ไสลด์ประกอบการบรรยาย - ประกันคุณภาพการศึกษา

Download Report

Transcript ไสลด์ประกอบการบรรยาย - ประกันคุณภาพการศึกษา

การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ เรื่ อง “การประกันคุณภาพการศึกษา”
วันศุกร์ท่ ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ ณ ห้อง Meeting A อาคารเรียนรวม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา
สภาวะการเปลี่ยนแปลง
การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑




ความจาเป็ น
ค่านิ ยม
ประชานิ ยม
ธุรกิจ
ฯลฯ
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๒
ประเภท/ลักษณะ/พันธกิจ

มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ / มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง
 มหาวิทยาลัยวิจย
ั / มหาวิทยาลัยเน้นการสอน
 ตรี / โท / เอก
- สถานภาพ
- ทิศทางการพัฒนา
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๓
การปรับเปลี่ยนสถานภาพ

มหาวิทยาลัยของรัฐ
 มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๔
ปริมาณ
< ปริมาณมหาวิทยาลัย
 ปริ มาณนักศึ กษาอาชี วะ < ปริ มาณนักศึ กษามหาวิทยาลัย
 ปริ มาณมหาวิทยาลัย
> ปริมาณประชากรชาติ
• ความซ้าซ้อนอุดมศึกษา
• กระจัดกระจาย ไร้พลัง
• แตกต่าง / ช่องว่างระดับการพัฒนา
 ปริ มาณนักเรี ยน
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๕
คุณภาพครอบครัว
คุณภาพตัวป้อนอุดม
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.

คุณภาพอาจารย์

คุณภาพบุคลากร

คุณภาพผูบ้ ริหาร

คุณภาพบัณฑิต
หน้า ๖
การแก้ปัญหาอุดมศึกษาปั จจุบนั
การไร้ทิศทาง ความซ้าซ้อน การขาดคุณภาพและประสิทธิภาพ

จานวนสถาบัน รัฐ (๗๘) เอกชน (๖๗) วิทยาลัยชุมชน (๑๘)




นักศึกษาใหม่ (๖๓๙,๑๓๕)
ปี ๔๙ รัฐ (๕๓๕,๑๒๐)
เอกชน (๑๐๔,๐๑๕)
นักศึกษาทัง้ หมด (๒,๑๒๒,๓๕๖) ปี ๔๙ รัฐ (๑,๘๔๕,๖๓๓)
เอกชน (๒๗๖,๗๒๓) ร้อยละ ๘๗ : ๑๓
ผูส้ าเร็จการศึกษา (๓๔๓,๙๑๕) ปี ๔๘ รัฐ (๒๙๐,๐๙๙)
เอกชน (๕๓,๘๑๖)
ร้อยละ ๘๔ : ๑๖
จาแนกตามสาขาหลักโดยสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ :
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : วิทยาศาสตร์สุขภาพ
ร้อยละ ๗๔ : ๒๒ : ๔
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผู อ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๗
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยของรัฐ
๑๓
๒๘*
(* รวมสถาบันการพลศึกษา จานวน ๑๓ วิทยาเขต)
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
มหาวิทยาลัยเอกชน
วิทยาลัยชุมชน
เฉพาะทาง
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
๔๐
๙
๖๘
๒๐
๖๔
หน้า ๘
ระบบการคัดเลือกบุคคลศึกษา
(Entrance)


รับตรง
Admission
- การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร
- ตัวป้อน (Input) อ่อนแอ
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๙
หลักสูตร
Demand Side / Supply Side
 การเปลี่ ยนแปลง

- ประชากร
- ความจาเป็ น
- ความเชื่ อมโยงภาคอุตสาหกรรม

Life long Learning
- การเพิ่มขึ้ นของผูส้ งู อายุ
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑๐

ความจาเป็ นของสังคม
- พลังงาน
- อาหาร
- โลกร้อน
- อุบตั ิภยั
- สันติภาพ
- วัฒนธรรม
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑๑
Information Society
Knowledge Based Society
Creative Economy Society
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑๒
องค์ความรู ้




วิทยาศาสตร์กายภาพ
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
สังคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑๓
การบริหาร

การบริหารธุรกิจการศึกษา
 การได้มาซึ่งผูบ
้ ริหาร
 การกระจายอานาจ + การกากับติ ดตาม
 สภามหาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑๔
การเงินอุดมศึกษา

งบประมาณ
 เงิ นกูย
้ ืม กยศ.
 กองทุน
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑๕
การกากับ
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.

