รูปแบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัย

Download Report

Transcript รูปแบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัย

กิจกรรม
รับสมัคร GAT-PAT ครั้งที่ 1
รับสมัคร วิชาสามัญ 7 วิชา
สอบ GAT-PAT ครั้งที่ 1
รับสมัคร GAT-PAT ครั้งที่ 2
ประกาศผล GAT-PAT ครั้งที่ 1
สอบ วิชาสามัญ 7 วิชา
สอบ O-NET
สอบ GAT-PAT ครั้งที่2
ประกาศผล O-NET
ประกาศผล GAT-PAT ครั้งที่2
ยืนยันสิ ทธ์ Clearing House
ยืน่ รับสมัคร Admissions
ประกาศผล
เปิ ดเทอม
กำหนดกำร
1-27 ตุลาคม 2556
1-24 พฤศจิกายน 2556
7-10 ธันวาคม 2556
15-26 มกราคม 2557
19 มกราคม 2557
25-26 มกราคม 2557
กุมภาพันธ์ 2557
8-11 มีนาคม 2557
ต้นเมษายน
27 เมษายน
19 พ.ค. ถึง 2 มิถุนายน 2557
8-18 มิถุนายน 2557
28 มิถุนายน 2557
สิ งหาคม - กันยายน
1. ระบบโควต้ ำ
โควต้า มีทุกมหาวิทยาลัยเลยก็วา่ ได้ ส่ วนมหาวิทยาลัยไหนมีโควต้าแบบไหน
ต้องติดตามตาม เว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย โควตาที่มีเป็ นปกติของทุก
มหาวิทยาลัยก็เช่น โควต้ามีผลการเรี ยนดี , โควต้าสาหรับนักเรี ยนที่มี
ความสามารถพิเศษด้านต่างๆ เช่น ภาษา ศิลปะ กีฬา เป็ นต้น
2. ระบบรับตรง
รับตรงก็มีทุกมหาวิทยาลัยอีกเหมือนกัน บางที่จะใช้ขอ้ สอบวัดระดับ
ของมหาวิทยาลัยเอง บางที่จะใช้ขอ้ สอบวัดระดับจากส่ วนกลาง จะต้อง
ติดตามข่าวสารจากมหาวิทยาลัยว่า เกณฑ์คะแนนที่ใช้ ใช้คะแนนอะไร
อย่างละกี่เปอร์เซนต์
เกณฑ์แต่ละมหาวิทยาลัยจะไม่เหมือนกันเลยในส่ วนรับตรงจะสมัครกี่มหาวิทยาลัยก็ได้
แต่ละมหาวิทยาลัยจะไม่ตดั สิ ทธิ์ ที่ติดรับตรงของมหาวิทยาลัยอื่นนะครับ
คณะ / มหำวิทยำลัย
เกณฑ์
(จำกปี 2555)
คะแนนขั้นต่ำ
วิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
GAT 20%
PAT1 20%
PAT3 60%
ไม่มีคะแนนขั้นต่า
วิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
PAT1 40%
PAT3 40%
สอบสัมภาษณ์ 20%
จะต้องมีคะแนนมากกว่า
30% ของคะแนนเต็ม
(หรื อมากกว่า 90 คะแนน)
3. ระบบAdmission
เป็ นทางเลือกสุ ดท้ายสาหรับที่จะเข้าเรี ยนในมหาวิทยาลัยรัฐ สาหรับ Admission นี้ แต่ละ
มหาวิทยาลัย ในคณะเดียวกัน จะใช้เกณฑ์เดียวกันในการตัดสิ น โดยน้องๆจะต้องติดตามข่าวสาร
ว่าแต่ละคณะ แต่ละมหาวิทยาลัย จะรับเข้าเรี ยนทั้งหมดกี่คน และแต่ละคณะจะใช้เกณฑ์อะไรบ้าง
แต่อย่างไรก็ตาม การเลือกอันดับคณะที่อยากเข้าก็ตอ้ งใช้ขอ้ มูลทางสถิติ (คะแนนสูงต่า)
GAT/PAT
GAT ความถนัดทัว่ ไป (ภาษาไทย และอังกฤษ)
PAT1 ความถนัดทางคณิ ตศาสตร์
PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
PAT3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
PAT4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
PAT5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
PAT6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
PAT7 ความถนัดทางภาษา (ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น จีน อาหรับ บาลี)
สอบวิชำสำมัญ 7 วิชำ
โดยตามปกติแล้ว จะมีการจัดสอบในช่วงเดือนมกราคม การสอบนี้เป็ น
ระบบใหม่ที่เริ่ มใช้ใน Admission 2555 โดยวิชาที่สอบมีดงั นี้คือ ฟิ สิ กส์ เคมี ชีววิทยา
คณิ ตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สังคมศึกษา
สอบ O-NET
โรงเรี ยนเป็ นผูส้ มัครให้ การสอบนี้จะสอบเฉพาะวิชาพื้นฐานทั้งหมด
8 กลุ่มสาระ คือ ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
4. ระบบ International
การเรี ยนอินเตอร์ เป็ นที่นิยมกันอย่างแพร่ หลายในปั จจุบนั และแนวโน้มของ
นักเรี ยนอินเตอร์ จะมีโอกาสการเข้าทางานในบริ ษทั ต่างๆที่สูงขึ้น เพราะในอนาคต
อีกไม่กี่ปีข้างหน้า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ก็จะเริ่ มขึ้นแล้ว ดังนั้น คนเก่งอย่าง
เดียวนั้นไม่พอ จะต้องมีความรู ้ทางภาษาด้วย ซึ่ งการเรี ยนอินเตอร์ เป็ นตัวการันตี
ระดับทางภาษา จะต้องไม่ทิ้งวิชาภาษาอังกฤษ
สาหรับเกณฑ์การสอบเข้าภาคอินเตอร์ ก็จะใช้สัดส่ วนของคะแนนต่างกันในแต่ละ
มหาวิทยาลัย โดยการสอบนี้จะเป็ นการสอบวัดระดับของนานาชาติ หรื อข้อสอบ
ภาษาอังกฤษ เช่น TOFEL, IELTS, SAT, CU TEP, CU AAT, CU ATS เป็ นต้น