Intelligence - UTCC e

Download Report

Transcript Intelligence - UTCC e

เชาวน์ปัญญา(Intelligence)
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1
ึ ษาสามารถอธิบายความหมายของ
นักศก
เชาวน์ปัญญาได ้
2
ึ ษาสามารถเกีย
นักศก
่ วกับแทฤษฎีเชาวน์ปัญญา
ของ Thurstone ได ้
3
ึ ษาสามารถแสดงความคิดเห็นเกีย
นักศก
่ วกับอิทธิพลของ
พันธุกรรมและสงิ่ แวดล ้อมทีผ
่ ลต่อเชาวน์ปัญญาได ้
4
ึ ษาสามารถแสดงความคิดเห็นเรือ
ั พันธ์
นักศก
่ งเรือ
่ งความสม
ระหว่างเชาวน์ปัญญากับความสามารถด ้านอืน
่ ๆ ได ้
ความหมายเชาวน์ปัญญา
แบ่งเป็ น 4 กลุม
่ คือ
1
ความสามารถในการปรับตัว
2
ความสามารถในการแก ้ปั ญหา
3
ความสามารถในการคิดเชงิ นามธรรม
4
ความสามารถในการเรียนรู ้
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา
ทฤษฎีองค์ประกอบเดีย
่ ว
ทฤษฎีองค์ประกอบสองตัว
ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว
ทฤษฎีโครงสร ้างเชาวน์ปัญญาของกิลฟอร์ด
ทฤษฎีองค์ประกอบเดียว
(Unique factor theory)
ทฤษฏีองค์ประกอบเดียวนีจ
้ ัดว่าเป็ นทฤษฏีแรก
ื่ กันว่า
ในเรือ
่ งการวัดเชาวน์ปัญญาของมนุษย์ โดยเชอ
เชาวน์ ปั ญญาของมนุ ษ ย์เ รามีลั ก ษณะเป็ นกลุ่ ม ก ้อน
เดีย วกั น จะแยกจากกั น ไม่ ไ ด ้ และเช ื่อ ว่ า “เชาวน์
ปั ญญา”
คือ ความสามารถในการคิดแบบนามธรรม
เ ป็ น ผ ล ข อ ง พั น ธุ ก ร ร ม แ ต่ เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว
กล่ า วคือ เช ื่อ ในเรื่ อ งของพั น ธุ ก รรมนั ้น เอง
ทีว่ า่ ความฉลาดหรือความโง่เป็ นสงิ่ ทีต
่ ด
ิ ตัวมาแต่กาเนิด
่ นัน
ใครฉลาดหรือโง่ก็จะเป็ นเชน
้ ตลอดไป
ทฤษฏีองค์ประกอบ 2 ตัว
(Bifactor Theory หรือ Two factor theory)
ทฤษฏีอ งค์ป ระกอบ 2 ตัวนี้ เกิด จาก
แนวคิดของ Charles Spearman ซงึ่
ื่
เป็ นนั กจิต วิท ยาชาวอังกฤษ ทฤษฏีนี้เ ช อ
ว่า เชาวน์ปัญญาของคนเรานัน
้ มี 2
องค์ประกอบ ด ้วยกันคือ
1. องค์ประกอบทั่วไป (General factor หรือ “g”)
2. องค์ประกอบเฉพาะ (Specific Factor หรือ “s”)
1. องค์ประกอบทั่วไป
(General factor หรือ “g”)
หมายถึง ความสามารถพืน
้ ฐานในการดาเนิน
“กิจกรรมทางสมองทุกอย่างของบุคคล”
่ การคิด การรับรู ้ ฯลฯ
เชน
ซงึ่ กิจกรรมทางสมองบางอย่างก็ใช ้ “g” มาก
บางอย่างก็ใช ้ “g” น ้อย และ “g” ในแต่ละบุคคลย่อม
มีปริมาณแตกต่างกันไป จึงทาให ้มีความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลทางด ้านความเฉลียวฉลาด สเปรียร์แมน
เน ้นว่า “g” เป็ น พล ังทางสมอง (mental energy)
นั่นเอง
2. องค์ประกอบเฉพาะ
(Specific Factor หรือ “s”)
หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการ
ทางานเฉพาะอย่าง ซงึ่ ขึน
