เวียดนามกับการรับและปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมจีน

Download Report

Transcript เวียดนามกับการรับและปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมจีน

สถานภาพความรู้เกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์ เวียดนามของคนไทย
 คนไทยมีความรูเ้ กีย่ วกับเวียดนามน้อยมาก ไทยกับเวียดนามน่ าจะเริ่มติดต่อกัน
ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 (สมัยอยุธยา) โดยขัดแย้งเรือ่ งเขมร
 สมัยต้นรัตนโกสินทร์ องเชืองสือหรือเจ้าเหงียนอันห์แห่งราชวงศ์เหงียนเข้ามาพึง่
พระบรมโพธิสมภารเพือ่ รือ้ ฟื้นราชวงศ์
 สมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หวั ความสัมพันธ์ไทยและเวีย ดนามเป็ น
การแข่งขันช่วงชิงความเป็ นใหญ่เหนือเขมร
 เวียดนามในสายตาคนไทยสมัยพระบาทสมเด็จพระนังเกล้
่ าเจ้าอยูห่ วั ปรากฏในจารึก
พระเชตุพน
“
ภาพญวนเยีย่ งทูตเว้
เครือ่ งแต่งบรรยงขบวน
องนายนังเปลหาม
่
ถือพัดดาด้าจิว้
มายาเหลือแหล่ลน้
ชมแต่ฝีมอื ชาญ
เสพย์สตั ว์จระเข้ของ
เมืองเรียดริมน้ าใช้
เวียดนาม นี้พอ่
แบบงิว้
คนแห่ น่านา
วาดวีฯ
หลายลบอง
ช่างไม้
เขาชอบ ใจนา
เชีย่ วเรือ ฯ”
หนังสืออานามสยามยุทธ
 หลังความขัดแย้งไทย-เวียดนามยุตลิ ง ความรูข้ องคนไทยเกีย่ วกับเวียดนามลดน้อยลง
มาก งานศึกษาเกี่ยวกับเวียดนามเป็ นความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษางานของชาวตะวันตก
เช่ น งานของแฟร์แ บงค์ เรื่อ งเอเชีย ตะวัน ออกยุ ค ใหม่ งานของบัต ติง เจอร์ เรื่ อง
ประวัตศิ าสตร์การเมืองเวียดนาม
 งานของนักวิชาการไทยโดยมากศึกษาประวัตศิ าสตร์เวียดนามช่วงอาณานิคมจนได้
อิสระ เช่น งานของสุด จอนเจิดสิน เรื่องประวัตศิ าสตร์เวียดนามตัง้ แต่สมัยอาณานิคม
ฝรังเศสจนถึ
่
งปจั จุบนั ธีระ นุ ชเปี่ยม เรือ่ งเวียดนามหลัง 1975
 งานศึกษาประวัตศิ าสตร์เวียดนามก่อนเป็ นอาณานิคมฝรังเศสของนั
่
กวิชาการไทยมีน้อย
มาก เช่น สารนิพนธ์ของประทุม น้อยวัน เรื่องบทบาทและอิทธิพลของลัทธิขงจื่ อทีม่ ตี ่อ
พัฒนาการทางการเมืองและวัฒนธรรมของชาวเวียดนามในสมัยจารีต (มหาวิทยาลัย
ศิลปากร)
 บทความ 2 เรื่อ งของอนั น ท์ธ นา เมธานนท์ เรื่อ ง กฎหมายกับ การปฏิรู ป สถาบัน
ครอบครัวในเวียดนามสมัยราชวงศ์เล (ค.ศ.1428-1788) และผู้หญิงกับการเมืองสาย