สกอ.

สภาวิชาชีพ

กพร.

สมศ.
หน้า ๑๖
การประกันคุณภาพ
 KPI
และ เกณฑ์
 IQA และ EQA
 KPI รอบ ๓
 ทัศนคติ
 การใช้ผล
ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ ่งโรจน์ ผูอ้ านวยการ สมศ.
หน้า ๑๗
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
การวางกรอบการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) ให้สอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการศึกษาของประเทศ ดังนี้
๑. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ -๒๕๖๑
๒. กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑
ก. ผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี ๒๕๔๒
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
คุณภาพผูเ้ รียน/สถานศึกษา ยังไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.
ขาดแคลนครูท้งั เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
หน่วยปฏิบตั ยิ งั ไม่มีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารและจัดการศึกษาเท่าที่ควร
ผูเ้ รียนไม่ได้รบั โอกาสทางการศึกษาอย่างทั ่วถึง โดยเฉพาะการศึกษาปฐมวัย เด็กตกออก
กลางคัน เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การผลิตและพัฒนากาลังคนไม่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
การเงินเพื่อการศึกษา ขาดการระดมทุนจากทุกภาคส่วน และการจัดสรรงบประมาณไม่
สัมพันธ์กบั ผลผลิต
ขาดการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งเนื้อหาผ่านสื่อ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
การบังคับใช้กฎหมายบางเรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ
ขาดเนื้อหาและวิธีการที่เหมาะสมที่ทาให้การศึกษาตลอดชีวิต การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยสัมฤทธิ์ผล
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑
ข. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
วิสยั ทัศน์ : คนไทยได้เรียนรูต้ ลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
ปรัชญา : การเรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ คือ การเรียนรูผ้ ่านกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต
เป้าหมายระยะยาว : ภายในปี ๒๕๖๑ มีการปฏิรปู การศึกษาและการเรียนรูอ้ ย่างเป็ น
ระบบ โดยเน้นประเด็นหลักสามประการ คือ
•พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรูข้ องคนไทย
•โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู ้
•ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ได้กาหนดความเชื่อมโยง IQA กับ EQA ไว้ในหมวด 1 บททั ่วไป
ข้อ ๓ ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย การประเมินคุณภาพภายใน การติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ข้อ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย การประเมินคุณภาพภายนอก และการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาดาเนิ นการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกปี โดย
เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ ทั้งนี้ ด้วยการสนับสนุ นจากต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของชุมชน
ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา หน่ วยงานต้นสังกัดและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาและเปิ ดเผย
รายงานนั้นต่อสาธารณชน
ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปประกอบการ
จัดทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๗ การประกันคุณภาพภายนอกให้คานึ งถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้
