ระบบป้องกัน - ศูนย์ วรรณกรรม ซา เล เซียน

Download Report

Transcript ระบบป้องกัน - ศูนย์ วรรณกรรม ซา เล เซียน

ระบบป้องกัน
ความหมายแห่ งคา
จุดเริ่ม
• สถานการณ์ เด็ก/เยาวชนและสั งคม
ไปเยีย่ มเด็กในคุกแล้ วเห็น
“หากเด็กมีใครรักใครดูแล ก็คงไม่ ต้องลงเอยในคุกแบบนี”้
• กลายเป็ นการท้ าทาย
อบรมให้ เด็กได้ รับสิ่ งดีๆโดยไม่ ต้องพบกับประสบการณ์เลวร้ าย
• คุณพ่อบอสโกตอบรับการท้ าทาย
สร้ างภูมิความดีไว้ ในเด็กเพือ่ ปกป้องรักษาเขาไว้
• กลายเป็ นประสบการณ์
เน้ นภูมคิ วามดีซึ่งจะกีดกันหรือสกัดกั้นความไม่ดี
ภูมติ ้ านทางแรกคือความรักและความอบอุ่น
“เป็ นพ่อที่รักและทุ่มเทให้ แก่ เด็กทุกคน”
• กลับเป็ นระบบการอบรม
เมือ่ ได้ รับความรักเด็กรู้ ในคุณค่ าที่มี
“ไม่ เพียงรัก แต่ ต้องทาให้ เด็กเห็นว่ าเรารัก...
แม้ ด้วยใบหน้ า ท่ าที คาพูด...” (จดหมายจากโรม)
“รักสิ่ งที่เด็กรักและชอบ แล้ วเด็กจะรักสิ่ งที่ที่ผูู้้ใหช่ ชอบ”
ผูู้้อบรมแสดงความรักต่ อเด็กด้ วยการเป็ นพ่อ
เป็ นพีแ่ ละเป็ นเพือ่ น
แสดงออกในการเป็ นกันเอง สิ นทสนมกับเด็ก
โดยเฉาะเวลาหย่ อนใจ
ความรักอยู่ในความสนิทสนม เป็ นกันเอง
เมื่อมีความรักก็มีความไว้ วางใจกัน
ใครอยากให้ เด็กรัก ต้ องแสดงให้ เห็นว่ ารักเขา
ตามยีย่ งอย่ างพระคริสตเจ้ าผูู้้ทรงเป็ นพระอาจารย์
แห่ งความสนิทสนม
ครู ในห้ องสอน ลงสนามร่ วมหย่ อนใจ
พระสงฆ์ ที่เห็นแต่ เทศน์ กท็ าหน้ าที่สงฆ์
แต่ ถ้ามาพูดคุยกับเด็กในสนามในเวลาหย่ อนใจ
ก็กลายเป็ นการพูดในฐานคนรักใคร่ กนั
“และเมื่อเห็นว่ าเรารัก เด็กก็จะรัก (ไม่ ใช่ รักตอบ)
แต่ รักในสิ่ งที่เรารักและอยากให้ เขารัก”
แม้ สิ่งที่เด็กไม่ ชอบโดยธรรมชาติ “ระเบียบ การเรียน
การเสี ยสละ การตัดใจ...แล้ วค่ อยๆ ปฏิบัติตามด้ วย
ความเต็มใจและความรัก”
การสานต่ องาน
• สถานการณ์ เด็ก/เยาวชนและสั งคม
ในบริบทและสถานการณ์ ปัจจุบัน “รักคือการให้ เวลา”
ทุกวันนีม้ ีสิ่งทีต่ ้ องทาเพิม่ ขึน้ และมากมาย
การบริหารโรงเรียนมีหลายอย่ างต้ องทาต้ องติดตาม
ส่ งผู้ลกระทบต่ อหน้ าทีข่ องการอบรม
การบริหารเวลาเป็ นเรื่องสาคัชเพือ่ การทาตามบทบาทหน้ าที่
การอยู่กบั เด็กจึงไม่ ใช่ “การมีเวลาให้ ” แต่ เป็ น
