lebpro2 - สสจ.หนองบัวลำภู

Download Report

Transcript lebpro2 - สสจ.หนองบัวลำภู

โดย ชัชชฎา ศรีชูเปี่ ยม สานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ ๖ ขอนแก่น
มือถือ ๐๘๙ ๙๕๓ ๕๙๐๒
รู้เขา รู้เรา รบ ร้ อยครัง้ ชนะ ร้ อยครัง้
ขอบเขตการบรรยาย
 หลักการควบคุมโรค การเฝ้ าระวัง กาจัดโรคเรื้อน
 ความรู้โรคเรื้อน ระยะฟั กตัวของโรค
 เป้ าหมายการ ขององค์การอนามัยโลก
 การขานรับ เป้ าหมาย ของประเทศไทย
 สถานการณ์โรค อัตราความพิการ และการบรรลุเป้ าหมาย
 มาตรฐานงานโรคเรื้อน และ การประเมินผล

ทีมงานโรคผิวหนังเนื ้อชา
หัวหน้ากลุม่ อวพร. พญ ศศิธร ตัง้ สวัสดิ์
 งานกาจัดโรคผิวหนังเนือ้ ชา
ชัชชฎา ศรีชูเปี่ ยม สุพตั รา สิมมาทัน
วรางคณา คุ้มโภคา พรดารินทร์ วงศ์กาฬสินธุ์
บทบาทหน้าที่
- สนับสนุนจังหวัดในการดาเนินงานโรคเรื้อนตามมาตรฐาน
- สนับสนุน ยา สือ่ คู่มอื เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องในการทารายงาน

ทีมงานโรคผิวหนังเนื ้อชา
*งานสังคมสงเคราะห์ การฟื้ นฟู สภาพทางด้านสังคมเศรษฐกิจ
วันชัย พรหมศรี
 ทุนการศึกษา
 การสารวจผู พ
้ กิ ารและการสร้างเครือข่ายการสงเคราะห์ผูป้ ่ วย
 การสงเคราะห์ผูป้ ่ วยในชุมชน
วัตถุประสงค์ ของการประชุม
เรากาลังจะทาอะไร
- ค้นหาผู ป้ ่ วยโรคเรื้อน รายใหม่ทตี่ กค้างในชุมชน
 โดยใคร - สสจ. หนองบัวลาภู
 ทาไมต้องทาการค้นหา
 เพราะ พวกเราเป็ นจนท.สาธารณสุข (หน้าที่ รับผิดชอบ)
 เคยมีแหล่งรังโรค มีผป.เกิดในหมู่บา้ น จ.หนองบัวลาภู
 ทาอย่างไร ถึงจะง่าย ประหยัด แต่มคี ุณภาพ

เป้าหมาย : วัตถุประสงค์ การประชุมวันนี ้
เร่งรัดการค้นหาผู ป้ ่วยโรคเรื้อนรายใหม่
 ทบทวนมาตรฐานงานเฝ้ าระวังกาจัดโรคเรื้อน
 เพือ่ เตรียมความพร้อม ( การบริหารจัดการ การค้นหาผู ป้ ่ วย
โรคเรื้อนรายใหม่ )

คน เงิน วัสดุสงิ่ ของ อานาจหน้าที่ เวลา กาลังใจ ความสะดวกต่าง ๆ
( William T green wood - การบริหารทรัพยากร มี 7 อย่าง

men ,money ,material ,Authority ,Time , will , Facilities )
ทาไม ถึง ต้ อง เร่งรัดการค้ นหาผู้ป่วยโรคเรื อ้ นรายใหม่
WHO เร่งรัดงานโรคเรื้อนด้วย ตัวชีว้ ดั อัตราความพิการระดับ 2
ในผู ป้ ่ วยโรคเรื้อนรายใหม่ ลดต่ าลงร้อยละ 35 ในปี 2015
เปรียบเทียบกับ ข้อมูล ปี 2010
 ประเทศไทย ขานรับนโยบาย นัน้ และ ท้าท้าย โดยกาหนดเป้ าหมาย ร้อยละ
50