(๑) เพื่อให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(๒) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็ นธรรม และโปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความ
เป็ นจริงและมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
(๓) สร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุง่ หมายและหลักการศึกษา
ของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย ซึ่งสถานศึกษาสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถานศึกษาและผูเ้ รียน
(๔) ส่งเสริม สนับสนุ น และร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา
(๕) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพ และพัฒนาการจัดการศึกษาของรัฐ
เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
(๖) ความเป็ นอิสระ เสรีภาพทางวิชาการ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจ
และเป้าหมายของสถานศึกษา
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๘ ในการประกันคุณภาพภายนอก ให้สานักงานทาการประเมินคุณภาพ
ภายนอกสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุม
หลักเกณฑ์ในเรื่อง ดังต่อไปนี้
(๑) มาตรฐานที่วา่ ด้วยผลการจัดการศึกษาในแต่ละระดับและประเภท
การศึกษา
(๒) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการบริหารจัดการศึกษา
(๓) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
(๔) มาตรฐานที่วา่ ด้วยการประกันคุณภาพภายใน
ในกรณีที่มีความจาเป็ นต้องทาการประเมินคุณภาพภายนอกจากมาตรฐานอื่น
เพิ่มเติมจากมาตรฐานที่กาหนดในวรรคหนึ่ ง ให้สานักงานประกาศกาหนดมาตรฐานอื่น
ได้โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๓ การประกันคุณภาพภายนอก
ข้อ ๓๙ วิธีการในการประกันคุณภาพภายนอก ให้เป็ นไปตามระเบียบที่สานักงานกาหนด
ข้อ ๔๐ ในกรณีที่ผลการประเมินคุณภาพภายนอกแสดงว่า ผลการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาได้ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ให้สานักงานแจ้งเป็ นหนังสือพร้อมแสดงเหตุผลที่
ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแก่หน่ วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษานั้น และให้สถานศึ กษานั้น
ปรับปรุงแก้ไขโดยจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพและดาเนิ นการตามแผน เพื่อขอรับการ
ประเมินใหม่ภายในสองปี นับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งผลการประเมินครั้งแรก
ให้สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อสานักงานเพื่อพิจารณาอนุ มตั ิภายใน
สามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งผลการประเมินตามวรรคหนึ่ ง
ข้อ ๔๑ ในกรณีที่สถานศึกษาไม่ดาเนิ นการปรับปรุงแก้ไขภายในกาหนดเวลาตามข้อ ๔๐
ให้สานักงานรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน คณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือหน่ วยงานต้นสังกัดอื่น แล้วแต่กรณี
เพื่อพิจารณาสัง่ การต่อไป
สรุปจุดเน้นการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
Lifelong
Learning
(ตามมติคณะกรรมการบริหาร สมศ.ครั้งที่ ๔/๒๕๕๒ วันที่ ๒๗-๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๒)
 มุ่งเน้นการสร้างมาตรฐานและการประเมินคุณภาพของการจัดการศึกษา
ควบคู่กบั การพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลในทุกระดับ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการให้คาแนะนาแก่รฐั บาลและหน่ วยงานที่
เกี่ยวข้อง ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของประเทศในระยะยาว
 การกาหนดมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และกระบวนการประเมิน ควรมีทิศทางที่สอดคล้องกับการ
ประเมินภายนอก การประเมินภายใน และการประกันคุณภาพ
 ส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงผลจากการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล กับระบบการเงินและ
การจัดสรรทรัพยากรของประเทศ โดยมีแนวคิดว่า หน่ วยงานที่มีผลการประเมินในอยูใ่ นเกณฑ์ดี
สมควรได้รบั การสนับสนุ นทรัพยากรอย่าง เหมาะสม ตลอดจนเป็ นประโยชน์แก่การดาเนิ นงานของ
หน่ วยงานกลางหรือคณะกรรมการจัดสรรทรัพยากรด้านการศึกษาในอนาคต ในการพัฒนารูปแบบการ
จัดการทางการเงินและการจัดสรรทรัพยากร ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อไป
 ควรมีการเผยแพร่ผลการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพการบริหารจัดการของแต่ละ
หน่วยงาน อย่างเป็ นรูปธรรมต่อสาธารณะ โดยเฉพาะผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เช่น ผูร้ บั
การศึกษา ครอบครัว ชุมชน และประชาชน ผูเ้ สียภาษี
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบแรก
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (๒๕๔๔-๒๕๔๘)
ั ัด
สงก
ได้มาตรฐาน
ไม่ได้มาตรฐาน
รวม
ดี
พอใช ้
ปร ับปรุง
สพฐ.
๑๐,๑๔๗
๓๒.๘๒%
๒๐,๒๐๗
๖๕.๓๕%
๕๖๕
๑.๘๓%
๓๐,๙๑๙
เอกชน
๑,๓๐๕
๔๗.๗๓%
๑,๓๖๒
๔๙.๘๒%
๖๗
๒.๔๕%
๒,๗๓๔
ท้องถิน
่
๖๔๓
๖๙.๔๔%
๒๗๗
๒๙.๙๑%
๖
๐.๖๕%
๙๒๖
พุทธศาสนา
๒๘
๗.๕๑%
๓๒๖
๘๗.๔๐%
๑๙
๕.๐๙%
๓๗๓
ตชด.
๑๔
๘.๔๓%
๑๔๒
๘๕.๕๔%
๑๐
๖.๐๒%
๑๖๖
รร.สาธิต
๓๐
๗๓.๑๗%
๑๐
๒๔.๓๙%
๑
๒.๔๔%
๔๑
รวม
๑๒,๑๖๗
๓๔.๖%
๒๒,๙๙๒
๖๕.๔%
๓๕,๑๕๙
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง
ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
ั ัด
สงก
ระด ับปฐมว ัย
ระด ับประถม-ม ัธยม
รวม
ร ับรอง
ไม่ร ับรอง
ร ับรอง
ไม่ร ับรอง
สพฐ.
๑๘,๙๒๑
๘๐.๖๒%
๔,๕๔๘
๑๙.๓๘%
๒๑,๕๐๑
๘๑.๑๖%
๔,๙๙๐
๑๘.๘๔%
๒๖,๕๐๔
เอกชน
๑,๗๗๕
๘๘.๗๑%
๒๒๖
๑๑.๒๙%
๑,๓๓๒
๘๘.๕๖%
๑๗๒
๑๑.๔๔%
๒,๒๑๔
ท้องถิน
่
๔๑๖
๙๒.๔๔%
๓๔
๗.๕๖%
๔๒๙
๘๙.๑๙%
๕๒
๑๐.๘๑%
๔๘๖
กทม.
๔๐๘
๙๔.๘๘%
๒๒
๕.๑๒%
๔๑๗
๙๕.๘๖%
๑๘
๔.๑๔%
๔๓๕
รร.สาธิต
๒๐
๙๕.๒๔%
๑
๔.๗๖%
๒๘
๙๖.๕๕%
๑
๓.๔๕%
๓๓
พุทธศาสนา
-
-
๗
๗๗.๗๘%
๒
๒๒.๒๒%
๙
รวม
๒๑,๕๔๐
๘๑.๖๘%
๔,๘๓๑
๑๘.๓๒%
๒๓,๗๑๔
๘๑.๙๒%
๕,๒๓๕
๑๘.๐๘%
๒๙,๖๘๑
ผลการประเมิน
ระดับอาชีวศึกษา
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง
ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
ประเภท
จำนวนสถำนศึกษำ
รับรอง ไม่รบั รอง รอพินิจ
รวม
๓๖๓
๒๗
๑๔
๘๙.๘๕% ๖.๖๘% ๓.๔๗%
โรงเรียนเอกชน ๒๒๗
๗๖
๒๒
๖๙.๘๕% ๒๓.๓๘% ๖.๗๗%
รวม
๕๙๐
๑๐๓
๓๖
๘๐.๙๓% ๑๔.๑๓% ๔.๙๔%
๔๐๔
วิทยำลัยของรัฐ
๓๒๕
๗๒๙
ผลการประเมิน
ระดับอุดมศึกษา
สรุปผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกระดับอุดมศึกษำรอบแรก (๒๕๔๔-๒๕๔๘)
ประเภท
รัฐ (๒๔)
เอกชน (๕๔)
รำชภัฏ (๔๑)
รำชมงคล (๓๘)
เฉพำะทำง (๙๓)
วิทยำลัยชุมชน (๑๐)
รวม (๒๖๐)
ระดับคุณภำพ
ค่ำเฉลี่ย
๒.๐๐ ๓.๐๐ ๔.๐๐ ๕.๐๐
๑
๕
๑
๒ ๓.๗๙ ดี
๗
๓๕ ๑๑
๑ ๓.๑๑ พอใช้
๑
๑๖ ๒๓
๑ ๓.๕๙ ดี
๘
๒๖
๔
๐ ๒.๘๙ พอใช้
๒
๒๖ ๖๓
๒ ๓.๗๐ ดี
๒
๗
๑
๐ ๒.๙๐ พอใช้
๒๑ ๑๑๕ ๑๑๘ ๖ ๓.๔๒ พอใช้
สรุปผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกระดับอุดมศึกษำรอบสอง (๒๕๔๙-๒๕๕๓)
ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
ประเภท
รับรอง
รอพินิจ
ไม่รบั รอง
ไม่ตดั สินผล
รวม
ม.ในกำกับ
๑๓
๑๔
๓๘
๙
๕๓
๑๕
๖๓
๒๐๕
๑
๒
๕
๑
๑
๑๐
๓
๓
๖
๑๓
๗
๑
๒๑
๑๓
๒๘*
๔๐
๙
๖๘
๒๐
๖๔
๒๔๒
ม.รัฐ
ม.รำชภัฏ
ม.รำชมงคล
ม.เอกชน
วิทยำลัยชุมชน
เฉพำะทำง
รวม
* รวมกำรประเมินสถำบันกำรพลศึกษำรำยวิทยำเขต จำนวน ๑๓ วิทยำเขต
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์





