ทางานด้านต่างๆเกี่ยวกับ
เครื่องมือ
 กากับดูแลศูนย์เครื่องมือแพทย์
คณะอน ุกรรมการ 3 ช ุด
1. คณะอนุกรรมการซ่อมแซมและบารุงรักษาเครื่องมือแพทย์
สหสาขาวิชาชีพ จานวน 8 คน
2. คณะอนุกรรมการการใช้โปรแกรมการบารุงรักษาเครื่องมือ
แพทย์
สหสาขาวิชาชีพ จานวน 7 คน
3. คณะอนุกรรมการติดตามความพร้อมใช้เครื่องมือแพทย์และ
การอบรมใช้เครื่องมือแพทย์
สหสาขาวิชาชีพ จานวน 9 คน
นโยบายการบริหารจัดการเครื่องมือ
 มีระบบบริหารจัดการเครื่องมือให้เพียงพอและพร้อมใช้การสารอง
พร้อมใช้งาน
 มีระบบการดูแลรักษาและซ่อมแซมเครื่องมือที่มป
ี ระสิทธิภาพ
 มีการเพิ่มพูนความรูแ้ ละทักษะแก่ผใู้ ช้ให้สามารถใช้เครื่องมือได้
ถูกต้องและปลอดภัย
 มีระบบการจัดหาเครื่องมือที่มป
ี ระสิทธิภาพ
แนวทางการจัดการเครือ่ งมือแพทย์

การคัดเลือกจัดหาเครื่องมือแพทย์
 การจัดการความเพียงพอของเครื่องมือและระบบ
สารองเครื่องมือ
 การเพิ่มพูนความรูแ้ ก่ผใู้ ช้เครื่องมือ
 การบารุงรักษาเครื่องมือ
การคัดเลือกจัดหาเครือ่ งมือแพทย์
หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกจัดหา

มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเครื่องมือ
- เครื่องมือคุม้ ค่า มีประสิทธิภาพ มีศกั ยภาพตามต้องการ
ราคาถูก ปลอดภัย
- การคานึงถึงการยอมรับของผูใ้ ช้ การบริการหลังการขาย
- การสารวจความต้องการใช้เครื่องมือในหน่วยงาน
- การกาหนด Spec โดยผูใ้ ช้งานเป็ นกรรมการ
การจัดซื้อเครือ่ งช่วยหายใจใน ICU
ปี 2549-2552 จานวน 31 เครื่อง
การจัดซื้อเครือ่ งช่วยหายใจ หอผูป้ ่ วยสามัญ
ปี 2549-2552 จานวน 34 เครือ่ ง
การจัดซื้อเครื่อง Infusion pump
ปี 2549 จานวน 42 เครื่อง
ปี 2550 จานวน 31เครื่อง
ปี 2552จานวน 31เครื่อง
การจัดการความเพียงพอของเครือ่ งมือ
และระบบสารองเครือ่ งมือ
การจัดการความเพียงพอของเครือ่ งมือ
 การกาหนดระดับเครือ
่ งมือที่ควรมีในหน่วยงาน
 ประเมินความเพียงพอของเครือ
่ งมือ
- เครือ่ งวัดความดันโลหิต เครือ่ งโมนิเตอร์ เครือ่ ง
pulse oximeter เครือ่ ง Infusion pump
เครือ่ ง Defib เครือ่ งช่วยหายใจ
 จัดทาแผนการจัดซื้อเครือ
่ งมือ
การกาหนดระดับเครือ่ งมือขัน้ ต่าในหน่วยงาน
ประเมินความเพียงพอของเครือ่ งมือ

สารวจเครื่องมือแพทย์
 วางแผน 3 ปี ในการจัดซื้อเครื่องมือให้เพียงพอ
ตัวอย่ าง
Infusion pump
ระบบสำรองเครือ
่ งมือ
 มีศนู ย์เครื่องมือแพทย์เป็น Center ในการสารอง
เครื่องมือแพทย์ที่มีความสาคัญ
- เครื่องช่วยหายใจ
- เครื่อง Infusion pump
- เครือ่ งวัดความดันโลหิตอัตโนมัติ
- เครื่อง Suction
- Laryngoscope
เครือ่ งมือสารอง
การเพิ่มพูนความรูแ้ ก่ผใ้ ู ช้เครือ่ งมือ

