5. วิจัย ตำหรับยาโรคผิวหนัง รพร.ธาตุพนม

Download Report

Transcript 5. วิจัย ตำหรับยาโรคผิวหนัง รพร.ธาตุพนม

การศึกษาผลการใช้ ยาตารับ
ทีป่ รุงสาหรับผู้ป่วยเฉพาะรายในกลุ่มโรคผิวหนัง
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม ปี ๒๕๕๖
ทาไมถึงทาการศึกษาเรื่องนี?้
 ปี งบประมาณ ๒๕๕๖ เป็ นปี แรกที่มีการเสนอยาตารับเข้าสู่ บญ
ั ชียา รพร. ธาตุพนม
 ยาตารับที่ใช้ เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่ วยจากการประกอบอาชีพ ที่พบได้บ่อยใน
ประชากรอาเภอธาตุพนม (อาชีพเกษตรกร สัมผัสกับสารเคมี มีปัญหาเกี่ยวกับโรค
ผิวหนัง)
 เกิดตารับยา ๖ ตารับ คือ ยาตารับสะเก็ดเงิน ยาตารับเริ มงูสวัด ยาตารับอาการที่เกิด
จากเชื้อรา ยาตารับอีสุกอีใส ยาตารับแผลน้ าเหลืองเสี ย และยาตารับผืน่ คันบริ เวณ
ผิวหนัง
 สามารถเก็บข้อมูลผูป้ ่ วยจากรู ปถ่าย เห็นผลการรักษาก่อนและหลังชัดเจน
 เก็บข้อมูลผลการรักษา เพื่อเสนอองค์กรแพทย์และทีมสหวิชาชีพ เพื่อให้ทราบ
ผลการรักษาด้วยการใช้ยาตารับ เกิดการยอมรับการรักษาด้วยยาแผนไทยที่ปรุ ง
สาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะราย
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาผลการใช้ยาตารับที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วย
เฉพาะรายในกลุ่มโรคผิวหนัง
วิธีการศึกษา/วิจัย
เก็บข้อมูลจากเวชระเบียนของผูป้ ่ วยที่มารับการรักษาระหว่างเดือน
พฤศจิกายน ๒๕๕๕ - มิถุนายน ๒๕๕๖ จานวน ๒๕ รายที่มารับการรักษา
ด้วยยาตารับที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะรายใน ๖ ตารับ แล้ววิเคราะห์ขอ้ มูล
เป็ นค่าร้อยละของผูป้ ่ วยที่มีอาการดีข้ ึนหลังการรักษา ร้อยละของผูป้ ่ วยที่มี
อาการทุเลาหลังการรักษาแต่ยงั นัดมารับยาต่อเพื่อประเมินผลการรักษาใน
แต่ละครั้ง และร้อยละของผูป้ ่ วยที่ไม่มารับการติดตามผลการรักษา
ผลการศึกษา/วิจัย
มีผปู้ ่ วยโรคผิวหนังที่มารับการรักษาด้วยยาตารับที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะ
รายจานวน ๒๕ ราย โดยแบ่งเป็ นผูป้ ่ วยที่มารับการรักษาที่งานแพทย์แผนไทย ๑๘ ราย
และผูป้ ่ วยที่แพทย์แผนปั จจุบนั ส่ งมาปรึ กษา ๗ ราย
มีการใช้ยาตารับปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะราย คือ ยาตารับสะเก็ดเงิน ๑ ราย ยา
ตารับเริ มงูสวัด ๒ ราย ยาตารับอาการที่เกิดจากเชื้อรา ๓ ราย ยาตารับแผลน้ าเหลือง
เสี ย ๔ ราย ยาตารับผืน่ คันบริ เวณผิวหนัง ๑๕ ราย ไม่มีผปู ้ ่ วยที่มารับการรักษาด้วยยา
ตารับอีสุกอีใส
ผลการศึกษา/วิจัย (ต่ อ)
จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลผลการรักษาพบว่า ในจานวนผูป้ ่ วย ๒๕ ราย มีการ
จานวนผูป้ ่ วยที่มีอาการดีข้ ึน ๑๓ ราย (ผืน่ คันบริ เวณผิวหนัง ๑๐ ราย, แผลน้ าเหลืองเสี ย
๒ ราย, เริ มงูสวัด ๑ ราย) คิดเป็ นร้อยละ ๕๒ จานวนผูป้ ่ วยที่มีอาการทุเลาหลังการ
รักษาแต่ยงั นัดมารับยาต่อเพื่อประเมินผลการรักษาในแต่ละครั้ง ๖ ราย (สะเก็ดเงิน ๑
ราย, แผลน้ าเหลืองเสี ย ๒ ราย, ผืน่ คันบริ เวณผิวหนัง ๒ราย, อาการที่เกิดจากเชื้อรา ๑