IQA + EQA
QE + QA + QI
Collaboration System
ONESQA + Institution
Partnership
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
 Assess to Improve
 Score Increasing
 Continuous Development
Improving Quality
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
หรื อ
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
วิสัยทัศน์ การบริ หาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่ งโรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
เชือ่ มโยงสัมพันธ์ ต่อยอดสอดรับ ทุกระดับการศึกษา
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
การประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็ นหนึง่
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
นาคุณภาพสู่ตน สร้ างคนคุณภาพ
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
การประเมินแนวทางที่ ๑
๑
ตัวบ่งชี้
๒
ตัวบ่งชี้
๓
ตัวบ่งชี้
มาตรการ
พื้นฐาน
อัตลักษณ์
ส่งเสริม
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
เปรียบเทียบมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
รอบ ๑-๒-๓
ระด ับ
ึ ษา
การศก
รอบ ๑
รอบ ๒
รอบ ๓
มาตรฐาน
ต ัวบ่งช ี้
มาตรฐาน
ต ัวบ่งช ี้
มาตรฐาน
ต ัวบ่งช ี้
้ ฐาน
พืน
๑๔
๕๓
๑๔
๖๐
๔
๑๑
อาชวี ะ
๘
๓๐
๖
๒๕
๔
๑๘
ึ ษา
อุดมศก
๘
๒๘
๗
๔๘
๔
๑๘
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
(ตบช.ร่วม ๓๙)
(ตบช.เฉพาะ ๙)
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม
(พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ด้านผลผลิต
๑. ผูเ้ รียนมีคณ
ุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมทีพ
่ งึ ประสงค์
๒. ผูเ้ รียนมีสข
ุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด
่ ี
ต ัวบ่งช ี้
๓. ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู ้ และเรียนรูด
้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเนือ
่ ง
้ ฐาน
พืน
ั
๔. ผูเ้ รียนคิดเป็น ทาเป็น และปร ับต ัวเข้าก ับสงคมได้
ด้านผลล ัพธ์
ั
ึ ษา
๕. ผลสมฤทธิ
ท
์ างการเรียนของผูเ้ รียน และผูเ้ รียนมีการศก
ั
ี ตามศกยภาพของผู
ต่อหรือประกอบอาชพ
เ้ รียนและบริบท
ึ ษา
ของสถานศก
ด้านการจ ัดการเรียนการสอน
ิ ธิผลของการจ ัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียน
๖. ประสท
เป็นสาค ัญ
ต ัวบ่งช ี้
ึ ษา
ด้านบริหารจ ัดการศก
้ ฐาน
พืน
ิ ธิภาพของการบริหารจ ัดการและการพ ัฒนา
