การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา

Download Report

Transcript การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา

Slide 1

และพัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครอง
จัดทา
๑. ด.ช. สรวิศ เทอดเกียรติกุล ม.๒/๑ เลขที่ ๖
๒. ด.ช. นราวิโดย
ชญ์ แก้ววงษา ม.๒/๑ เลขที่ ๙
๓. ด.ช. ธนาธิป เย็นสบาย ม.๒/๑ เลขที่ ๑๒
๔. ด.ญ. จิราพัชร จุลบาท ม.๒/๑ เลขที่ ๑๘
๕. ด.ญ. ปพิชญา โชติพนั ธุ์ ม.๒/๑ เลขที่ ๒๐
๖. ด.ญ. มทนี บุรวัฒน์ ม.๒/๑ เลขที่ ๒๑
๗. ด.ญ. กุลณัฐ จันทร์แจ่มใย ม.๒/๑ เลขที่ ๒๒
๘. ด.ญ. สุปรียา เปี่ ยมลาภโชติกุล ม.๒/๑ เลขที่ ๒๓
๙. ด.ช.คีรรี ตั น์ วัฒนจิตสัมพันธ์ ม.๒/๑ เลขที่


Slide 2

ดินแดนไทยก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็ นราช
ธานี
ดินแดนไทยมีการตัง้ ถิ่นฐานเป็ นชุมชนมาตัง้ แต่สมัยก่อน
ประวัตศิ าสตร์ สังเกตได้จากหลักฐานทางโบราณคดี เช่น ลูกปั ด
โบราณ พระปรางค์สามยอด ปราสาทพนมรุง้ เป็ นต้น

ลูกปั ดโบราณ

พระปรางค์สามยอด


Slide 3

ก่อนสถาปนาอาณาจักรอยุธยาในบริเวณแม่นา้
เจ้าพระยา
มีเมืองทีส่ าคัญอยูก่ ่อนแล้ว ดังนี้
๑. แคว้นละโว้หรือลพบุรี อยูด
่ า้ นตะวันออกของแม่นา้ เจ้าพระยา เป็ นเมืองสาคัญใน
สมัยทวารวดี ต่อมา เป็ นเมืองสาคัญของอาณาจักรเขมร ลพบุรีมีความรุง่ เรือง
ทางวัฒนธรรมอย่างยิง่ ในทางพระพุทธศาสนา เป็ นแคว้นทีอ่ สิ ระ และมีความ
มัน่ คงทางเศรษฐกิจจึงสามารถติดต่อค้าขายกับจีนตัง้ แต่ก่อนสถาปนาอยุธยา
๒. แคว้นสุพรรณภูมิ อยูส
่ ุพรรณบุรี อยูด่ า้ นตะวันตกของแม่นา้ เจ้าพระยา มี
พัฒนาการเก่าแก่ตงั้ แต่ทวารวดีจงึ พบเหรียญตราของอาณาจักรทวารวดีเป็ น
จานวนมาก เมืองสุพรรณบุรีมีความสาคัญทัง้ การเมืองการปกครองและสังคม
วัฒนธรรม และได้เป็ นฐานอานาจของการสถาปนาอาณาจักรอยุธยาขึ้นในปลาย
พุทธศตวรรษที่ ๑๙


Slide 4

การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
พระเจ้าอูท่ องได้ทรงสถาปนาอาณาจักรอยุธยาเมื่อพ.ศ.๑๘๙๓
บริเวณลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยาตอนล่าง มีกรุงศรีอยุธยาเป็ น
ศูนย์กลางในการเมืองและการปกครองโดยรวมแคว้นสุพรรณ
ภูมิซงึ่ เป็ นแคว้นสาคัญของคนไทยในลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยา
ตอนล่างในด้านตะวันตกและละโว้ ซึง่ มีความเจริญรุง่ เรืองทาง
วัฒนธรรมด้านตะวันออก กรุงศรีอยุธยาเป็ น
อาณราจักรสาคัญของชาติไทยทีค่ งความเป็ นราชอาณาจักรไทย
ยาวนานถึง๔๑๗ ปี