การจัดอบรมภายในโรงพยาบาล
 การจัดอบรมเครื่องมือแพทย์ใน
ร.พประจาปี ทุกปี
- การใช้เครื่องช่วยหายใจในหอ
ผูป้ ่ วย
- การบารุงรักษาเครื่องมือ
แพทย์
 การให้ความรูเ้ ครื่องมือแพทย์ใน
หน่วยงาน
- จัดการอบรมโดยเจ้าหน้าที่
ในหน่วยงาน/บริษทั
 การให้ความรูเ้ ครื่องมือใหม่แก่
ผูใ้ ช้งานครบ 100%
- กาหนดลงใน Spec ทุกรายการ





การจัดส่งบ ุคลากรประช ุม/
อบรมเกี่ยวกับเครื่องมือ
ภายนอก ร.พ
พยาบาลอบรมเรื่อง เครื่องมือ
แพทย์ในหอผูป้ ่ วยวิกฤตสาหรับ
พยาบาล ปี ละ 2 รุ่น ปั จจุบนั รุ่นที่
18
เจ้าหน้าที่อบรม การบริหาร
จัดการระบบบารุงรักษาใน
โรงพยาบาล
ประชุมของหน่วยช่วยหายใจ ร.พ
ภูมพิ ล
อบรม Workshop การใช้
เครื่องมือพิเศษต่างๆ ทัง้ จาก
ภาคเอกชนและภาครัฐ
การบาร ุงรักษาเครือ่ งมือ
ดาเนินการ 3 ร ูปแบบ
1.การบาร ุงรักษาภายใน โดยหน่วยงานเป็นผูป้ ฏิบตั ิ
มีร ูปแบบแนวทางการปฏิบต
ั ิในเครือ่ งมือ High
risk / high volume 9 ชนิด
 เครื่องช่วยหายใจ
 เครื่อง DEFIBBRILATOR
เครื่อง INFUSION PUMP
 เครื่อง SYRINGE PUMP
 เครื่องติดตามการทางานของหัวใจ
 เครื่องวัดความดันโลหิต
 เครื่อง PULSE OXIMETER
 เครื่อง SUCTION
 เครื่องชัง่ นา้ หนัก

แนวทางการปฏิบตั ิ การตรวจสอบความพร้อมใช้
ท ุกหน่วยงานนาไปใช้งาน
เครือ่ งวัดความดันโลหิต
2.การบาร ุงรักษาภายใน โดยนักอ ุปกรณ์ชีวการแพทย์
โดยดาเนินการบาร ุงรักษา 7 ชนิด
 เครื่อง DEFIBBRILATOR
เครื่อง INFUSION PUMP
 เครื่อง SYRINGE PUMP
 เครื่องติดตามการทางานของหัวใจ
 เครื่องวัดความดันโลหิต
 เครื่อง PULSE OXIMETER
 เครื่อง SUCTION

การบาร ุงรักษา เครือ่ ง EKG
การบาร ุงรักษา เครือ่ ง INFUSION PUMP
3.การบาร ุงรักษาโดยการจัดจ้างบริษทั ภายนอก

เครือ่ ง High risk และ High technology
ได้แก่
- เครือ่ งดมยาสลบ
- เครือ่ งช่วยหายใจ
- เครือ่ งตัดจี้ไฟฟ้า
- เครือ่ งไตเทียม
- เครือ่ งอบแก๊ส/เครือ่ งอบนึ่งไอน้า
- เครือ่ ง Defib
- เครือ่ งส่องตรวจพิเศษต่างๆ ได้แก่ เครือ่ งส่องตรวจระบบ
ทางเดินอาหารส่วนต้น เครือ่ งส่องตรวจระบบทางเดินอาหารส่วน
ปลาย
ตัวชีว้ ดั ผลการดาเนินงาน (Performance Indicator)
1. อัตราการตรวจสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตามแผนการ
บารุงรักษาประจาปี
- ปี 2550
95% ปี 2551
94%
2. อัตราอุบตั กิ ารณ์เครื่องช่วยหายใจไม่เพียงพอ
- ปี 2550
0% ปี 2551
0%
3.อัตราอุบตั กิ ารณ์การเกิดอุบตั เิ หตุขณะใช้เครื่องมือแพทย์
- ปี 2550
0% ปี 2551
0%
ปัญหาอ ุปสรรคในการบาร ุงรักษาเครือ่ งมือแพทย์
1. เครื่องมือแพทย์สว่ นหนึ่งอาย ุการใช้งานมาก
และรนุ่ ใหม่ๆมีเทคโนโลยีสงู
2. ผูใ้ ช้งานมีความรู้ ความชานาญในการใช้
และบาร ุงรักษาไม่เพียงพอ
3. ระบบข้อมูล/ประวัติเครือ่ งมือแพทย์ยงั ไม่สมบูรณ์
ข้อเสนอแนะจากการ ICV 2549
 ขาดแนวทางปฏิบต
ั ิในเรื่องความพร้อมใช้ของ
เครือ่ งมือ
 ผูใ้ ช้ตอ้ งดูแลเครื่องมือ / หลายแนวทางปฏิบต
ั ิ
 ขาดการบารุงรักษาเชิงป้องกัน และตรวจสอบ
มาตรฐาน
 ควรดาเนินการเรือ
่ ง การลด DOWN TIME ใน
การเสียของเครื่องมือแพทย์
จากปัญหาเรือ่ ง ขาดแนวทางปฏิบตั ิในเรือ่ งความ
พร้อมใช้ของเครือ่ งมือ

