ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

ลูกมีลกั ษณะใดเหมือนแม่ ลักษณะใดเหมือนพ่อบ้าง
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมหมายถึง ลักษณะที่สามารถ
ถ่ายทอดจากรุ่ นหนึ่งไปสู่รุ่นต่อๆไปได้
ลักษณะทางพันธุกรรม แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง
2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง
ลักษณะทางพันธุกรรม
ที่มีความแปรผันต่อเนื่อง
หมายถึง ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแตกต่างกันที
ละเล็กทีละน้อยต่อเนื่องกันไป เช่น ความสู ง สี ผิว
ของคน ข้อมูลความถี่ของลักษณะทางพันธุกรรม
ประเภทนี้สามารถนามาเขียนเป็ นกราฟ ได้กราฟรู ป
ระฆังคว่า
กราฟแสดงความสูงของคน
ลักษณะทางพันธุกรรม
ที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง
หมายถึงลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแตกต่างกัน
มาก จนสามารถแบ่งเป็ นกลุ่ม ๆ ได้ เช่น หมู่
เลือด A , B , AB และ O
มีลกั ยิม้ กับ ไม่มีลกั ยิม้
ห่อลิ้นได้ กับห่อลิ้นไม่ได้ เป็ นต้น
มีลกั ยิม้
ไม่มีลกั ยิม้
ห่อลิ้นได้
ห่อลิ้นไม่ได้
• ลักษณะทางพันธุกรรมที่มี
ความแปรผันไม่ต่อเนื่อง
เมื่อนาความถี่ของลักษณะ
มาเขียนกราฟ
จะได้กราฟแท่ง
60
50
40
30
ทิศตะวันออก
ทิศตะวันตก
20
10
0
ช่ วงที่ 1
AB
ช่ วงที่ 2
A
ช่ วงที่ 3
B
ช่ วงที่ 4
O
การทดลองของเมนเดล
การทดลองของเมนเดล
เกรเกอร์ เมนเดล (พ.ศ. 2365-พ.ศ.
2427) เกิดที่เมืองไฮน์เซนดรอฟ
ประเทศออสเตรี ย เป็ นบุตรชายคน
เดียวในจานวนพี่นอ้ ง 3 คน ของ
ครอบครัวชาวนาที่ยากจน ต่อมา เมน
เดลได้ไปบวชแล้วได้รับตาแหน่ง
รับผิดชอบดูแลสวน ในปี พ.ศ. 2390
การทดลองของ
เมนเดล
ลักษณะของถัว่ ลันเตาที่เมนเดลศึกษา
ลักษณะของถัว่ ลันเตาที่เมนเดลศึกษา
ตัวอย่างผลการทดลองของเมนเดล
ลักษณะ
พ่อ
แม่
รุ่ นลูก
รุ่ นหลาน
รุ่ นหลาน
อัตราส่ วน
รุ่ นหลาน
สูงหมด
สูง 787
เตี้ย 277
2.84:1
กลม 5,474
ขรุ ขระ 1,850 2.96:1
ความสูง
สูง
เตี้ย
รู ปร่ าง
เมล็ด
สี เมล็ด
กลม
ขรุ ขระ กลมหมด
เหลือง เขียว
รู ปร่ างฝัก อวบ
แฟบ
เหลืองหมด เหลือง 6,022 เขียว 2,001
3.01:1
อวบหมด
2.95:1
อวบ 882
แฟบ 299
เมนเดลได้คน้ พบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เขาส่ งผล
งานไปยังสมาคมวิทยาศาสตร์ แห่งหนึ่ง แต่ไม่มีใครสนใจแม้แต่
น้อย เมนเดลจึงเลิกล้มความพยายามที่จะตีพิมพ์งานของเขา เขา
เก็บรายงานไว้ในห้องสมุดของวัดและทาการทดลองต่อด้วยตนเอง
อย่างเงียบๆ ในสานักสงฆ์ จนกระทัง่ ถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1884
หลังจากนั้นอีก 16 ปี คือในปี ค.ศ. 1900 ผลงานของ เมนเด
ลจึงได้ตีพิมพ์เผยแพร่ การค้นพบของเกรเกอร์ เมนเดล นับว่าเป็ น