ราย) คิดเป็ นร้อยละ ๒๔ จานวนผูป้ ่ วยที่ไม่มารับการติดตามผลการรักษา ๖ ราย (ยา
ตารับผืน่ คันบริ เวณผิวหนัง ๓ ราย,ยา ยาตารับเริ มงูสวัด ๑ ราย, ยาตารับอาการที่เกิด
จากเชื้อรา ๒ ราย) คิดเป็ นร้อยละ ๒๔
ผลการศึกษา/วิจัย
•ยาตารับผืน่ คันบริ เวณผิวหนัง ๑๕ ราย
คิดเป็ นร้อยละ ๖๐
•ยาตารับแผลน้ าเหลืองเสี ย ๔ ราย
คิดเป็ นร้อยละ ๑๖
•ยาตารับอาการที่เกิดจากเชื้อรา ๓ ราย
คิดเป็ นร้อยละ ๑๒
•ยาตารับเริ มงูสวัด ๒ ราย
คิดเป็ นร้อยละ ๘
•ยาตารับสะเก็ดเงิน ๑ ราย
คิดเป็ นร้อยละ ๔
•ไม่ มี ผู ้ป่ วยที่ ม ารั บ การรั ก ษาด้ว ยยาต ารั บ
อีสุกอีใส
วิเคราะห์ ข้อมูลผลการรักษา
ข้ อสั งเกตจากการเก็บข้ อมูล
ข้ อมูลการรักษาผู้ป่วยทีม่ ีอาการดีขนึ้ ๑๓ ราย พบว่ า
ยาตารับผืน่ คันบริ เวณผิวหนัง ๑๐ ราย
• ระยะเวลาการใช้ยาที่เร็ วที่สุดคือใช้ยาเพียง ๑ ตารับ (๕ วัน – ๗ วัน)
• ระยะเวลาการใช้ยาที่ชา้ ที่สุดคือใช้ยา ๓ ตารับ (๑๕ วัน – ๒๑ วัน)
ยาตารับแผลน้ าเหลืองเสี ย ๒ ราย
• ระยะเวลาการใช้ยาเร็ วที่สุดคือใช้ยา ๒ ตารับ (๘ วัน – ๑๔ วัน)
• ระยะเวลาการใช้ยาที่ชา้ ที่สุดคือใช้ยา ๓ ตารับ (๑๕ วัน – ๒๑ วัน)
ยาตารับเริ มงูสวัด ๑ ราย
• ระยะเวลาในการใช้ยารักษาคือ ๑ ตารับ (ใช้ติดต่อกัน ๗ วัน)
สรุป
ยาตารับที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะรายในกลุ่มโรคผิวหนังสามารถ
ทาให้ผปู ้ ่ วยมีอาการทุเลาลงและอาการดีข้ ึนหลังการใช้ยา เพื่อพัฒนาต่อยอด
ควรทาการศึกษาเปรี ยบระหว่างผลการใช้ยาตารับที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะ
รายและยาแผนปัจจุบนั ใน ๖ กลุ่มโรค/อาการ ที่ทาการศึกษา เพื่อให้ผปู ้ ่ วย
เกิดความมัน่ ใจในการรับการรักษา
การนาผลการศึกษา/วิจัยไปใช้ ประโยชน์ ในงานประจา
๑. ผลการศึกษานี้ทาให้ผปู ้ ่ วยเกิดความมัน่ ใจในการรักษาด้วยการใช้ยาตารับ
ที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะรายในกลุ่มโรคผิวหนัง
๒. ผลการศึกษานี้เพิ่มความเชื่อมัน่ ให้วิชาชีพแพทย์แผนไทยใช้ยาตารับใน
การรักษาผูป้ ่ วย
๓. ทาให้วิชาชีพแพทย์แผนปัจจุบนั มีความเชื่อมัน่ ในการส่ งปรึ กษาผูป้ ่ วยมา
รับการรักษาด้วยการใช้ยาตารับที่งานแพทย์แผนไทย
ข้ อเสนอแนะในการนาผลการศึกษาครั้งต่ อไป
การศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาความพึงพอใจของผูร้ ับบริ การในการ
ใช้ยาตารับ, ศึกษาผลข้างเคียงต่อการใช้ยาตารับ,ศึกษาระยะเวลาในการ
รักษาระหว่างยาตารับที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะรายและยาแผนปัจจุบนั ,
ศึกษามูลค่าการใช้ยาตารับที่ปรุ งสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะรายและยาแผนปัจจุบนั
การพัฒนาต่ อยอด ปี งบประมาณ ๒๕๕๗
ปัญหาทีพ่ บจากปี งบประมาณ ๒๕๕๖
- ผูป้ ่ วยมีความไม่สะดวกในการใช้ยาตารับที่อยูใ่ นรู ปแบบยาต้มเคี่ยว
ปี งบประมาณ ๒๕๕๗ พัฒนายาตารับให้อยูใ่ นรู ปแบบที่ใช้งานง่ายสาหรับ
ผูป้ ่ วย โดยการปรุ งยาตารับผืน่ คันเรื้ อรัง (Chronic eczema) ให้อยูใ่ นรู ปแบบ
วาสลินยา และทิงเจอร์ตารับยาโรคผิวหนัง ให้เหมาะสมกับอาการของโรค
ผิวหนังนั้นๆ