ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ การ

Download Report

Transcript ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ การ

การประชุมสัมมนาผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทัว่ ประเทศ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๓
วันพฤหัสบดีท่ ี ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน่ กรุ งเทพมหานคร
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
การวางกรอบการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) ให้สอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการศึกษาของประเทศ ดังนี้
๑. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ -๒๕๖๑
๒. กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑
ก. ผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๒
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
คุณภาพผูเ้ รียน/สถานศึกษา ยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.
ขาดแคลนครูท้งั เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
หน่วยปฏิบตั ยิ งั ไม่มีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารและจัดการศึกษาเท่าที่ควร
ผูเ้ รียนไม่ได้รบั โอกาสทางการศึกษาอย่างทั ่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาปฐมวัย เด็กตกออก
กลางคัน เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การผลิตและพัฒนากาลังคนไม่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
การเงินเพื่อการศึกษา ขาดการระดมทุนจากทุกภาคส่วน และการจัดสรรงบประมาณไม่
สัมพันธ์กบั ผลผลิต
ขาดการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งเนื้อหาผ่านสื่อ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การบังคับใช้กฎหมายบางเรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ
ขาดเนื้อหาและวิธีการที่เหมาะสมที่ทาให้การศึกษาตลอดชีวิต การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยสัมฤทธิ์ผล
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑
ข. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
วิสยั ทัศน์ : คนไทยได้เรียนรูต้ ลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
ปรัชญา : การเรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ คือ การเรียนรูผ้ ่านกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต
เป้าหมายระยะยาว : ภายในปี ๒๕๖๑ มีการปฏิรปู การศึกษาและการเรียนรูอ้ ย่างเป็ น
ระบบ โดยเน้นประเด็นหลักสามประการ คือ
•พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรูข้ องคนไทย
•โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู ้
•ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ได้กาหนดความเชื่อมโยง IQA กับ EQA ไว้ในหมวด 1 บททั ่วไป
ข้อ ๓ ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย การประเมินคุณภาพภายใน การติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ข้อ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย การประเมินคุณภาพภายนอก และการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาดาเนิ นการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกปี โดย
เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ ทั้งนี้ ด้วยการสนับสนุ นจากต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของชุมชน
ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา หน่ วยงานต้นสังกัดและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาและเปิ ดเผย
รายงานนั้นต่อสาธารณชน
ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปประกอบการ
จัดทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๗ การประกันคุณภาพภายนอกให้คานึ งถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้
(๑) เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(๒) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม และโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความ
เป็ นจริงและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
(๓) สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุง่ หมายและหลักการศึกษา
ของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย ซึ่งสถานศึกษาสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผูเ้ รียน
(๔) ส่งเสริม สนับสนุ น และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา
(๕) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ
เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
(๖) ความเป็ นอิสระ เสรีภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจ
และเป้าหมายของสถานศึกษา
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๘ ในการประกันคุณภาพภายนอก ให้สานักงานทาการประเมินคุณภาพ
ภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุม
หลักเกณฑ์ในเรื่อง ดังต่อไปนี้
(๑) มาตรฐานที่วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภท
การศึกษา
(๒) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการบริหารจัดการศึกษา
(๓) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
(๔) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกันคุณภาพภายใน
ในกรณีที่มีความจาเป็ นต้องทาการประเมินคุณภาพภายนอกจากมาตรฐานอื่น
เพิ่มเติมจากมาตรฐานที่กาหนดในวรรคหนึ่ ง ให้สานักงานประกาศกาหนดมาตรฐานอื่น
ได้โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๙ วิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็ นไปตามระเบียบที่สานักงานกาหนด
ข้อ ๔๐ ในกรณีที่ผลการประเมินคุณภาพภายนอกแสดงว่า ผลการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาได้ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ให้สานักงานแจ้งเป็ นหนังสือพร้อมแสดงเหตุผลที่
ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแก่หน่ วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษานั้น และให้สถานศึ กษานั้น
ปรับปรุงแก้ไขโดยจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพและดาเนิ นการตามแผน เพื่อขอรับการ
ประเมินใหม่ภายในสองปี นับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งผลการประเมินครั้งแรก
ให้สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสานักงานเพื่อพิจารณาอนุ มตั ิภายใน
สามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งผลการประเมินตามวรรคหนึ่ ง
ข้อ ๔๑ ในกรณีที่สถานศึกษาไม่ดาเนิ นการปรับปรุงแก้ไขภายในกาหนดเวลาตามข้อ ๔๐
ให้สานักงานรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน คณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหน่ วยงานต้นสังกัดอื่น แล้วแต่กรณี
เพื่อพิจารณาสัง่ การต่อไป
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบแรก
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (๒๕๔๔-๒๕๔๘)
ั ัด
สงก
ได้มาตรฐาน
ไม่ได้มาตรฐาน
รวม
ดี
พอใช ้
ปร ับปรุง
สพฐ.