“การจัดสรรเวลาให้ ” ตามลาดับคุณค่ าและความสาคัช
• อ่ าน วิเคราะห์ โฟกัส การท้ าทาย
รักเด็กต้ องรู้ ว่าตอนนีเ้ ด็กสนใจอะไร
ผูู้้อบรมให้ ความสนใจสิ่ งทีเ่ ด็กสนใจ
ไม่ เพียงเพือ่ บอกว่ ารู้ หรือชี้ด้านลบเท่ านั้น
แต่ ต้องรู้ และเห็นในด้ านบวก
อีกทั้งศักยภาพทีแ่ ฝงอยู่เพือ่ การเติมชีวติ เด็ก
• ด้ วยประสบการณ์ แห่ งระบบป้องกัน
เด็กทุกวันนีไ้ ม่ ใช่ แย่ ลง
แต่ สถานการณ์ ของเด็กทุกวันนีเ้ ปลีย่ นไป
รวมทั้งสถานการณ์ และบริบทของสั งคมเปลีย่ นไป
Role Model ในพ่อแม่ ครู ผูู้้ใหช่ เปลีย่ นไป
ถือเป็ นการล่ มสลายของมาตรฐานการอบรม
ซึ่งกระทบการเติบโตพัฒนาและคุณค่ าในตัวเด็ก
เด็กเติบโตพัฒนาในด้ านความรู้ และประสบการณ์
ผู้่ านทางสื่ อทุกรู ปแบบ
เป็ นการรับรู้ และมีประสบการณ์
ทีไ่ ม่ สอดคล้ องกับวุฒภิ าวะ
วุฒภิ าวะด้ านการับรู้ ไม่ สอดคล้ องกับวุฒภิ าวะแห่ งวัย
จุดยืนและจุดอ้ างอิงมีหลากหลายมากขึน้
ไม่ เหมือนก่ อนทีม่ ีคาสั่ งสอนของพ่อแม่
หลักศาสนา กติกาสั งคม
จุดยืนและจุดอ้ างอิงเหล่ านีม้ ีแค่ บทบาทนาเสนอ
ไม่ มีการแนะนาหรือสอนการเลือก
เพราะส่ วนใหช่ เป็ นการรับรู้ ของเด็ก
ตามลาพังกับแหล่ งที่มาต่ างๆ
ผูู้้อบรมต้ องเปลีย่ นมุมมองและบรรทัดฐาน
หากมองว่ าเด็กแย่ ลง
ผูู้้อบรมก็ได้ แต่ พยายามแก้ ไข เช็ดล้ าง
แต่ หากมองว่ าเด็กเปลีย่ นไป
การอบรมก็ต้องเปลีย่ นตามเพือ่ ตอบรับ
การท้ าทายและสร้ างภูมิให้ เด็ก
• ผู้นึกพลังซาเลเซียน ผูู้้ร่วมงาน บริบท สถาบัน
ซาเลเซียนมีจานวนน้ อยลง
ครู และผูู้้ร่วมงานต้ องมีบทบาทมากขึน้
ครู ประจาชั้นคือผูู้้ใกล้ ชิดและมีเวลากับเด็ก
เหตุผู้ล ศาสนาและความรักใจดี
• เหตุผู้ล
กระบวนการอบรมตั้งอยู่บนเหตุผู้ล
เหตุผู้ลจูงใจ ปรีชาฉลาด คุณภาพมนุษย์
คานึงถึงพลังและความพร้ อมของแต่ ละคน
คานึงบุคคลเป็ นรู ปธรรม มีชื่อมีนามสกุล
ช่ วงเวลาแห่ งชีวติ จังหวะการพัฒนา
• ศาสนา
กระบวนการอบรมตั้งอยู่บน
คุณค่ าของเยาวชนแต่ ละคน
ทรงไว้ ซึ่งศักยภาพแห่ งการเติบโต
และศักดิ์ศรีแห่ งความเป็ นมนุษย์
สิ่ งสร้ างของพระเจ้ า เป็ นบุคคล
ความเชื่อบอกว่ าแต่ ละคนเป็ นลูกพระเจ้ า
พระเยซูเจ้ าทรงตายเพือ่ ไถ่ ก้ ู
พระจิตทรงอบรมชี้นา
และคา้ จุนจากส่ วนลึกแห่ งจิตใจ