้ อยูก
่ บ
ั สงิ่ แวดล ้อม โอกาสที่
่ ความสามารถทางดนตรี ศล
ิ ปะ
จะได ้เรียนรู ้ฝึ กฝนเชน
คณิตศาสตร์ ภาษา เป็ นต ้น
2. องค์ประกอบเฉพาะ
(Specific Factor หรือ “s”)
ั พันธ์ระหว่าง “g” และ “s”
ภาพแสดงความสม
ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว
(Multiple factor theory)
ประกอบด ้วยพืน
้ ฐานต่าง ๆ 7 ด ้าน ด ้วยกันคือ
1. V หมายถึง Verbal คือความสามารถทางด ้านการใช ้
ั ท์รป
คาศพ
ู คาประโยคต่าง ๆ
2. N หมายถึง Numberical คือ ความสามารถทางด ้าน
ตัวเลข การคิดคานวณ
3. S หมายถึง Spatial คือ ความสามารถในด ้านมิต ิ
ั พันธ์ อนุกรม
สม
4. W หมายถึง Word Fluency คือ ความคล่องในการ
ใชค้ าพูด
ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว
(Multiple factor theory)
5. M หมายถึง Memory คือ ความสามารถทางด ้าน
ความจา
้ ผล
6. R หมายถึง Reasoning คือ การรู ้จักใชเหตุ
7. p หมายถึง Perceptual Speed คือ อัตราในการรับรู ้
ของตา หู
พืน
้ ฐานทัง้ 7 ด ้านนีแ
้ ต่ละคนมีไม่เท่ากันแตกต่าง
กันออกไป บุคคลใดมีความถนัดด ้านใด ก็จะมีพน
ื้ ที่
สว่ นนัน
้ มาก
ทฤษฎีแบบโครงสร ้างของสติปัญญา
ของกิลฟอร์ด
(Guilford’s Structure of intellect Model)
มีลก
ั ษณะเป็ น 3 มิต ิ
มิตท
ิ ี่ 1 เนือ
้ หา (Content)
มิตท
ิ ี่ 2 วิธก
ี ารคิด (Operation)
มิตท
ิ ี่ 3 ผลของการคิด (Product)
มิตท
ิ ี่ 1 เนือ
้ หา (Content)
1
ภาพ (Figural) หมายถึง
ั ญาณต่าง ๆ
เครือ
่ งหมายหรือสญ
่ ตัวเลข ตัวอักษร โน ้ตดนตรี
เชน
ั ญาณจราจร เป็ นต ้น
สญ
2
ั
สญล
ักษณ์ (Symbolic)
หมายถึง เครือ
่ งหมาย หรือ
ั ญาณต่าง ๆ เชน
่ ตัวเลข โน ้ต
สญ
ั ญาณจราจร เป็ นต ้น
ดนตรีสญ
มิตท
ิ ี่ 1 เนือ
้ หา (Content)
3
ภาษา (Verbal) หมายถึง
ความหมายทีเ่ ป็ นถ ้อยคาต่าง ๆ
4
พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง
การกระทาหรือการแสดงออกต่างๆ
่ ความต ้องการ
ของบุคคล เชน
ทัศนคติและอารมณ์เป็ นต ้น
มิตท
ิ ี่ 2 วิธก
ี ารคิด (Operation)
1
การรู ้ (Cognition) หมายถึง
ความสามารถทางสมองของบุคคล
ทีจ
่ ะรู ้จัก หรือค ้นพบและเข ้าใจ
สงิ่ ต่าง ๆ
2
การจา (Memory) หมายถึง
ความสามารถทางสมองของ
บุคคลทีจ
่ ะจาสงิ่ ต่าง ๆ ได ้ หรือ
สามารถระลึกได ้
มิตท
ิ ี่ 2 วิธก
ี ารคิด (Operation)
3
การคิดแบบเอนกน ัย (Divergent
Thinking) หมายถึง ความสามารถที่
จะคิดหรือกระทาตอบต่อสงิ่ ต่าง ๆ ได ้
่ ประโยชน์ของผ ้าขาวม ้า
หลายทาง เชน
4
การคิดแบบเอกน ัย (Convergent
Thinking) หมายถึง ความสามารถ
ของมนุษย์ทค
ี่ ด
ิ กระทาตอบต่อสงิ่ ต่าง ๆ
ในทางทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ หรือหาคาตอบทีถ