ตระกูลในราชสานักเวียดนามราชวงศ์หลีและเจิน่ (ค.ศ.1010-1400) และสารนิพนธ์เรื่อง
บทบาทของกลุม่ ลัทธิความเชือ่ ทางศาสนาในโคชินจีนมัยอาณานิคม (ค.ศ.1867-1945) :
กลุม่ เกาได่และกลุม่ ฮัวเหา
่ (มหาวิทยาลัยศิลปากร)
ภูมิหลังของเวียดนามก่ อนตกอยู่ภายใต้ การปกครองของจีน
 อาณาจักรโอวหลัก (Au-lac) เป็ นอาณาจักรแรกของเวียดนาม คนจีนเรียก
ั ่ นออกเฉียงใต้วา่ “เยว์” (Yueh) แต่สาเนียงท้องถิน่ คนกลุ่ม
ผูค้ นทีอ่ ยูช่ ายฝงตะวั
นี้เรียกตัวเองว่า “เวียด” เยว์หรือเวียดอยูก่ ระจัดกระจายทางตอนใต้ของจีนเป็ นรัฐ
เล็กรัฐน้อย มีช่อื เรียกว่า “รัฐเยว์ทงั ้ ร้อย” “หนันเยว์” (Nan Yueh) หรือ “นาม
เวียด” มีศนู ย์กลางอยูท่ ก่ี วางตุง้ เป็ นรัฐใหญ่และสาคัญทีส่ ดุ
แผนที่ “หนันเยว์”
 ก่อนสถาปนาอาณาจักรโอวหลัก หลักฐานทางโบราณคดีแสดงให้เห็นว่าอารย
ธรรมของเวียดนามย้อนกลับไปตัง้ แต่ศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาลเรียกว่า อารย
ธรรมดองซอน (Dong-Son) มีความรุง่ เรืองมาก
กลองในสมัยดองซอน
ลายที่อยู่บนกลองสมัยดองซอน
 สมัย ชิห วังติ
่ (ราชวงศ์จิน๋ ) จัก รพรรดิพ ระองค์แ รกที่ร วบรวมจีน เป็ นปึ ก แผ่ น
ส่งทหารเข้ามาดินแดนเยว์หรือเวียด เนื่องจากดินแดนของเยว์อยู่ทางใต้ของจีน
คุมการค้าทางทะเล และมีทรัพยากรจานวนมากเช่น นอแรด งาช้าง ไข่มุก แต่จนี
ปกครองด้วยความลาบาก
 หลังชิหวังติ
่ สวรรคต ราชสานักจีนอยูใ่ นความวุน่ วาย จ้าวทัวซึง่ ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นผู้
บัญชาการทหารในดินแดนเยว์ เมื่อปี 201 ก่อนค.ศ. ประกาศตัวเองเป็ นอิสระตัง้
ตนเป็ นกษัตริย์ของราชวงศ์หนันเยว์ มีเมืองหลวงที่กวางตุ้ง จ้าวทั วได้รบั การ
สนับสนุนทัง้ จากชาวจีนทีถ่ กู เนรเทศมาตัง้ ถิน่ ฐานในแคว้นเยว์และพวกเยว์
 หลังจ้าวทัวสิน้ พระชนม์ ราชสานักของหนันเยว์ตกอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลจีน (ราชวงศ์
ฮัน)
่ ราชสานักเต็มไปด้วยทีป่ รึกษาจีน กิจการพลเรือนและนิตศิ าสตร์อยูใ่ นความ
รับผิดชอบของข้าราชการราชวงศ์ฮนั ่
การขยายอิทธิพลจีนสู่เวียดนาม
 เวียดนามถูกผนวกเข้าเป็ นส่วนหนึ่งของจีนในสมัยราชวงศ์ฮนั ่ เมื่อ 11 ปี ก่อน
ค.ศ. ในช่วงแรกราชวงศ์ฮนยั
ั ่ งไม่ไ ด้ควบคุม มากยังคงให้ปกครองกันเองตาม
ธรรมเนียมของเวียดนาม
 ค.ศ.9 หวางหมัง่ แย่ ง ชิง ราชสมบัติจ ากจัก รพรรดิร าชวงศ์ ฮ ัน่ ท าให้ช นชัน้