การบรรลุเป้าหมาย ลดความพิการ

ลดความล่าช้าในการวินจิ ฉัย และรักษา โรคเรื้อน
 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเคยเป็ นแหล่งรังโรค
 มีคนจานวนหนึง่ เคยติดเชื้อโรคเรื้อ
เพราะฉะนัน้ อาจพบผู ป้ ่ วยโรคเรื้อน ในจังหวัดหนองบัวลาภู
 ทาอย่างไรถึงจะพบผู ป้ ่ วยเร็วเพราะ พบเร็ว ไม่พกิ าร แพร่ เชือ้ ให้คนอืน่ น้อย
ตัดวงจรการแพร่ เชือ้ ลดการเกิดโรค
 การค้นหาเชิงรุก
 การค้นหาเชิงรับ
( ทาอะไรดี ทาทีไ่ หน อย่างไร )

สถานการณ์โรคเรื อ้ น ( ระยะกาจัดโรคเรื อ้ น)
35
30
25
20
new
gr.2
child
15
10
5
2536
2537
2538
2539
2540
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
0
พ.ศ
ปั ญหาโรคผิวหนังเนื ้อชา จังหวัดหนองบัวลาภู
 เปรียบเทียบกับโรคอืน่ ๆ
ไม่เป็ นปัญหา
 โรค ,ตัวโรค ,ภาวการณ์เจ็บป่ วย ,ความรุนแรงของโรค ???
 นโยบายของจังหวัดต่อโรคผิวหนังเนือ้ ชา ต้องการกาจัดหรือไม่ ?
 นโยบายของผู ต้ รวจ สปสช. จริงจังแค่ไหน
 นักวิชาการระดับจังหวัด ระดับCUP เข้าใจบทบาทหน้าทีร่ บั ผิดชอบ
นักวิชาการเข้าใจหลักการควบคุมโรค สามารถบริหารจัดการงานได้อย่าง
ประสิทธิภาพ
มุมมองปั ญหา ขนาดของปั ญหา
 จังหวัดร้อยเอ็ดเป็ นแหล่งรังโรคเดิม
เมือ่ ๕๐ ปี
 มีกลุม่ ประชาชนส่วนหนึง่ ติดเชือ้ โรคเรื้อน
 กลุม่ ประชากรกลุม่ นี้ มีโอกาสป่ วยเป็ นโรคผิวหนังเนือ้ ชา
 ประชากรกลุม่ นี้ มีความรู้ ความตระหนักเกีย่ วกับโรคนีด้ ี หรือ ยัง
 ประชากรกลุม่ นี้ ทีป่ ่ วย มีทศั นคติ ต่อโรคผิวหนังเนือ้ ชา ดีขน้ ึ หรือ แย่ลง
 เจ้าหน้าที่ แพทย์ ของจังหวัด ร้อยเอ็ด มีความรู้ ความตระหนักต่อการ
วินจิ ฉัยโรคผิวหนังเนือ้ ชา
เป้าหมาย กลุม่ เป้าหมาย



หมู่บา้ นทีเ่ คยมีผูป้ ่ วยโรคเรื้อน จานวน...../ อาเภอ
ประชากรกลุม่ เสียงในหมู่บา้ นนัน้ คือใครบ้าง......
ประชากรกลุม่ เสีย่ งอยู่ในหมู่บา้ นตลอด หรือย้ายถิน่
จานวนอาเภอทีเ่ คยมีผูป้ ่ วยในรอบ ๑๐ ๒๐ ปี กีแ่ ห่ง
 สถานีอนามัยทีร่ บั ผิดชอบหมู่บา้ นทีเ่ คยมีผป. กีแ่ ห่ง
 จนท.โรงพยาบาลชุมชนโดยเฉพาะแผนก OPD