่ ก
ู ต ้อง
สมเหตุสมผลทีส
่ ด
ุ เพียงคาตอบเดียว
มิตท
ิ ี่ 2 วิธก
ี ารคิด (Operation)
5
การประเมินค่า (Evaluaiton)
หมายถึง ความสามารถของมนุษย์ใน
ิ หรือประเมินคุณค่า
การพิจารณาตัดสน
สงิ่ ต่าง ๆ ได ้ถูกต ้องดีสมเหตุผล โดย
ั กฎเกณฑ์ทน
ื่ ถือ
อาศย
ี่ ่าเชอ
มิตท
ิ ี่ 3 ผลของการคิด (Product)
1
หน่วย (Unit) หมายถึง สงิ่ ย่อยทีส
่ ด
ุ ของ
สงิ่ ต่าง ๆ ทีม
่ ค
ี ณ
ุ สมบัตเิ ฉพาะตัวไม่
่ นกฮูก นกเอีย
เหมือนกับสงิ่ อืน
่ ๆ เชน
้ ง
นกพิราบ เป็ นต ้น ซงึ่ จะมีเอกลักษณ์ในตัวเอง
แต่จะเล็กว่า Class
2
จาพวก (Class) หมายถึง กลุม
่ ต่าง ๆ
่ นกฮูก นกเอีย
ทีมค
ี ณ
ุ สมบัตริ ว่ มกัน เชน
้ ง
นกพิราบ ต่างก็จัดเป็ นจาพวกนก
มิตท
ิ ี่ 3 ผลของการคิด (Product)
3
ั ันธ์ (Relation) หมายถึง
ความสมพ
ื่ มโยงของสงิ่ ต่าง ๆ เชน
่ พ่อคูก
ความเชอ
่ บ
ั แม่
ชายคูก
่ บ
ั หญิง หรือ แมวอยูบ
่ นบก ปลาอยูใ่ น
น้ า เป็ นต ้น
4
ระบบ (System) หมายถึง กลุม
่ ของสงิ่
ื่ มโยงกัน โดยมีหลักเกณฑ์
ต่าง ๆ ทีเ่ ชอ
่
รวมกันอยูอ
่ ย่างหนึง่ หรือมีแบบแผน เชน
เลขชุด 1 3 5 7 9 จัดเป็ นระบบเลขคี่ สว่ น
2 4 6 8 10 จัดเป็ นระบบเลขคู่
มิตท
ิ ี่ 3 ผลของการคิด (Product)
5
การแปลงรูป (Transformation)
หมายถึง การเปลีย
่ นแปลง แก ้ไข ปรับปรุง
ดัดแปลง สงิ่ ต่าง ๆ ออกมาในรูปใหม่
่ การให ้คานิยาม ย่อความ หรือ
เชน
ขยายความ เป็ นต ้น
6
การประยุกต์ (Implication) หมายถึง
การนาไปใช ้ การคาดคะเน การคาดหวัง
หรือการทานายเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ว่าจะมีสงิ่
ใดเกิดขึน
้ ตามมาอย่างมีเป้ าหมาย อย่างมี
เหตุผล และสามารถปรับตัวให ้เข ้ากับ
ิ ธิภาพ
สงิ่ แวดล ้อม อย่างมีประสท
สูตรการคานวณ IQ
สูตรการคานวณ IQ มีดงั นี้
อายุสมอง (Mental Age)
IQ = ----------------------------------------- x 100
อายุจริง (Chronological Age)
ต ัวอย่างการคานวณ : เด็กคนหนึง่ มีอายุ 18 ปี ทา
แบบทดสอบได ้เท่ากับอายุสมอง 16 ปี จงหาค่าของ IQ
ของเด็กคนนี้
16x100
IQ = ----------------------------------------18
IQ ของเด็กคนนีจ
้ ะมีคา่ เท่ากับ 88.9
การแบ่งระดับ IQ
ทีใ่ ชกั้ นในปั จจุบน
ั
- สูงกว่านี้ ยอดอัจฉริยะ Genius
140 ขึน
้ ไป หมายถึง ฉลาดมาก
120-139 หมายถึง ฉลาด
110-119 หมายถึง สูงกว่าปกติ
90-109 หมายถึง เกณฑ์ปกติ, ปานกลาง
80 - 89 หมายถึง ปั ญญาทึบ
้ ง่ ปั ญญาอ่อน
68 - 83 หมายถึง โง่คาบเสน,กึ
52 - 67 หมายถึง ปั ญญาอ่อน
36 - 51 หมายถึง ปั ญญาอ่อนอย่างอ่อน
- ตา
่ กว่า 36 หมายถึง ปั ญญาอ่อนในขัน
้ ไม่สามารถดูแล
ตนเองได ้ ต ้องมีผู ้คุ ้มครอง
ั พันธ์ระหว่างเชาวน์ปัญญา
ความสม
กับความสามารถด ้านอืน
่
1.