จัดตัง้ คณะอน ุกรรมการ
ติดตามความพร้อมใช้
เครือ่ งมือแพทย์และการ
อบรมใช้เครือ่ งมือแพทย์
จานวน 7 คน

ได้จดั ทาแนวปฏิบตั ิที่เป็น
รูปธรรมในด้านความพร้อมใช้
เครือ่ งมือแพทย์
 จัดทาคูม
่ ือความพร้อมใช้
เครือ่ งมือแพทย์ให้เป็น
แนวทางเดียวกัน
 จัดการอบรมการปฏิบต
ั ิใน
เรื่องความพร้อมใช้
เครือ่ งมือแพทย์ให้แก่
พยาบาลและเจ้าหน้าที่ใน
การอบรมประจาปี 2550
จากปัญหาเรือ่ ง การลด DOWN TIME ในการเสียของเครือ่ งมือแพทย์
จัดตัง้ คณะทางาน 2 ช ุด
1. คณะอน ุกรรมการซ่อมแซม
และบาร ุงรักษาเครื่องมือ
แพทย์จานวน 8 คน
2. คณะอน ุกรรมการการใช้
โปรแกรมการบาร ุงรักษา
เครือ่ งมือแพทย์
จานวน 7 คน
- ดาเนินการการจัดการข้อมูลใน
เครือ่ งมือแพทย์โดยใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ เพื่อดาเนินการซ่อม
เครือ่ งมือแพทย์ ON-LINEเพื่อเก็บ
ข้อมูลการลด DOWN TIME ในการ
เสียของเครือ่ งมือแพทย์
** อยูใ่ นขัน้ ตอนกาลังดาเนินการ
จุดเน้นการพัฒนาปี 2551-2552

Safety ความปลอดภัยของ
ผูป้ ่ วยและผูใ้ ช้เครือ่ งมือ

การเพิ่มพูนความรูแ้ ละทักษะแก่
ผูใ้ ช้เครื่องมือ
 จัดการอบรมระยะสัน
้ การใช้
เครือ่ งมือที่สาคัญแก่ผใ้ ู ช้งาน
ได้แก่ เครือ่ งช่วยหายใจ เครื่อง
กระต ุกหัวใจ ฯ
 จัดทาโปสเตอร์วิธีการทา
หัตถการที่สาคัญที่ใช้เครื่องมือ
แพทย์ที่สาคัญ เช่น การทา
aterial line ฯ
 จัดทานวัตกรรมเกี่ยวกับ
เครือ่ งมือแพทย์ในหอผูป้ ่ วย
เกี่ยวกับการใช้/ด ูแลผูป้ ่ วย
จุดเน้นการพัฒนาปี 2551-2552

มีระบบการด ูแลรักษาและ
ซ่อมแซมเครือ่ งมือแพทย์ที่มี
ประสิทธิภาพ

ดาเนินการเรือ่ งการซ่อม
เครือ่ งมือ on-line โดยใช้
โปรแกรม PMK ให้สามารถใช้
งานได้
 ติดตาม/ประเมินการใช้แบบ
ตรวจความพร้อมใช้เครือ่ งมือ
แพทย์ให้ท ุกหน่วยงาน ให้
ดาเนินการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
จุดเน้นการพัฒนาปี 2551-2552

กาหนดตัวชี้วดั



อัตราเครือ่ งมือที่ได้รบั การสอบ
เทียบ/บาร ุงรักษาเชิงป้องกัน
ตามเวลาที่กาหนด
อัตราการตรวจสอบความพร้อม
ใช้เครือ่ งมือแพทย์ของหน่วยงาน
ครบท ุกหน่วยงาน
อ ุบัติการณ์ความไม่ปลอดภัย
ของเครือ่ งมือแพทย์

ประสานงานกับหน่วยงานใน
การเก็บข้อมูล

หอผูป้ ่ วย
 ฝ่ายพัสด ุ
 งานไฟฟ้าและปรับอากาศ
(เครือ่ งมือแพทย์)
จบการนาเสนอ