ปญั ญาชนจานวนมากอพยพมาพึง่ ขุนนางฮันในดิ
่ นแดนทางใต้ คนกลุ่มนี้แต่งงาน
กับหญิงเวียดนามทาให้เกิดการผสมผสานวัฒนธรรมจีนและเวียดนาม
 ค.ศ. 23 หวางหมังถู
่ กโค่นล้มและสถาปนาราชวงศ์ฮนขึ
ั ่ น้ ใหม่ สมัยนี้ สอื กวง นา
วัฒนธรรมจีนมาใช้อย่างมากทัง้ การเปิ ดโรงเรียน บังคับให้ทาพิธแี ต่ งงานแบบจีน
สวมรองเท้าและใส่เครื่องแต่งกายแบบจีน สอนวิธแี ละการพิจารณาความยุ ตธิ รรม
แบบจีน
 การปกครองแบบกดขีข่ องข้าราชการราชวงศ์ฮนั ่ ทาให้คนเวียดนามลุกต่อต้าน ใน
ค.ศ.40 สตรีสองพีน่ ้องตระกูลตรึง คือ ตรึงตรักและตรึงหญรี ประกาศตัวเองเป็ น
จัก รพรรดินีขบั ไล่ผู้ว่าราชการมณฑลทหาร ราชสานักจีนส่งขุนพลหม่ าหยวน
ปราบกบฏและใช้นโยบายปกครองเวียดนามอย่างรุนแรงและควบคุมประชาชน
โดยตรงทาให้มปี ฏิกริ ยิ าต่อต้านการปกครองจีนบ่อยครัง้ ในเวียดนาม
สองพี่น้องตระกูลตรึงลุกขึน้ มาต่อสู้และขับไล่ทหารจีน
 เวี ย ดนามเป็ นเอกราชจากจี น ในปี ค.ศ. 939 ในช่ ว งปลายราชวงศ์ ถ ั ง
โงเกวี่ยนเป็ นผู้นาและประกาศตนเองเป็ นกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรอั นหนัน
(เวียดนาม) แต่บุคคลสาคัญที่รวบรวมแผ่นดินให้เป็ นปึ กแผ่นคือ ดิ งห์โบะหลิง
และประกาศตนเองเป็ นจักรพรรดิแห่งอาณาจักรไดโกเวียด
 เวียดนามตกเป็ นของจีนช่วงสัน้ ๆ อีกครัง้ ในสมัยราชวงศ์หมิงระหว่าง ค.ศ.14071427 ผูน้ าทีต่ ่อสูจ้ นเอาชนะกองทัพจีนได้คอื เลเหล่ย
การรับและปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมจีนของเวียดนาม
การปกครอง
- การปกครองของเวียดนามโดยรวมแล้วรับแบบแผนจากจีน เช่น การปกครอง
แบบดึงอานาจเข้าสูศ่ นู ย์กลาง การจัดแบ่งกระทรวงเป็ น 6 กระทรวงคือ
กระทรวงมหาดไทย (Lai) กระทรวงการคลัง (Ho) กระทรวงพิธกี รรม (Le)
กระทรวงกลาโหม (Binh) กระทรวงยุตธิ รรม (Hinh) และกระทรวงโยธา
ธิการ (Cong) มีเสนาบดีเป็ นหัวหน้ารับผิดชอบ แต่ดว้ ยราชสานักเวียดนามมี
ขนาดเล็กกว่าจีนทาให้ขนาดหน่วยงาน จานวนข้าราชการมีความแตกต่างจากจีน
- ข้า ราชการเวียดนามต้องผ่านระบบการสอบซึ่งเวียดนามรับอิทธิพลจากจี น
เช่นกัน การสอบแบ่งเป็ น 3 ระดับ คือ ระดับท้องถิน่ ระดับเมืองหลวง และระดับ
จอหงวนหรือราชสานัก
- จัก รพรรดิเวียดนามยึดธรรมเนี ยมหลายอย่างตามแบบจีน เช่น ธรรมเนี ยม
เกี่ย วกับ พระนามของจัก รพรรดิ แต่ ธ รรมเนี ย มบางอย่า งมีใ ช้เ ฉพาะในสัง ค ม