เชาว์ปัญญากับความสามารถด ้านการเรียน
2.
ี
เชาวน์ปัญญาและการประกอบอาชพ
1. เชาว์ปัญญากับความสามารถด ้านการเรียน
เด็กทีม
่ ี I.Q. ตา่ กว่าระดับปกติ สว่ นมากจะมี
ปั ญหาด ้านการเรียนแทบทัง้ นัน
้ จากการรวบรวมถึงสาเหตุ
ของปั ญหาการเรียนในเด็ก อันเนือ
่ งจากระดับเชาวน์
ปั ญญา (กรมการแพทย์ กระทรวง-สาธารณสุข, 2525
ิ ปศาสตร์
อ ้างถึงใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะศล
ภาควิชาจิตวิทยา, 2542 : 302) พบว่า
1) เชาวน์ปญ
ั ญาตา
่ ได ้แก่พวกเด็กเรียนชา้ มี
เชาวน์ปัญญาตา่ กว่าเกณฑ์เฉลีย
่ เด็กทีม
่ ี ไอ.คิว. ระหว่าง
71 – 79 มีความสามารถเรียนได ้ในระดับ ป.1 – ป.6 ใน
ั ้ เรียนพิเศษของโรงเรียนเด็กปกติ และอาจสามารถ
ชน
ั ้ เรียนเด็กปกติได ้เป็ นบางวิชา
เรียนร่วมในชน
1. เชาว์ปัญญากับความสามารถด ้านการเรียน
2) ปัญญาอ่อน ได ้แก่ พวกทีม
่ เี ชาวน์ปัญญาตา่
กว่าเกณฑ์เฉลีย
่ คือ ตา่ กว่า 70 ลงไป
แบ่งได ้เป็ น 4 ประเภท คือ
2.1 ปัญญาอ่อนน้อย หรือประเภททีพ
่ อเรียน
ได ้ จะมีความสามารถของเชาวน์ปัญญาระหว่าง 50 – 70
พวกนีม
้ ค
ี วามสามารถเทียบเท่าเด็กอายุ 7 – 10 ปี มี
ั ้ เรียนพิเศษในโรงเรียนเด็ก
ความสามารถเรียนได ้ในชน
ปกติ หรือเรียนในโรงเรียนพิเศษเฉพาะ ในระดับประถมต ้น
้ กสูตรพิเศษ อาจใชเวลาเรี
้
ั ้ ละ
ป.1 – ป.4 โดยใชหลั
ยนชน
ี ทีไ่ ม่
2 –3 ปี เมือ
่ เป็ นผู ้ใหญ่สามารถจะประกอบอาชพ
ยุง่ ยากนัก และอยูร่ ว่ มในสงั คมได ้ แต่ต ้องคอยให ้คา
แนะนา ชว่ ยเหลือในบางโอกาส
1. เชาว์ปัญญากับความสามารถด ้านการเรียน
2.2 ปัญญาอ่อนปานกลาง หรือประเภททีพ
่ อ
ฝึ กอบรมได ้ จะมีความสามารถของเชาวน์ปัญญาระหว่าง
35 – 49 พวกนีจ
้ ะมีความสามารถเทียบเท่าเด็กอายุ
3 – 7 ปี ไม่สามารถเรียนในโรงเรียนปกติได ้ ควรเรียนใน
โรงเรียนพิเศษโดยเฉพาะ พวกนีส
้ ามารถอ่านเขียนคา
ง่าย ๆ และพอรู ้จักจานวนง่าย ๆ และทอนเงินได ้ พอ
ี ง่าย ๆ
ชว่ ยเหลือตัวเองได ้บ ้าง และพอฝึ กประกอบอาชพ
ได ้ภายใต ้การควบคุมดูแลของครู
1. เชาว์ปัญญากับความสามารถด ้านการเรียน
2.3 ปัญญาอ่อนมาก จะมีความสามารถของ
เชาวน์ปัญญาระหว่าง 20 – 34 พวกนีม
้ ค
ี วามสามารถ
เทียบเท่าเด็กอายุ 3 ปี พวกนีเ้ รียนไม่ได ้ อาจชว่ ยเหลือ