Slide 5

ปั จจัยสาคัญที่ส่งเสริมการสถาปนากรุงศรีอยุธยา
ปั จจัยทางภูมิศาสตร์
กรุงศรีอยุธยาตัง้ อยูใ่ นทีท่ ม่ี ีลกั ษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
เหมาะสมต่อการสร้างถิ่นฐานมีแม่นา้ ล้อม ๓ สาย คือแม่นา้
เจ้าพระยา ลพบุรี และป่ าสัก
ลักษณะภูมิประเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ
ในยุทธศาสตร์ดงั นี้
๑.กรุงศรีอยุธยามีความอุดมสมบูรณ์เหมาะต่อการทาเกษตร
เพาะปลูก
เลี้ยงสัตว์ ประมง และบริเวณทีร่ าบลุม่ ริมแม่นา้ เหมาะต่อการปลูก


Slide 6

๒. กรุงศรีอยุธยาอยูใ่ กล้ปากแม่นา้ เข้าพระยาสามารถค้าขาบ
กับต่างประเทศได้สะดวก กรุงศรีอยุธยาเป็ นศูนย์กลางการ
คมนาคมและการค้ากับหัวเมืองทางฝ่ ายเหนือ ซึง่ เป็ นแหล่ง
รวมสินค้าป่ า และของหายาก ซึง่ ดึงดูดพ่อค้าต่างชาติให้
เดินทางมาค้าขาย
๓. ปั จจัยทางภูมิศาสตร์เป็ นผลให้บริเวณทีต่ งั้ กรุงศรีอยุธยามี
การตัง้ ชุมชนหนาแน่นซึง่ เป็ นพื้นฐานสาคัญทางเศรษฐกิจ
๔. กรุงศรีอยุธยามีแม่นา้ ล้อมรอบป้ องกันศัตรูผรู ้ ุกราน เมื่อถึง
ฤดูนา้ หลาก รอบพระนครจะเต็มไปด้วยนา้ เป็ นเวลาหลาย
เดือนซึง่ เป็ นอุปสรรคต่อข้าศึก


Slide 7

ปั จจัยภายนอกและทางด้านสังคมและ
วัฒนธรรม
ก่อนการสถาปนาอาณาจักรเขมรโบราณได้ขยายอานาจ
ครอบคลุมบริเวณลุม่ แม่นา้ มูล-ชี และลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยา แต่
เมื่ออาณาจักรขอมเสือ่ มอานาจลงแคว้นต่างๆบริเวณนัน้
สามารถตัง้ ตัวเป็ นอิสระ ขณะเดียวกันอาณาจักรสุโขทัยและ
ล้านนากาลังสร้างบ้านเมืองจึงเป็ นโอกาสทีจ่ ะสถาปนากรุงศรี
อยุธยา โดยรวมแคว้นสุพรรณบุรแี ละแคว้นละโว้ ซึง่ มีความสา
พันธ์แบบเครือญาติให้เป็ นฐานอานาจทีส่ าคัญและให้การ
สนับสนุนกาลังไพร่พล อาณาจักรอยุธยามีการเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็วกลายเป็ นอาณาจักรทีค่ วามสาคัญด้านการเมือง
และเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


Slide 8

ราชวงศ์อ่ทู อง
๑. สมเด็จพระรามาธิบดีท๑่ี (พระเจ้าอู่
ทอง)
๒. สมเด็จพระราเมศวร(ครัง้ ที่
๑)


Slide 9

สุพรรณภูมิ
๑. สมเด็จพระบรมราชธิราชที่ ๑(ขุนหลวงพ่อ
งัว่ )
๒. สมเด็จพระเจ้าทองลัน(หรือเจ้าทอง
จันท์)


Slide 10

ราชวงศ์อ่ทู อง
๑. สมเด็จพระราเมศวร(ครัง้ ที่
๒)