รากฐานของการศึกษาเกี่ยวกับพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวติ
“ เมนเดลจึงได้รับยกย่องให้เป็ น " บิดาแห่งพันธุศาสตร์ ”
คาศัพท์ที่ควรรู ้จกั
รุ่นพ่อแม่ เรี ยกว่า
รุ่ น P (parental generation)
รุ่นลูก เรี ยกว่า
รุ่ น F1(first filial generation)
รุ่นหลาน เรี ยกว่า
รุ่ น F2 (second filial generation)
คาศัพท์ที่ควรรู ้จกั
Gene หมายถึง หน่วยควบคุมลักษณะของสิ่ งมีชีวติ
Alleles หมายถึงยีนที่เข้าคู่กนั ได้ เช่น A กับ a
คาศัพท์ที่ควรรู ้จกั
Genotype – ยีนที่เข้าคู่กนั ที่ควบคุมลักษณะหนึ่ง
ซึ่งเขียนแทนด้วยตัวอักษร เช่น TT , Tt
Phenotype – ลักษณะที่ปรากฏให้เห็น
Homozygous genes
– สภาพที่ยนี ซึ่งเข้าคู่กนั เหมือนกัน
Heterozygous genes
สภาพที่ยนี ซึ่งเข้าคู่กนั ต่างกัน
การผสมโดยพิจารณาหนึ่งลักษณะ
(Monohybrid cross)
เมนเดลผสมถัว่ ลันเตาเมล็ดสี เหลืองพันธุ์แท้ กับถัว่ เมล็ด
สี เขียวพันธุ์แท้
ได้ลูกรุ่ นที่ 1 เป็ นเมล็ดสี เหลืองทั้งหมด
เมื่อผสมถัว่ เมล็ดสี เหลืองรุ่ นที่ 1(F1)เข้าด้วยกันจะได้
ลูกรุ่ นที่ 2 (F2)เป็ น
เมล็ดสี เหลือง: เมล็ดสี เขียว = 3 : 1
วิธีทา ให้ยนี Y เป็ นยีนเด่นที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสี เหลือง
y เป็ นยีนด้อยที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสี เขียว
จีโนไทป์ ของถัว่ เมล็ดสี เหลือง คือ YY
จีโนไทป์ ของถัว่ เมล็ดสี เขียว คือ yy
รุ่ น P
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่ น F1
YY
Y
Yy
x
Y
yy
y
Yy
Yy
y
Yy เมล็ดสี เหลืองทั้งหมด
รุ่ น F1
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่ น F2
Yy
Y
YY
x
y
Yy
Yy
Y
Yy
y
yy
อัตราส่ วนของจีโนไทป์ คือ YY : Yy : yy = 1 : 2 : 1
อัตราส่ วนของฟี โนไทป์ คือ เมล็ดสี เหลือง : สี เขียว = 3 : 1
กฏของเมนเดล
กฎข้อที่ 1 กฎแห่งการแยกตัว (Law of
Segregation) มีใจความว่า
“สิ่ งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่ งมีชีวติ ที่สืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศมีอยูเ่ ป็ นคู่ๆ แต่ละคู่จะแยกจากกันในระหว่าง
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ทาให้เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์มี
หน่วยควบคุมลักษณะนี้เพียง 1 หน่วย และจะกลับมาเข้าคู่อีก
เมื่อเซลล์สืบพันธุ์ผสมกัน”
การผสมโดยพิจารณาสองลักษณะ
การผสมโดยพิจารณาสองลักษณะ
(Dihybrid cross)
เมนเดลผสมถัว่ เมล็ดกลมสี เหลืองพันธุ์แท้ กับ
เมล็ดขรุ ขระสี เขียวพันธุ์แท้
ได้ลูก F1 เป็ นเมล็ดกลมสี เหลืองทั้งหมด
การผสมโดยพิจารณาสองลักษณะ
เมื่อผสม F1ด้วยกันเอง
จะได้ลูก รุ่ น F2 ที่มีอตั ราส่ วนของฟี โนไทป์ ดังนี้
เมล็ดกลมสี เหลือง : เมล็ดกลมสี เขียว :
เมล็ดขรุ ขระสี เหลือง : เมล็ดขรุ ขระสี เขียว