ต้ องคานึงว่ าแต่ ละคนมีความซับซ้ อน
หลากหลาย หลากวัฒนธรรม ต่ างศาสนากัน
ซึ่งเป็ นลักษณะของคนในสั งคมทุกวันนี้
• ความรักใจดี
กระบวนการอบรมตั้งอยู่บนความรัก
รัก = ti voglio bene โดยไม่ คานึงความ
ยากลาบากและความแตกต่ าง นิสัยใจคอ
บุคลิก จึงเป็ นการปรารถนาความดีของพวก
เขาและรักพวกเขา ซึ่งหมายถึงการสร้ างความ
สมดุลแก่ แรงกระตุ้น ความรู้ สึก ความ
รอบคอบ ความรัก ความกล้ าหาช
ประสิ ทธิภาพ พันธะและการริเริ่ม
ที่ขาดไม่ ได้
• เพือ่ ทาได้ ต้องรู้ จกั สถานการณ์ อย่ างดี
• และไวต่ อการเปลีย่ นแปลงของกาลเวลา
• พ่อบอสโกบอกผูู้้ร่วมงาน
“ต้ องรู้ จกั และปรับตัวเข้ ากับ
กาลเวลาของเรา” (1885)
• เป็ นหลักการของการกระทาต่ อเนื่อง
เรา “Con tempi e con Don Bosco”
พร้ อมออกนอกกรอบ
• ถ้ าพ่ อบอสโกมีชีวติ อยู่ในยุคนีใ้ นบริบทไทย
• เยาวชนและปัชหาของเยาวชน
นาพ่อบอสโกไปยังจุดทีค่ ุณพ่อไม่ เคยคาดคิด
มาก่ อนและโดยส่ วนตัวไม่ คดิ จะไปถึงจุดนั้น
ด้ วยท่ าที
• ให้ ความสนใจแก่ ความต้ องการของเยาวชน
• ร่ วมชะตากรรมกับพวกเขา
• “เราไม่ เพียงรักเยาวชน
แต่ พวกเขาต้ องรู้ ว่าเป็ นทีร่ ักของเรา”
• พ่อบอสโกให้ ผูู้้ร่วมงานรู้ จกั เด็กแต่ ละคน
ติดตามพวกเขาก้ าวต่ อก้ าว
• Essere solidali : amichevole, vicinato,
fraterna, solidale, in buoni rapporti,
conoscere, familiare, intima.
• con I loro interessi vitali : essere concorde
con altri nel modo di pensare, di sentireo di
agireed e’ pronto a condividere gli impegni
e le responsabilita’ assunti da essi.
- เห็นพ้องกับความต้ องการ
และเจตนาของพวกเขา
- เชื่อมโยงกับบริบทประวัติศาสตร์ ที่พวกเขา
เกิด เติบโตและพัฒนาบุคลิกภาพ
- สรุปคือ “l’amicizia e il dialogo
educativo. (friendship and educative
dialogue)
ระบบป้ องกัน
• ความหมายของ “prevent”
• เชิงรับ คอยปกป้อง ระแวดระวัง สร้ างมาตรการ
เยียวยารักษา
• เน้ นภายนอกและใช้ ระเบียบบังคับ เหมือนการ
กีดกันฝ่ ายกาย ล้ อมกรอบ แยกออกมา ปกป้อง
รักษา ป้องกัน การทาผู้ิด
• มีประโยชน์ แต่ กย็ งั เพียงพอ
สร้ างภูมคิ วามดี
• Preservare, proteggere, preparare,
premunire, illuminare, istruire,
promuovere.