เวียดนามคือ การสละราชสมบัติของจักรพรรดิในช่วงเวลาหรือช่วงพระชนม์ ท่ี
เหมาะสมให้กบั รัชทายาทหรือหว่างถายตือ๋ (hoang thai tu) ส่วนอดีต
จักรพรรดิอยู่ในฐานะ “ที่ปรึกษา” หรือ “จักรพรรดิอาวุโส” หรือ ถายเถื่องหว่าง
(thai thoung hoang)
 กฎหมายและสถานภาพของผูห้ ญิง
ก่ อ นเวี ย ดนามรับ แบบแผนหรื อ ธรรมเนี ย มราชส านั ก จี น มาปฏิ บ ัติ
สถานภาพของผูห้ ญิงเวียดนามมีความสาคัญไม่ต่างจากผูห้ ญิงในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ เช่น กรณีพน่ี ้องตระกูลตรึงทีไ่ ด้ถอื ว่าเป็ นวีรสตรีของชาติ แต่เมื่ออิทธิพล
จีนเข้ามาสถานภาพของผูห้ ญิงเปลี่ยนไป เช่น ภรรยาต้องทาหน้าทีใ่ นครอบครัว
อย่างเคร่งครัด
 วัฒนธรรม
1. การบันทึกประวัติศาสตร์
เวียดนามรับจารีตการเขียนบันทึกประวัตศิ าสตร์ตามแบบจีน มีการบรรยาย
เหตุการณ์ตามเวลาและแทรกด้วยข้อวิจารณ์หรือทัศนะของผูบ้ นั ทึกที่มกั เป็ นการสัง่
สอนหรื อ วิจ ารณ์ ต ามหลัก คุ ณ ธรรมแบบขงจื้ อ เช่ น ได่ เ หวีย ตสื่อ กี๋ บั น ทึ ก
ประวัตศิ าสตร์มหาอาณาจักรเวียด รวบรวมเหตุการณ์ตงั ้ แต่สมัยเจีย่ วหวูเวืองแห่ง
อาณาจัก รนามเวีย ต (Trieu-Vu-Vuong) ถึง จัก รพรรดินี ห ลีเ จี่ย วแห่ ง
ราชวงศ์ ห ลี (Ly-Chieu-Hoang) (207 ปี ก่ อ นคริส ตกาลถึง ค.ศ.1225)
จานวน 30 เล่ม
งานบันทึกประวัติศาสตร์
2. ภาษา/ตัวหนังสือ
ตัวหนังสือเวียดนามทีเ่ รียกว่าจือ๋ นม ประดิษฐ์ขน้ึ ในคริสต์ศตวรรษที่ 13
โดยใช้อกั ษรจีนมาผสมใหม่ใช้เขียนภาษาเวียดนามพืน้ เมือง เน้นให้สอดคล้องกับ
ความหมายและการออกเสียง นิยมใช้เขียนบทกวีพน้ื บ้าน เริม่ หมดความนิยมใน
สมัยอาณานิคม
ตัวอักษรจื๋อนม
3. การแต่งงาน
ชาวเวีย ดนามมีธ รรมเนี ย มการแต่ ง งานของตนอยู่ก่ อ นแล้ว เช่ น หญิง
เรียกร้องสินสอดจากชาย ซึ่งปรากฏมาตัง้ แต่ก่อนเริม่ คริสต์ศกั ราช แต่เมื่อรับ
อิทธิพลจากจีน เวียดนามก็นามาดัดแปลงผสมผสานจนกลายเป็ นประเพณีการ
แต่งงานของชาวเวียดนามในปจั จุบนั
4. การแต่งกาย
เวียดนามรับมาจากจีนเช่นกัน ในสมัยจักรพรรดิมนิ มางพระองค์ออกกฎหมาย
การแต่งกายของสตรีให้สตรีทางเวียดนามตอนเหนือหันมาสวมกางเกงขายาว
แบบจีนแทนการสวมกระโปรง อย่างไรก็ตาม กฎหมายดังกล่าวมีผลต่อการแต่ง
กายของสตรีในเมืองใหญ่ทางตอนเหนือในกลุม่ ภรรยาข้าราชการ พ่อค้ามากกว่า
ชาวนาในชนบทซึง่ มีฐานะยากจน
การแต่งกายของชาวเวียดนาม