=9:3:3:1
วิธีทา
จีโนไทป์ ของเมล็ดกลมสี เหลืองพันธุ์แท้ คือ RRYY
จีโนไทป์ ของเมล็ดขรุ ขระสี เขียว คือ rryy
รุ่ น P
RRYY
x
rryy
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่ น F1
Ry
ry
RrYy เมล็ดกลมสี เหลือง
RrYy x RrYy
อสุ จิ
RY
Ry
rY
ry
ไข่
RY
RRYY
RRYy
RrYY
RrYy
Ry
RRYy
RRyy
RrYy
Rryy
rY
RrYY
RrYy
rrYY
rrYy
ry
RrYy
Rryy
rrYy
rryy
กฎข้ อที่ 2 ของเมนเดล
เรี ยกว่า กฎการรวมกลุ่มอย่างอิสระของยีน (law
of independent assortment)
มี
ใจความว่า
“ การที่ยนี ที่เป็ นคู่กนั จะแยกตัวไปจับคู่กนั ใหม่ในลูก
นั้นเป็ นไปโดยอิสระไม่ข้ ึนแก่กนั และกัน ”
กฎความน่าจะเป็ น
กฎการบวก (Addition Law)
– เหตุการณ์น้ นั ไม่สามารถเกิดขึ้นพร้อมๆกันได้
–โอกาสที่เกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งจะเท่ากับผลบวก
ของโอกาสที่จะเกิดแต่ละเหตุการณ์
P(เหตุการณ์ A หรื อ B อย่างใดอย่างหนึ่ง)
= P(A) + P(B)
กฎความน่าจะเป็ น
กฎการคูณ (Multiplication Law)
– เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์หรื อมากกว่า
– เหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน
–โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ A และ B พร้อมกัน
= P(A) X P(B)
Test cross
การผสมทดสอบ(Test cross) เป็ นการนาสิ่ งมีชีวติ ที่มีลกั ษณะเด่น
ซึ่งไม่ทราบว่ามีจีโนไทป์ เป็ นพันธุ์แท้หรื อพันธุ์ทางมาผสมกับ
ลักษณะด้อย
- ถ้าลูกที่ได้มีลกั ษณะเด่นทั้งหมด แสดงว่าสิ่ งมีชีวติ นั้นเป็ นพันธุ์แท้
- ถ้าลูกที่ได้ มีลกั ษณะเด่น : ด้อย = 1:1 แสดงว่าสิ่ งมีชีวติ นั้น
เป็ นพันธุ์ทาง
การผสมทดสอบ(Test cross)
TT
x
T
Tt
ลูก เด่นทั้งหมด
tt
t
Tt
T
x
tt
t
TT
Tt
เด่น : ด้อย = 1 : 1
t
Incomplete dominant
ผสม ดอกไม้ สีแดงพันธุ์แท้ กับ ดอกสี ขาวพันธุ์แท้
ได้ ลูกรุ่น F1 ดอกสี ชมพู ทั้งหมด
เมือ่ นา F1 ผสมกันเอง
ได้ ลูกรุ่น F2 ดอกสี แดง:สี ชมพู:สี ขาว = 1 : 2 : 1
Incomplete dominant
วิธีทา
จีโนไทป์ ของดอกไม้สีแดงพันธุ์แท้ คือ RR
จีโนไทป์ ของดอกไม้สีขาวพันธุ์แท้ คือ R/R/
รุ่ น P
RR
x
R/R/
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่ น F1
R
RR/
R/
/
RR
F1
เซลล์สืบพันธุ์
รุ่ น F2
R
RR
R/
RR/
/
RR
x
R
RR/
R/
R/R/
อัตราส่ วนจีโนไทป์ คือ RR : RR/ : R/R/ = 1:2:1
อัตราส่ วนฟี โนไทป์ คือดอกสี แดง : ชมพู : ขาว = 1:2:1
บรรณานุกรม
1. illumin.usc.edu/article.print.ph...ID%3D194
2. www.bookrags.com/biography/johan...delwob/
3.
flaggedrevs.labs.wikimedia.org/w...Genetic
s
4.http://qwickstep.com/search/gregor-mendelpea.html
5. bthsgatewaybio.wikispaces.com/Gr...2B
Mendel
บรรณานุกรม
6.
www.tutorvista.com/content/biolo...ents.ph
p