• พ่อบอสโก : “illuminare la mente per
rendere buono il cuore”
ระบบป้ องกัน
• ความหมายของ “prevent”
• เชิงรับ คอยปกป้อง ระแวดระวัง สร้ างมาตรการ
เยียวยารักษา
• เน้ นภายนอกและใช้ ระเบียบบังคับ เหมือนการ
กีดกันฝ่ ายกาย ล้ อมกรอบ แยกออกมา ปกป้อง
รักษา ป้องกัน การทาผู้ิด
• มีประโยชน์ แต่ กย็ งั เพียงพอ
• เชิงรุ ก สร้ างภูมิต้านทาน ให้ เห็นคุณค่ า
แห่ งตน
ให้ ความตระหนักใจ
• ซับซ้ อนมากกว่ า
• ประกอบด้ วยองค์ ประกอบการอบรม
ทุกอย่ างที่
เสริมสร้ างเยาวชน
• ตระเตรียม สร้ างความเข้ มแข็ง ค้ นพบ
ความดีและพลังภายใน
• จึงเป็ นการแยกออกเมื่อสร้ าง
• สร้ างเพือ่ ไม่ ต้องแก้ ไข เช็ดล้ าง เก็บกด
(Pietro Braido)
• เป็ นการอยู่ของผูู้้อบรมในแง่ ของการชี้แนะ
ชี้นาและเสริมสร้ าง
• คุณพ่อบอสโก
“จงเปิ ดหูเปิ ดตา กว้ างและไกล”
“อย่ าเบื่อเฝ้ าระวัง สั งเกต เข้ าใจ
ร่ วมทุกข์ ร่วมสุ ขและให้ ความช่ วยเหลือ”
“จงเป็ นเหมือนพ่ อทีร่ ักลูกทีพ่ ูด เป็ นผูู้้ชี้นาในทุกอย่ าง ให้
คาแนะนา ตักเตือนแก้ ไขลูกด้ วยความรัก หรือจะพูดอีกนัยหนึ่ง
จัดให้ เด็กอยู่ในบริบทไม่ สามารถทาผู้ิดได้ ”
“ผูู้้อบรมเป็ นพ่ อทีไ่ ม่ ปล่ อยปะลูกจนกว่ าลูก
จะสามารถดูแลปกครองตนเองได้ ”
เป็ นวิธีการทีท่ รงคุณภาพและขาดไม่ ได้ ใน
การสร้ างเด็กให้ มีบุคลิกแท้ จริงและมีมติ ฝิ ่ ายจิต
• การป้องกันคือการปลุกเร้ าพลังแห่ งความดี
ในตัวเด็ก
• คา “ป้องกัน” หมายถึงการไปล่ วงหน้ าถึง
แหล่ งของประสบการณ์ เชิงลบ ซึ่งอาจ
กระทบต่ อพลังสู่ ความดีหรือหรือจาต้ องใช้
พลังมหาศาลเพือ่ กู้คนื หากไม่ ถงึ ขนาดแก้ ไข
ไม่ ได้ (J.B.Bosco sdb)
• ในเวลาเดียวกัน คา “ป้องกัน” ยังหมายถึง
การยอมรับเชิงบวก เข้ าสู่ ความจริงแห่ ง
การอบรมที่เอือ้ “การริเริ่มทุกอย่ างเพือ่ การ
เพิม่ พูดความดี” และให้ กาลังใจ “ในการ
ปลดปล่ อยตนเองจากการเป็ นทาสทุกชนิด
เพือ่ ไม่ ให้ ความชั่วครอบงาความเปราะบาง
ของเยาวชน” (J.B.Bosco sdb)
การป้องกันจึงเป็ นมาตรการการอบรมอันได้ แก่
• การเสนอประสบการณ์ เชิงบวก