๗. ประสท
ึ ษา
สถานศก
ด้านการประก ันคุณภาพภายใน
ั ัด
ึ ษาและต้นสงก
๘. การประก ันคุณภาพภายในโดยสถานศก
เป็นไปตามกฎกระทรวง
ต ัวบ่งช ี้
อ ัตล ักษณ์
ต ัวบ่งช ี้
มาตรการ
่ เสริม
สง
ึ ษาให้บรรลุเป้าหมายตามว ัตถุประสงค์
๙. การพ ัฒนาสถานศก
ของการจ ัดตงั้ หรือจุดเด่น หรือล ักษณะพิเศษของประเภท
โรงเรียน
่ เสริมเพือ
ึ ษาเข้าสูม
่ าตรฐาน
๑๐. มาตรการสง
่ พ ัฒนาสถานศก
ร ักษามาตรฐาน และยกระด ับมาตรฐานโดยการกาหนด
มาตรการร่วมก ันก ับหน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข้อง ตามข้อตกลงใน
้ ร ัพยากรก ับร ัฐบาล เพือ
การดาเนินงานและการใชท
่ ให้
ึ ษา
สอดคล้องก ับแนวทางการปฏิรป
ู การศก
่ เสริมการพ ัฒนาผูเ้ รียนให้มท
๑๑. มาตรการสง
ี ักษะชวี ต
ิ ทีด
่ ี
ั
มีภม
ู ค
ิ ม
ุ ้ ก ัน เพือ
่ การเป็นพลเมืองทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่าของสงคม
สอดคล้องก ับแนวทางการพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ทย
ี่ ง่ ั ยืน
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม
(พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ด้านการอาชีวศึกษา
ึ ษาได้งานทาหรือประกอบอาชพ
ี อิสระใน
๑. ผูส
้ าเร็จการศก
สาขาทีเ่ กีย
่ วข้องภายใน ๑ ปี
๒. ผูเ้ รียนมีความรูแ
้ ละท ักษะทีจ
่ าเป็นในการทางาน
ต ัวบ่งช ี้
้ ฐาน
พืน
(นา้ หน ัก
ร้อยละ ๗๐)
ี จากองค์กร
๓. ผูเ้ รียนผ่านการทดสอบมาตรฐานทางวิชาชพ
ทีเ่ ป็นทีย
่ อมร ับ
ี หรือสงิ่ ประดิษฐ ์ของ
๔. ผลงานทีเ่ ป็นโครงงานทางวิชาชพ
้ ระโยชน์
ผูเ้ รียน ทีไ่ ด้นาไปใชป
๕. ผลงานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์ของครูทไี ด้นาไปใช ้
ประโยชน์
ี ทีส
่ เสริม
๖. ความสาเร็จในการให้บริการวิชาการ/วิชาชพ
่ ง
การพ ัฒนาท ักษะของผูเ้ รียน
๗. ผูเ้ รียนได้เรียนรูแ
้ ละฝึ กท ักษะจากประสบการณ์จริง
๘. ความสาเร็จในการปฏิบ ัติหน้าทีข
่ องคณะกรรมการและ
ึ ษา
ผูบ
้ ริหารสถานศก
ต ัวบ่งช ้ี
้ ฐาน
พืน
(นา้ หน ัก
ร้อยละ ๗๐)
๙. ความสาเร็จในการพ ัฒนาและใชร้ ะบบฐานข้อมูล
สารสนเทศในการบริหารจ ัดการ
ึ ษา
๑๐. ความสาเร็จในพ ัฒนาครูและบุคลากรทางการศก
ี่ ง
๑๑. ความสาเร็จในการบริหารความเสย
่ นร่วมในการประก ัน
๑๒. ความสาเร็จในการสร้างการมีสว
คุณภาพ
ึ ษาจากผลการประเมินคุณภาพภายใน
๑๓. การพ ัฒนาสถานศก
ต ัวบ่งช ี้
อ ัตล ักษณ์
ั ัศน์
๑๔. ความสาเร็จในการดาเนินงานตามปร ัชญา วิสยท
ึ ษา
พ ันธกิจและตามจุดเน้นของสถานศก
(นา้ หน ักร้อยละ ๑๐)