๑๐,๑๔๗
๓๒.๘๒%
๒๐,๒๐๗
๖๕.๓๕%
๕๖๕
๑.๘๓%
๓๐,๙๑๙
เอกชน
๑,๓๐๕
๔๗.๗๓%
๑,๓๖๒
๔๙.๘๒%
๖๗
๒.๔๕%
๒,๗๓๔
ท้องถิน
่
๖๔๓
๖๙.๔๔%
๒๗๗
๒๙.๙๑%
๖
๐.๖๕%
๙๒๖
พุทธศาสนา
๒๘
๗.๕๑%
๓๒๖
๘๗.๔๐%
๑๙
๕.๐๙%
๓๗๓
ตชด.
๑๔
๘.๔๓%
๑๔๒
๘๕.๕๔%
๑๐
๖.๐๒%
๑๖๖
รร.สาธิต
๓๐
๗๓.๑๗%
๑๐
๒๔.๓๙%
๑
๒.๔๔%
๔๑
รวม
๑๒,๑๖๗
๓๔.๖%
๒๒,๙๙๒
๖๕.๔%
๓๕,๑๕๙
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง
ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
ั ัด
สงก
ระด ับปฐมว ัย
ระด ับประถม-ม ัธยม
รวม
ร ับรอง
ไม่ร ับรอง
ร ับรอง
ไม่ร ับรอง
สพฐ.
๒๐,๘๙๘
๘๑.๐๕%
๔,๘๘๕
๑๘.๙๕%
๒๓,๗๙๑
๘๑.๘๒%
๕,๒๘๕
๑๘.๑๘%
๒๙,๐๘๑
เอกชน
๒,๐๖๘
๘๘.๓๔%
๒๗๓
๑๑.๖๖%
๑,๕๒๙
๘๘.๒๘%
๒๐๓
๑๑.๗๒%
๒,๖๐๐
ท้องถิน
่
๔๕๐
๙๒.๕๙%
๓๖
๗.๔๑%
๔๖๑
๘๗.๙๘%
๖๓
๑๒.๐๒%
๕๓๔
กทม.
๔๐๘
๙๔.๘๘%
๒๒
๕.๑๒%
๔๑๗
๙๕.๘๖%
๑๘
๔.๑๔%
๔๓๕
รร.สาธิต
๒๓
๙๕.๘๓%
๑
๔.๑๗%
๓๒
๙๖.๙๗%
๑
๓.๑๓%
๓๘
พุทธศาสนา
-
-
๙
๘๑.๘๒%
๒
๑๘.๑๘%
๑๑
ตชด.