ทีน่ ่ าดึงดูดและชวนให้ มีประสบการณ์ น้ันๆ
• ก่ อให้ เกิดเสน่ ห์แห่ งความน่ ารั ก
และพันธะน่ าชื่นชม
• สร้ างแรงบันดาลใจจากภายใน
มุ่งไปสู่ การเติบโตพัฒนา โดยมองข้ ามการ
ทาตัวสอดคล้ องเพียงภายนอกอย่ างเดียว
พร้ อมทั้งเผู้ยให้ เห็นแรงจูงใจภายในและ
ส่ งเสริมให้ ริเริ่มด้ วยอิสรภาพภายใน
• ได้ ใจเยาวชน
เพือ่ กระตุ้นให้ พวกเขามุ่งความดี
ด้ วยการมอบตนเป็ นของขวัชแก่
ผูู้้อนื่ และรับใช้ ทุกคนด้ วยความ
ยินดี
• “ป้องกัน”
คือระบบ
องค์ รวมแห่ งชีวติ
และประสบการณ์ (ecosystem)
ระบบที่เกิดจากความสั มพันธ์ ระหว่ าง
สิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้ อม)
พลังขับเคลือ่ นแห่ งระบบป้ องกัน
• การเลือกความดีของเยาวชน ความรักทีใ่ ห้ การ
อบรมและถือเป็ นธุระในการดูแลสภาพเยาวชน
และปัชหาที่พวกเขาต้ องพบ
• มีรากฐานบนความเชื่อในเมาตาปราณีและความ
เป็ นบิดาทรงเมตตาของพระเจ้ าที่เห็นในชีวติ
นักบุชฟรังซิสแห่ งซาลส์
• ความตระหนักในความยิง่ ใหช่ และความ
เปราะบางของเยาวชนและศักดิ์ศรีแห่ งการ
เป็ นบุตรพระเจ้ า มั่นใจว่ าในเยาวชนแต่ ละคน
แม้ จะแย่ ขนาดไหน ก็มีแนวน้ าสู่ ความดีทผู้ี่ ้ ู
อบรมต้ องค้ นพบและใช้ เป็ นจุดเริ่มการอบรม
• ท่ าทีต่อเยาวชนมีแรงขับเคลือ่ นจากความมี
เหตุผู้ล ความรักใจดีและแรงบันใดจากชีวติ
ศาสนา
• การอบรมทีต่ ้งั อยู่ในการอยู่กบั เยาวชนอย่ างมี
บทบาทและฉันเพือ่ นเพือ่ ช่ วยให้ เป็ นคนดี
ยิง่ ขึน้ และให้ กาลังใจปลดปล่ อยตนเองจาก
การเป็ นทาสทุกรู ปแบบ ทุกอย่ างใน
บรรยากาศครอบครัวทีท่ าให้ เยาวชนรู้ สึกว่ า
อยู่บ้านของตน
• เป้าหมาย ศาสนิดแี ละพลเมืองซื่อสั ตย์ ”
โครงสร้ างมนุษย์
(งาน ศาสนา ฤทธิ์กศุ ล)
โครงสร้ างสั งคม
(ความศรัทธาเลือ่ มใส ศีลธรรม
วัฒนธรรม อารยธรรม)
บริบทการอบรม
• “บ้ านที่ต้อนรับ วัดที่ประกาศข่ าวดี โรงเรี ยนสู่ ชีวติ
และสนามเพือ่ การพบปะของเพือ่ นและเพือ่ ความ
สนุกสนานเริงร่ า” (พระวินัย 40)
• ทุกกิจกรรมมีมิตขิ องการอบรม (การเรียน กีฬา
กิจกรรมในหลักสู ตร-นอกหลักสู ตร กิจกรรมสั งคมวัฒนธรรม กิจกรรมจิตสาธารณะ...)