๑๕. การพ ัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
ต ัวบ่งช ี้
มาตรการ
่ เสริม
สง
(นา้ หน ักร้อยละ ๒๐)
๑๖. การพ ัฒนาคุณภาพครู
ึ ษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู ้
๑๗. การพ ัฒนาสถานศก
(เลือกจุดเน้นอย่างน้อย ๑ กิจกรรม)
่ นร่วมและการขยายโอกาสทาง
๑๘. การสร้างการมีสว
ึ ษา(เลือกจุดเน้นอย่างน้อย ๑ กิจกรรม)
การศก
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม
(พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับอุดมศึกษา
ด้านคุณภาพบ ัณฑิต
ี อิสระ
๑. บ ัณฑิตปริญญาตรีทไี่ ด้งานทาหรือประกอบอาชพ
ภายใน ๑ ปี
๒. คุณภาพของบ ัณฑิตปริญญาตรี โทและเอกตามกรอบ
ึ ษาแห่งชาติ
มาตรฐานคุณวุฒอ
ิ ด
ุ มศก
ต ัวบ่งช ี้
ึ ษาระด ับปริญญาโททีได้ร ับ
๓. ผลงานของผูส
้ าเร็จการศก
การตีพม
ิ พ์หรือเผยแพร่
้ ฐาน
พืน
ึ ษาระด ับปริญญาเอกทีได้ร ับ
๔. ผลงานของผูส
้ าเร็จการศก
การตีพม
ิ พ์หรือเผยแพร่
(นา้ หน ักร้อยละ ๗๕)
ด้านงานวิจ ัยและงานสร้างสรรค์
๕. งานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์ทไี่ ด้ร ับการตีพม
ิ พ์หรือเผยแพร่
้ ระโยชน์
๖. งานวิจ ัยทีน
่ าไปใชป
๗. ผลงานวิชาการทีไ่ ด้ร ับการร ับรองคุณภาพ
ั
ด้านการบริการวิชาการแก่สงคม
ต ัวบ่งช ี้
้ ฐาน
พืน
(นา้ หน ัก
๘. การนาความรูแ
้ ละประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช ้
ในการพ ัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจ ัย
๙. การเรียนรูแ
้ ละเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กร
ภายนอก
ิ ปะและว ัฒนธรรม
ด้านการทานุบารุงศล
ร้อยละ ๗๕)
่ เสริมและสน ับสนุนด้านศล
ิ ปะและว ัฒนธรรม
๑๐. การสง
ิ ปะและว ัฒนธรรม
๑๑. การพ ัฒนาสุนทรียภาพในมิตท
ิ างศล
ด้านการบริหารและพ ัฒนาสถาบ ัน
๑๒. การปฏิบ ัติตามบทบาทหน้าทีข
่ องสภาสถาบ ัน
ต ัวบ่งช ี้
๑๓. การปฏิบ ัติตามบทบาทหน้าทีข
่ องผูบ
้ ริหารสถาบ ัน
้ ฐาน
พืน
๑๔. การพ ัฒนาคณาจารย์
(นา้ หน ัก
ร้อยละ ๗๕)
ด้านการพ ัฒนาและประก ันคุณภาพภายใน
๑๕. ผลประเมินการประก ันคุณภาพภายในร ับรองโดย
ั ัด
ต้นสงก
๑๖. การพ ัฒนาให้บรรลุตามปร ัชญาและว ัตถุประสงค์ของ
การจ ัดตงสถาบ
ั้
ัน
ต ัวบ่งช ี้
อ ัตล ักษณ์
(นา้ หน ัก
ร้อยละ ๑๕)
- สถาบ ันทีเ่ น้นระด ับปริญญาตรี (ข) และสถาบ ันเฉพาะทางที่
เน้นระด ับปริญญาตรี (ค ๒)
้ ฐานภูมป
๑๖.๑ งานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์บนพืน
ิ ญ
ั ญาท้องถิน
่