-
๑
๑๐๐.๐๐%
-
๑
๑๐๐.๐๐%
๑
รวม
๒๓,๘๔๗
๘๒.๐๕%
๕,๒๑๘
๑๗.๙๕%
๒๖,๒๓๙
๘๒.๔๘%
๕,๕๗๓
๑๗.๕๒%
๓๒,๗๐๐
ผลการประเมิน
ระดับอาชีวศึกษา
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง
ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
ประเภท
สถาบัน
วิทยาลัย
ของรัฐ
รับรอง
จานวนสถานศึกษา
ไม่รบั รอง รอพินิจ
๓๖๔
๒๗
๑๔
๘๗.๕๐% ๖.๔๙% ๓.๓๗%
โรงเรียน
๒๕๖
๙๔
๒๒
เอกชน ๖๖.๓๒% ๒๔.๓๕% ๕.๗๐%
รวม
๖๒๐
๑๒๑
๓๖
๗๗.๓๑% ๑๕.๐๙% ๔.๔๙%
ไม่ตดั สิน
ผล
รวม
๑๑
๔๑๖
๒.๖๔%
๑๔
๓๘๖
๓.๖๓%
๒๕
๘๐๒
๓.๑๒%
ผลการประเมิน
ระดับอุดมศึกษา
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบแรก (๒๕๔๔-๒๕๔๘)
ประเภท
รัฐ (๒๔)
เอกชน (๕๔)
ราชภัฏ (๔๑)
ราชมงคล (๓๘)
เฉพาะทาง (๙๓)
วิทยาลัยชุมชน (๑๐)
รวม (๒๖๐)
ระดับคุณภาพ
ค่าเฉลี่ย
๒.๐๐ ๓.๐๐ ๔.๐๐ ๕.๐๐
๑
๕
๑
๒ ๓.๗๙ ดี
๗
๓๕ ๑๑
๑ ๓.๑๑ พอใช้
๑
๑๖ ๒๓
๑ ๓.๕๙ ดี
๘
๒๖
๔
๐ ๒.๘๙ พอใช้
๒
๒๖ ๖๓
๒ ๓.๗๐ ดี
๒
๗
๑
๐ ๒.๙๐ พอใช้
๒๑ ๑๑๕ ๑๑๘ ๖ ๓.๔๒ พอใช้
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสอง (๒๕๔๙-๒๕๕๓)
ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
ประเภท
รับรอง
รอพินิจ
ไม่รบั รอง
ไม่ตดั สินผล
รวม
ม.ในกากับ
๑๓
๑๔
๓๘
๙
๕๓
๑๕
๗๘
๒๒๐
๑
๒
๕
๑
๑
๑๐
๓
๓
๖
๑๓
๖
๑
๒๐
๑๓
๒๘*
๔๐
๙
๖๗
๒๐
๗๙
๒๕๒
ม.รัฐ
ม.ราชภัฏ
ม.ราชมงคล
ม.เอกชน
วิทยาลัยชุมชน
เฉพาะทาง
รวม
* รวมการประเมินสถาบันการพลศึกษารายวิทยาเขต จานวน ๑๓ วิทยาเขต
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
 Assess to Improve
 Score Increasing
 Continuous Development
Improving Quality
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
หรื อ
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์





IQA + EQA
QE + QA + QI
Collaboration System
ONESQA + Institution
Partnership
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
หมื่นมิตร...สูว่ ิถีชีวิตคุณภาพ
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
แนวทางการประเมินคุณภาพ
ภายนอกของ สมศ. รอบสาม
แนวทางที่ ๑ : มาตรฐาน (ขั้นต ่า) กลาง
แนวทางที่ ๒ : ๑ ช่วย ๙ (๑ ช่วยก้าว)
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
การประเมินแนวทางที่ ๑
๑
ตัวบ่งชี้
๒
ตัวบ่งชี้
๓
ตัวบ่งชี้
มาตรการ
พื้นฐาน
อัตลักษณ์
ส่งเสริม
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
เปรียบเทียบมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
รอบ ๑-๒-๓
ระด ับ
ึ ษา
การศก
รอบ ๑
รอบ ๒
รอบ ๓
มาตรฐาน
ต ัวบ่งช ี้
มาตรฐาน
ต ัวบ่งช ี้
มาตรฐาน
ต ัวบ่งช ี้
้ ฐาน
พืน
๑๔
๕๓
๑๔
๖๐
๔
๑๑
อาชวี ะ
๘
๓๐
๖
๒๕
๔
๑๘
ึ ษา
อุดมศก
๘
๒๘
๗
๔๘
๔
๑๘
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
(ตบช.ร่วม ๓๙)
(ตบช.เฉพาะ ๙)
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘)
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
ตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม
(พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านผลผลิต
๑. ผูเ้ รียนมีคณ
ุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมทีพ
่ งึ ประสงค์
๒. ผูเ้ รียนมีสข
ุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด
่ ี
ต ัวบ่งช ี้
๓. ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู ้ และเรียนรูด
้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเนือ
่ ง
้ ฐาน
พืน
ั
๔. ผูเ้ รียนคิดเป็น ทาเป็น และปร ับต ัวเข้าก ับสงคมได้
ด้านผลล ัพธ์
ั
ึ ษา
๕. ผลสมฤทธิ
ท
์ างการเรียนของผูเ้ รียน และผูเ้ รียนมีการศก
ั
ี ตามศกยภาพของผู
ต่อหรือประกอบอาชพ
เ้ รียนและบริบท
ึ ษา
ของสถานศก
ด้านการจ ัดการเรียนการสอน
ิ ธิผลของการจ ัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียน
๖. ประสท
เป็นสาค ัญ
ต ัวบ่งช ี้
ึ ษา
ด้านบริหารจ ัดการศก
้ ฐาน
พืน
ิ ธิภาพของการบริหารจ ัดการและการพ ัฒนา
๗. ประสท
ึ ษา
สถานศก
ด้านการประก ันคุณภาพภายใน
ั ัด
ึ ษาและต้นสงก
๘. การประก ันคุณภาพภายในโดยสถานศก
เป็นไปตามกฎกระทรวง
ต ัวบ่งช ี้
อ ัตล ักษณ์
ต ัวบ่งช ี้
มาตรการ
่ เสริม
สง
ึ ษาให้บรรลุเป้าหมายตามว ัตถุประสงค์
๙. การพ ัฒนาสถานศก
ของการจ ัดตงั้ หรือจุดเด่น หรือล ักษณะพิเศษของประเภท
โรงเรียน
่ เสริมเพือ
ึ ษาเข้าสูม
่ าตรฐาน
๑๐. มาตรการสง
่ พ ัฒนาสถานศก
ร ักษามาตรฐาน และยกระด ับมาตรฐานโดยการกาหนด
มาตรการร่วมก ันก ับหน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข้อง ตามข้อตกลงใน
้ ร ัพยากรก ับร ัฐบาล เพือ
การดาเนินงานและการใชท
่ ให้
ึ ษา
สอดคล้องก ับแนวทางการปฏิรป
ู การศก
่ เสริมการพ ัฒนาผูเ้ รียนให้มท
๑๑. มาตรการสง
ี ักษะชวี ต
ิ ทีด
่ ี
ั
มีภม
ู ค
ิ ม
ุ ้ ก ัน เพือ
่ การเป็นพลเมืองทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่าของสงคม
สอดคล้องก ับแนวทางการพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ทย
ี่ ง่ ั ยืน
การประเมินแนวทางที่ ๒
“๑ ช่วย ๙”
แนวคิด : เพือ่ ขับเคลื่อนให้สถานศึกษามีศกั ยภาพสามารถพัฒนาและเพิม่ พูน
ศักยภาพตนเองอย่างต่อเนื่องสูค่ วามเป็ นเลิศ
เงื่อนไข : - ประเมินสถานศึกษาตามความสมัครใจ
- ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง (พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๓)
ในระดับดีมาก
- สถานศึกษา ๑ แห่งช่วยสถานศึกษา ๙ แห่งให้มผี ลประเมินดีขน้ึ
การพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐาน
แนวคิด
• ทัศนคติ
• พึ่งพาตนเอง
• วิถีชีวิต
วิธีการ
• พัฒนาตนเอง
- ประเมินตนเอง (Internal Quality Assessment)
- ต่อเนื่องสมา่ เสมอ (หลักการ Better)
- ร่วมมือพัฒนา (เพื่อนช่วยเพื่อน)
• พัฒนาผ่านกระบวนการประเมิน จาก สมศ.
- ความร่วมมือ
- หน่วยประเมิน/ ผูป้ ระเมิน
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์