เป้าหมาย คืออะไร
การกาจัดโรคได้ ใช้อะไรเป็ นตัวชีว้ ดั
 อัตราความชุกโรค
๑/๑๐,๐๐๐ ปชก ผ่าน
 อัตราการวินจิ ฉัยโรค ๑/ ๑๐๐,๐๐๐ ปชก
 จังหวัดร้อยเอ็ดพบผป.ใหม่ ไม่เกิน 17 คน
ถ้า ไม่ถงึ 17 ต้องรับประกันว่า ปชช.หมู่บา้ นเสียงมีความรู้
จนท.มีความสามารถในการวินจิ ฉัยโรค
****ผู ป้ ่วยใหม่ไม่พกิ าร หรือต่ากว่าร้อยละ ๑๐
หลักการเฝ้าระวัง ควบคุมโรค
 โรค
อหิวาตกโรค ระยะฟั กตัวเท่าไหร่
 ใช้หลักการ ไม่มผ
ี ู ป้ ่ วยรายใหม่ เกิดขึน้ ในระยะ 2 เท่าของระยะฟั กตัวของโรค
 โรคผิวหนังเนือ้ ชา ( Mycro bacterium lepare) ระยะฟั ก
ตัวของโรค กีป่ ี
 เพราะฉะนัน้ จะต้อง เฝ้ าระวังกีป่ ี หมายถึง ต้องทากิจกรรม นานกีป่ ี ? ต้อง
ค้นหานานกีป่ ี จึงจะสรุปได้ว่าไม่เป็ นปัญหา
เป้าหมายคืออะไร
 ร้อยละของ หมูบ่ า้ นทีเคยมีผูป้ ่ วย
มีการดาเนินกิจกรรมการค้นหา แบบเชิงรุก
แบบเชิงรับ อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ มีตวั อย่างงานวิจยั ทีป่ ระเทศมาลี
 ร้อยละ......ของจนท.แผนกOPD มีความรู้ความสามารถในการคัดกรองผู ม้ ี
อาการสงสัยโรคผิวหนังเนือ้ ชา
 ร้อยละ ....ของแพทย์ ได้รบั จดหมายข่าว ได้รบั เอกสารเกีย่ วกับการวินจิ ฉัยโรค
ผิวหนังเนือ้ ชา
การประเมิน มาตรฐานงาน โรคผิวหนังเนื ้อชา

เครือ่ งมือ LEM
Leprosy elimination monitoring
 แบบสัมภาษณ์ ประชาชน
 แบบสัมภาษณ์ผป.
 แบบเก็บข้อมูลผปทีรพ.ทีสุ่มได้ ประเมินแบบเก็บข้อมูลผป. ความพิการก่อนการ
รักษาหลังรักษา
 แบบเก็บข้อมูลด้านยา
 การรับยาสม่าเสมอ

เป้าหมาย คุณภาพการดูแลผู้ป่วย
 ร้อยละ 85
ของผู ป้ ่ วยโรคผิวหนังเนือ้ ชากินยาครบ 24 ใน 36 เดือน
และ 6/9 เดือน
 ความพิการหลังการรักษา ไม่เกินร้อยละ......( ท้าทาย )
 ผู ป้ ่ วยทีก่ าลังรักษาต้องได้ตรวจค้นหาความพิการ
 ผู ป้ ่ วยทีม่ โี รคเห่อหรือ silent neuritis ได้รบั
Prednisolone อย่างเหมาะสม
เป้าหมาย การดูแลผู้ได้ รับผลกระทบ
 หมายถึง
 ผู พ
้ กิ ารจากโรคเรื้อน
 ผู ป้ ่ วยทีก่ าลังรักษามีอตั ลักษณ์
(ผิวหนัง รอยโรคเป็ นทีน่ ่า
รังเกียจ ) self stigma (กลัวโรคไปติดคนอืน่ )
 บุตรผู ป้ ่ วยโรคเรื้อน
การตัดสินว่ าเป็ นปั ญหา / การประเมินปั ญหา
การสรุ ปว่ าเป็ นปั ญหา ใช้ เกณฑ์ อะไร