ื สานโครงการพระราชดาริ
๑๖.๒ การสบ
ี ครูและบุคลากรทางการศก
ึ ษา
๑๖.๓ การพ ัฒนาวิชาชพ
๑๖.๔ มีหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ
ึ ษา (ค ๑) และสถาบ ัน
- สถาบ ันเฉพาะทางทีเ่ น้นระด ับบ ัณฑิตศก
ึ ษาโดยเฉพาะ (ง)
ทีเ่ น้นการวิจ ัยขนสู
ั้ งและผลิตบ ัณฑิตศก
้ ระโยชน์
ึ ษาทีน
๑๖.๕ ผลงานวิทยานิพนธ์ระด ับบ ัณฑิตศก
่ าไปใชป
ต ัวบ่งช ี้
อ ัตล ักษณ์
(นา้ หน ัก
ร้อยละ ๑๕)
ิ ธิบ ัตรหรือ
๑๖.๖ งานวิจ ัยหรืองานสร้างสรรค์ทไี่ ด้ร ับการจดสท
ิ ธิบ ัตร
อนุสท
๑๖.๗ งานวิจ ัยทีต
่ พ
ี ม
ิ พ์ระด ับนานาชาติ
๑๖.๘ ผลงานวิจ ัยได้ร ับการอ้างอิงระด ับนานาชาติ
่ ากล
๑๖.๙ ระด ับความสาเร็ จของการพ ัฒนาสถาบ ันสูส
๑๖.๑๐ มีศน
ู ย์ความเป็นเลิศ
๑๗. การพ ัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นของสถาบ ัน
ั ัด
หมายเหตุ สถาบ ันเสนอผ่านสภาสถาบ ันและต้นสงก
ั
ี้ าและ/หรือแก้ปญ
๑๘. การชน
ั หาสงคมในด้
านต่างๆ
่ เสริมและสบ
ื สานโครงการ
ของสถาบ ัน อาทิ การสง
มาจากพระราชดาริ / ร ักชาติ บารุงศาสนา เทิดทูน
ต ัวบ่งช ้ี
พระมหากษ ัตริย ์ /สุขภาพ / ค่านิยม จิตสาธารณะ/
มาตรการ
ั
ั สข
ความข ัดแย้ง สร้างสงคมส
นติ
ุ ความปรองดอง /
่ เสริม
สง
(นา้ หน ัก
ร้อยละ ๑๐)
สงิ่ เสพติด / ความฟุ่มเฟื อย / การแก้ปญ
ั หา
สงิ่ แวดล้อม พล ังงาน / อุบ ัติภ ัย / ความคิด
สร้างสรรค์ / ผูด
้ อ
้ ยโอกาส ผูส
้ ง
ู อายุ / นโยบาย
ั
ิ สงคม
ร ัฐบาล / การพร้อมร ับการเป็นสมาชก
ี น / ฯลฯ
อาเซย
หมายเหตุ สถาบ ันเลือกดาเนินการอย่างน้อย ๒ เรือ
่ ง
กำรประเมินแนวทำงที่ ๒
“๑ ช่วย ๙”
แนวคิด : เพือ่ ขับเคลื่อนให้สถานศึกษามีศกั ยภาพสามารถพัฒนาและเพิม่ พูน
ศักยภาพตนเองอย่างต่อเนื่องสูค่ วามเป็ นเลิศ
เงื่อนไข : - ประเมินสถานศึกษาตามความสมัครใจ
- ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง (พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๓)
ในระดับดีมาก
- สถานศึกษา ๑ แห่งช่วยสถานศึกษา ๙ แห่งให้มผี ลประเมินดีขน้ึ
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์
เพลง ร่วมพัฒนา
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
มาผองไทย มาร่วมกัน ทุกชีวา
เหล่าประชาทัง้ ถิ่น
การศึกษา ทุกแดนดิน วัฒนา
เติมปั ญญา ให้เต็มทัว่ ไทย
คือผลงาน ที่ขบั เคลื่อน สังคม
พร้อมด้วยพรหมวิหาร
เพื่อมาตรฐานของการศึกษา
รวมพลัง ช่วยกัน ฟั นฝ่ า
วิสยั ทัศน์การบริหาร สมศ.
ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุง่ โรจน์