๒. สมเด็จพระราม
ราชาธิราช


Slide 11

ราชวงศ์สพุ รรณภูมิ ตัวอย่าง เช่น
๑. สมเด็จพระบรมไตร
โลกนาถ

๒. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ


Slide 12

สมเด็จพระศรีสรุ โิ ยทัย
พระราชประวัตขิ องสมเด็จพระสุรโิ ยไทยังไม่เป็ นทีท่ ราบแน่ชดั แต่สนั นิษฐาน
ว่าสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์สุโขทัย ซึง่ ดารงตาแหน่งพระอัครมเหสีในสมเด็จ
พระมหาจักรพรรดิ ในขณะทีส่ มเด็จพระมหาจักรพรรดิ ขึ้นครองราชย์สมบัติ
กรุงศรีอยุธยาต่อจาก
ขุนวรวงศาธิราชได้เพียง ๗ เดือน เมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๑ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และ
พระมหาอุปราชาบุเรงนองยกกองทัพพม่า-รามัญเข้ามาล้อมกรุงศรีอยุธยา
ครัง้ แรก โดยผ่านมาทางด้านด่านพระเจดียส์ ามองค์ จังหวัดกาญจนบุรแี ละ
ตัง้ ค่ายล้อมพระนคร การศึกครัง้ นัน้ เป็ นทีเ่ ลื่องลือถึงวีรกรรมของ สมเด็จพระ
ศรีสุรโิ ยไท ซึง่ ไสช้างพระทีน่ งั่ เข้าขวางพระเจ้าแปรด้วยเกรงว่า สมเด็จพระ
มหาจักรพรรดิ พระราชสวามี จะเป็ นอันตราย จนถูกพระแสงของ้าวฟั นพระ
อังสาขาดสะพายแล่งสิ้นพระชนม์อยูบ่ นคอช้าง เพื่อปกป้ องพระราชสวามีไว้
เมื่อสงครามยุตลิ ง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้ทรงปลงพระศพของพระนาง
และสถาปนาสถานทีป่ ลงพระศพขึ้นเป็นวัด ขนานนามว่า


Slide 13

ราชวงศ์สโุ ขทัยตัวอย่าง เช่น
๑. สมเด็จระนเรศวร
มหาราช
๒. พระเอกาทศรถ


Slide 14

ราชวงศ์ปราสาททอง ตัวอย่าง เช่น
๒. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
๑. สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง


Slide 15

ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง ตัวอย่าง เช่น
๑. สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๘(พระเจ้า
เสือ)

๒. สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ


Slide 16

สมัยอยุธยาสมัยอยุธยา
ตอนต้น
๑. จตุสดมภ์ ประกอบด้วย
กรมเวียง ทาหน้าทีป่ ราบปรามโจรผูร้ า้ ย รักษาความสงบ
ภายใน ดับเพลิงในพระนคร และตัดสินคดีความร้ายแรง
กรมวัง ทาหน้าทีด่ ูแลงานในพระราชสานัก งานธุรการ ตัดสิน
คดีความ และแต่งตัง้ ยกกระบัตรไปดูแลหัวเมืองต่าง ๆ
กรมคลัง ทาหน้าทีเ่ กี่ยวกับพระราชทรัพย์ การค้ากับ
ต่างประเทศ บัญชีวสั ดุและอาวุธของราชการ พระคลังหลวง
การรับรองทูตต่างประเทศ และการตัดสินคดีความของคน
ต่างชาติ