ใช้ RDA Tool แปรเป็ นภาษาไทย ผ่านการ valid และ Reli
 แบบสัมภาษณ์
ประเมิน ปัญหาทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
 ผู ป้ ่ วย หรือ ผู ไ้ ด้รบั ผลกระทบ ๑ ราย
สัมภาษณ์ ด้วยชุดสัมภาษณ์ ประกอบด้วย
-แบบประเมิน ๘ ข้อ ถ้าตอบใช่ เพียง ๑ ข้อ ต้องใช้แบบ
สัมภาษณ์ สัมภาษณ์ ๕ ด้านจานวน...ข้อ
- แบบสัมภาษณ์ คนในชุมชน ๑๐ คน
การดูแลผู้ได้ รับการสงเคราะห์ในนิคมเสลภูมิ
 ทางด้านร่ างกาย
 ทางด้านจิตใจ
 การถ่ายโอนภารกิจนิคม
ให้เป็ นชุมชนปกติ
การสงเคราะห์ในชุมชน
 การสารวจ
การรับสมัคร เพือ่ การสงเคราะห์ในชุมชน รพช สถานีอนามัย
 การติดตามคุณภาพชีวติ ผู ไ้ ด้รบั การสงเคราะห์ รพช สถานีอนามัย
 การดูแล การช่วยเหลือ กลุม่ ผู พ
้ กิ ารทีไ่ ม่ได้รบั การสงเคราะห์ในชุมชน
 การประเมินปัญหาทางด้านสังคมเศรษฐกิจ
ระดับความพิการไม่ถงึ 12 คะแนน
ผู ป้ ่ วยโรคเรื้อน ทีก่ าลังรักษา และ
การสงเคราะห์ในชุมชน
CUP
 CUP ทาหนังสือราชกาประสาน สถานีอนามัย อบต
 ทาเอกสาค สค. 1 และถ่ายรูปบ้านผป.
 สคร 2 คะแนนความพิการ12 คะแนน รวมทางด้านสังคม
ต้องได้ ๒๕ คะแนน
 สคร. ส่งเอกสารไปส่วนกลาง ส่วนกลางตอบกลับ สคร.เรียกไป
ทาสัญญา รับเงิน
 จังหวัดทาหนังสือราชการถึง
การสงเคราะห์ในชุมชน
 ถ้ามีผูป้ ่ วยโรคเรื้อน ผู เ้ คยป่ วยด้วยโรคเรื้อน ผู พ
้ กิ ารจากโรคเรื้อน
 สัมภาษณ์ผูป้ ่ วย
ขอรับการสนับสนุน ผ้าห่ม สิง่ ของเครือ่ งใช้ มาที่
ผู ร้ บั ผิดชอบจังหวัด ประสาน สคร.เพือ่ จัดหาสิง่ ของเพือ่ การ
สงเคราะห์ เช่นผ้าห่ม เสือ้ มุง้ อุปกรณ์งานครัว
การให้ ทนุ การศึกษา แก่ผ้ ปู ่ วย บุตรผู้ป่วย
สารวจว่ามีผูป้ ่ วยโรคเรื้อนบุตรผู ป้ ่ วยโรคเรื้อนทีก่ าลังรักษา หรือผู ป้ ่ วยเฝ้ าระวัง ทีก่ าลัง
ศึกษา มีหรือไม่ ต้องการคนทีม่ ฐี านะยากจน
 สคร.ส่ง ใบสมัครขอรับทุนการศึกษาให้ ผู ร้ บั ผิดชอบงานโรคเรื้อนจังหวัด
 PLC ส่งต่อให้CUP ส่งให้ผูป้ ่ วย แล้วส่งกลับมาจว.PLCรวบรวม
 สคร.ส่งแบบฟอร์ ขอรับทุนการศึกษาแบบรวมจังหวัด ในรูปแบบ หนังสือราชการ ถึง
PLC
 ส่งกลับมาสคร. สคร.ตัง้ คณะกรรมการพิจารณาให้ทุนการศึกษา
 ส่งหนังสือราชการพร้อมตัว๋ แลกเงินส่งให้ PLC ดาเนินการต่อ
 PLCส่งใบสาคัญรับเงินกลับมาสคร.

การให้ ความรู้เรื่ องโรคผิวหนังเนื ้อชาในชุมชน
 ตอกย้า ซ้ าซาก ต่อเนือ่ ง
 ลดการตีตรา
 ประหยัด
 น่าสนใจ ดึงดู
 ประเมินผล
 ทาต่อไป
ปรับให้ดขี น้ ึ
 กรม
สคร. สสจ.
อสม +ผญบ.
รพช / สอ รพสต. อบต.