ตัวเองได ้บ ้าง ได ้แก่ ป้ อนข ้าวเอง อาบน้ าเอง ชว่ ยเหลือ
่ ถูบ ้าน กวาดบ ้าน รถน้ าต ้นไม ้ แต่
งานบ ้านได ้ เชน
ั จูงให ้ทา
ต ้องมีคนคอยดูแล และชก
1. เชาว์ปัญญากับความสามารถด ้านการเรียน
2.4 ปัญญาอ่อนมากทีส
่ ด
ุ จะมีความสามารถ
ของเชาวน์ปัญญาตา่ กว่า 20 ลงไป พวกนีม
้ ค
ี วามสามารถ
เทียบเท่าเด็กอายุ 1–2 ปี ไม่สามารถชว่ ยเหลือตัวเองได ้
ิ
จาเป็ นต ้องให ้การดูแลอย่างใกล ้ชด
1. เชาว์ปัญญากับความสามารถด ้านการเรียน
ดังนัน
้ จะเห็นได ้ว่า ระดับของเชาวน์ปัญญา
หรือ I.Q. ของแต่ละคน มีผลต่อความสามารถทางการ
เรียน โดยเฉพาะทางด ้านวิชาการต่าง ๆ อย่างมาก
ั พันธ์ระหว่างเชาวน์ปัญญากับผลสม
ั ฤทธิใ์ นการ
ความสม
ั พันธ์อยูร่ ะหว่าง .60 ถึง .64 (Cattell
เรียน มีคา่ สหสม
and Butcher : 1968) แม ้จะจัดอยูใ่ นระดับสูง แต่ก็ไม่สงู
ั ฤทธิใ์ นการเรียนมิได ้ขึน
ทีเดียวนักเพราะผลสม
้ อยูก
่ บ
ั
เชาวน์ปัญญาแต่เพียงอย่างเดียว ยังขึน
้ อยูก
่ บ
ั
ความขยันหมั่นเพียรด ้วย
ดังนัน
้ ผู ้มีเชาวน์ปัญญาในระดับสูงหากมีความ
ั ฤทธิใ์ นการเรียนด ้อย
ขยันหมั่นเพียรน ้อย ก็อาจมีผลสม
กว่าผู ้มีเชาวน์ปัญญาในระดับตา่ ก็ได ้
ี
2. เชาวน์ปัญญาและการประกอบอาชพ
ั พันธ์กบ
ี
เชาวน์ปัญญาสม
ั การเลือกประกอบอาชพ
ี ในด ้านการเลือ ก
และความส าเร็ จ ในการประกอบอาช พ
ี ผู ้มีเ ชาวน์ปั ญ ญาสูงกว่า ย่อ มมีโ อกาสได ้รั บ เลือ ก
อาช พ
เข ้าสู่อ าช ีพ ที่ม ีฐ านะทางเศรษฐกิจ และสั ง คมที่สูง กว่ า
่ ในประเทศไทย อาชพ
ี ทีม
เชน
่ ฐ
ี านะทาง
เศรษฐกิจและสงั คมสูงคือ แพทย์และวิศวกร ผู ้ทีจ
่ ะเข ้าสู่
ี ทัง้ สองจะต ้องมีการแข่งขันมาก และการแข่งขันใน
อาชพ
ี้ าดด ้วยผลการสอบคัดเลือกซงึ่ เชาวน์ปัญญามี
ปั จจุบน
ั ก็ชข
สว่ นเกีย
่ วข ้องด ้วยอย่างมาก
IQ Test
IQ Test
เมือ
่ เข ้าสูเ่ ว็บไซด์ทท
ี่ ดสอบ IQ กรุณาทาดังนี้
1.
2.
3.
4.
เริม
่ การทดสอบโดยการคลิกปุ่ มเพือ
่ เลือกภาษา
คลิกปุ่ ม
เพือ
่ เริม
่ ทดสอบ
ถ ้าต ้องการไปคาถามต่อไป หรือย ้อนกับให ้คลิกทีป
่ ม
ุ่
ต ้องการตรวจสอบผลให ้คลิกทีป
่ ม
ุ่
และเลือก "Send"
ิ้ 40 นาที
5. แบบทดสอบ มีการจับเวลา โดยให ้เวลาทัง้ สน
ลองทาแบบทดสอบดูนะคะ.... ที่
http://www.iqtest.dk/main.swf