Slide 17

กรมนา ทาหน้าทีต่ รวจตราและส่งเสริมการทานา เก็บข้าวไว้เป็ น
เสบียงยามสงคราม ตัดสินคดีความเกี่ยวกับทีน่ า ออกกรรมสิทธิท์ น่ี า
แก่
๒.รเมืาษฎร
องลูกหลวง อยูใ่ กล้ราชธานี กษัตริยจ์ ะแต่งตัง้ ให้ราชวงศ์ชนั้ สูง
หรือพระราชโอรสไปปกครอง
๓.เมืองชัน้ ใน เป็ นเมืองเล็กๆทีอ่ ยูร่ ายล้อมพระนคร เมื่อมีสงครามจะ
ส่งคนมาช่วยรบ
๔.เมืองชัน้ นอก เป็ นเมืองใหญ่ และมีเมืองเล็กๆอยูภ่ ายใต้การ
ปกครอง ปกครองโดยเชื้อสายทีไ่ ว้ใจได้
๕.เมืองขึ้น เป็ นเมืองทีอ่ ยูห่ า่ งไกล ชาวเมืองส่วนใหญ่เป็ นชาวต่างชาติ


Slide 18


Slide 19

สมัยอยุธยาสมัยอยุธยา
ตอนกลาง
ลักษณะสาคัญ 2 ประการคือ
1. จัดการรวมอานาจเข้าสู่ศนู ย์กลาง
2. แยกกิจการฝ่ ายพลเรือนกับฝ่ ายทหารออกจากกัน
การปกครองส่วนกลาง
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โปรดฯให้มีตาแหน่งสมุหกลาโหม
รับผิดชอบด้านการทหาร นอกจากนี้ยงั ได้ทรงตัง้ หน่วยงานเพิ่มขึ้นมา
อีก 2 กรม คือ
กรมมหาดไทย มีพระยาจักรีศรีองครักษ์เป็ นสมุหนายก มีฐานะ
เป็ นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าทีค่ วบคุมกิจการพลเรือนทัว่ ประเทศ


Slide 20

กรมกลาโหม มีพระยามหาเสนาเป็ นสมุหพระกลาโหม มีฐานะ
เป็ นอัครมหาเสนาบดี มีหน้าทีค่ วบคุมกิจการทหารทัว่ ประเทศ
นอกจากนี้ใน 4 กรมจตุสดมภ์ทม่ี ีอยูแ่ ล้ว ทรงให้มีการปรับปรุง
เสียใหม่ โดยตัง้ เสนาบดีข้ นึ มาควบคุมและรับผิดชอบในแต่ละกรม
คือ
กรมเมือง (เวียง) มีพระนครบาลเป็ นเสนาบดี
กรมวัง
มีพระธรรมาธิกรณ์เป็ นเสนาบดี
กรมคลัง
มีพระโกษาธิบดีเป็ นเสนาบดี
กรมนา
มีพระเกษตราธิการเป็ นเสนาบดี


Slide 21

สมัยอยุธยาสมัยอยุธยาตอน
ปลาย
ช่วงเวลาตัง้ แต่สมัยสมเด็จพระเพทราชาถึงสมัยสมเด็จพระทีน่ ง่ั
สุรยิ าศน์อมรินทร์ หรือพระเจ้าเอกทัศ (พ.ศ. 2231 2310) รูปแบบการปกครองในสมัยอยุธยาตอนปลาย ยังคงยึด
รูปแบบการปกครองตามทีส่ มเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงจัด
ระเบียบไว้ แต่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองบางส่วนใน
สมัยสมเด็จพระเพทราชา ดังนี้

1. ยกเลิกการแยกความ
รับผิดชอบของอัครมหาเสนาบดีดา้ นงานพลเรือน และด้าน
งานทหาร


Slide 22

2. ให้สมุหพระกลาโหมรับผิดชอบทัง้ ด้านทหาร
และพลเรือน ปกครองหัวเมืองฝ่ ายใต้ตงั้ แต่เพชรบุรลี งไป
3. ให้สมุหนายกรับผิดชอบท้งด้านทหารและพล
เรือน ปกครองหัวเมืองฝ่ ายเหนือและดูแลจตุสดมภ์ในส่วนกลาง
4. ให้เสนาบดีกรมคลังรับผิดชอบทัง้ ด้านาทหาร
และพลเรือน ปกครองหัวเมืองชายฝั่งตะวันออก และดูแลเกี่ยวกับ
รายได้ของแผ่นดินและการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ


Slide 23

สิ้นสุดของอาณาจักรอยุธยา
อยุธยาดารงความเป็ นอาณาจักรทีย่ ิ่งใหญ่ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 1893
จนกระทัง่ ได้มาถึงวาระสิ้นสุด
ในปี พ.ศ. 2310 อันเนื่องมาจากสาเหตุดงั ต่อไปนี้
สาเหตุภายใน
ปลายสมัยอยุธยานัน้ ขุนนางในราชสานักขาดความสามัคคี มี
การแบ่งพรรคแบ่งพวกและหาโอกาสแย่งชิง่ อานาจกันอยูเ่ สมอ ส่งผล
ให้เกิดความแตกแยกในหัวเมืองต่าง ๆ ความไม่เป็ นเอกภาพดังกล่าว
นี้ เป็ นจุดอ่อนทีท่ าให้ไม่สามารถรับศึกจากกองทัพพม่า ทีส่ ามารถเข้า
โจมตีได้ในทีส่ ุด


Slide 24

คาถาม
๑. เมืองทีอ่ าณาจักรอยุธยารวมเข้าด้วยคือ
เมืองละโว้ เมืองสุพรรณภูมิ

๒. แคว้นละโว้ตงั้ อยูท่ างด้านทิศในของลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยา
ทางด้านทิศตะวันออก
๓. อาณาจักรอยุธยาทีม่ ีการคงความเป็ นราชอาณาจักรกี่ปี
๔๑๗ ปี
๔. ก่อนการสถาปนาอาณาจักรใดทีค่ รอบคลุมลุม่ แม่นา้ มูล-ชี และ
ลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยา
อาณาจักรขอมโบราณ


Slide 25

๕. บุคคลใดทีส่ ถาปนาอยุธยาเป็ นราชธานี และเหตุใดจึงใช้ให้
อยุธยาเป็ นราชธานี
สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ ตัง้ อยุธยาเป็ นราชธานีเพราะ ๑. มีความอุดม
สมบูรณ์
๒. มีแม่นา้ ล้อมรอบ ๓. เป็ นพื้นฐานสาคัญทางเศรษฐกิจระหว่างอยุธยากับจีน

๖. พัฒนาการทางการเมืองการปกครองสมัยอยุธยาสมัยอยุธยา
ตอนต้นเป็ นแบบใด
เป็ นแบบจตุสดมภ์ และมีการปกครองแบบหัวเมืองลูกหลวง
ชัน้ นอก ชัน้ ใน และเมืองขึ้น
๗. พัฒนาการทางการเมืองการปกครองสมัยอยุธยาสมัยอยุธยา
ตอนกลางมีการเพิ่มหน่วยงานกี่หน่วย อะไรบ้าง
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม


Slide 26

๘. พัฒนาการทางการเมืองการปกครองสมัยอยุธยาสมัยอยุธยา
ตอนปลายเป็ นแบบใด
๑. ยกเลิกการแยกความรับผิดชอบของอัครมหาเสนาบดีดา้ นงานพล
เรือน และด้านงานทหาร
๒. ให้สมุหพระกลาโหมรับผิดชอบทัง้ ด้านทหารและพลเรือน ปกครอง
หัวเมืองฝ่ ายใต้ตงั้ แต่เพชรบุรลี งไป
๙. สาเหตุใดทีท่ าให้อาณาจักรอยุธยาล่มสลาย
ขุนนางในราชสานักขาดความสามัคคี ส่งผลให้เกิดความแตกแยก
ในหัวเมืองต่าง ๆ เป็ นจุดอ่อนทีท่ าให้ไม่สามารถรับศึกจาก
กองทัพพม่า ทีส่ ามารถเข้าโจมตีได้ในทีส่ ุด
๑๐. กรมเวียงทาหน้าทีใ่ ด
ทาหน้าทีจ่ บั โจรผูร้ า้ ย