ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

Download Report

Transcript ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

ประสู ติ
ตรัสรู้
ปรินิพพาน
ผู้จดั ทา
พระพุทธเจ้ ามีพระนามเดิมว่ า
“สิ ทธัตถะ” เป็ พระราชโอรสของพระเจ้ า
สุ ทโธทนะ กษัตริย์ผ้ คู รองกรุ งกบิลพัสดุ์
แคว้ นสั กกะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ทางภาคใต้
ของประเทศเนปาล พระราชมารดาทรงพระนามว่ า "พระนางสิ ริมหามายา" ซึ่งเป็ นพระ
ราชธิดาของกษัตริย์ราชสกุลโกลิยวงศ์ แห่ งกรุ งเทวทหะ แคว้ นโกลิยะ
เจ้ าชายสิ ทธัตถะประสู ตเิ มือ่ ๘o ปี ก่ อนพุทธศักราช ทีส่ วนลุมพินีวนั ณ ใต้ ต้น
สาละนั้น ซึ่งอยู่ระหว่ างพรมแดนกรุ งกบิลพัสดุ์และกรุ งเทวทหะ ได้ มีพราหมณ์ ท้งั ๘ ได้
ทานายว่ า เจ้ าชายสิ ทธัตถะมีลกั ษณะเป็ นมหาบุรุษ คือ ถ้ าดารงตนในฆราวาสจะได้ เป็ น
จักรพรรดิ ถ้ าออกบวชจะได้ เป็ นศาสดาเอกของโลก แต่ โกณฑัญญะพราหมณ์ ผ้ อู ายุน้อย
ทีส่ ุ ดในจานวนนั้น ยืนยันหนักแน่ นว่ า พระราชกุมารสิ ทธัตถะจะเสด็จออกบวชและจะได้
ตรัสรู้ เป็ นพระพุทธเจ้ าแน่ นอน
ทันทีทปี่ ระสู ติ ทรงดาเนินด้ วยพระบาท ๗ ก้ าว มีดอกบัวผุดรองรับ ทรง
เปล่งพระวาจาว่ า "เราเป็ นเลิศทีส่ ุ ดในโลก ประเสริฐทีส่ ุ ดในโลก การเกิดครั้งนีเ้ ป็ น
ครั้งสุ ดท้ ายของเรา"
หลังประสู ตไิ ด้ ๗ วัน
พระนางสิ ริมหามายาสิ้นพระชนม์
จึงทรงอยู่ในความดูแลของพระนาง
ปชาบดีโคตมี ซึ่งเป็ นพระกนิษฐา
ของพระนางสิ ริมหามายา
พระองค์ ทรงศึกษาเล่ าเรียน
จนจบระดับสู งของการศึกษาทางโลก
ในสมัยนั้น คือ ศิลปศาสตร์ ถึง ๑๘ ศาสตร์ ในสานักครู วศิ วามิตร
พระบิดาไม่ ประสงค์ จะให้ เจ้ าชายสิ ทธัตถะเป็ นศาสดาเอก จึงพยายามให้
สิ ทธัตถะพบแต่ ความสุ ขทางโลก เช่ น สร้ างปราสาท ๓ ฤดู และเมือ่ อายุ ๑๖ ปี ได้ ให้
เจ้ าชายสิ ทธัตถะอภิเษกสมรสกับนางพิมพาหรือยโสธรา ผู้เป็ นพระธิดาของพระ
เจ้ ากรุ งเทวทหะซึ่งเป็ นพระญาติฝ่ายพระมารดา
ในปี ทีท่ รงพระชนมายุได้ ๒๙ พรรษานั้นเอง เจ้ าชายสิ ทธัตถะผู้เป็ นรัชทายาท
ได้ เสด็จประพาสพระราชอุทยาน ๔ ครั้ง ได้ ทอดพระเนตรเห็น คนแก่ คนเจ็บไข้ คน
ตาย และ สมณะ ตามลาดับในการเสด็จประพาส ๓ ครั้ง พระองค์ ทรงสลดพระทัยใน
ความทุกข์ ยาก และความไม่ เทีย่ งแท้ ความผันแปรของชีวิต
เจ้ าชายสิ ทธัตถะทรงตัดสิ นพระทัยแน่ วแน่ แล้วว่ าจะเสด็จออกผนวชหลัง
เสด็จกลับพระองค์ ทรงทราบว่ าพระนางพิมพา พระวรชายาของพระองค์ ได้
ประสู ตพิ ระโอรส คือ พระราหุล
ในคืนวันนั้น พระองค์ ทรงม้ ากัณฐกะ มีนายฉัน
นะ เป็ นผู้ตามเสด็จบ่ ายพระพักตร์ ส่ ู แคว้ นมคธตอนใต้ พอ
เวลาใกล้ ร่ ุ งก็เสด็จถึงแม่ นา้ อโนมาเข้ าสู่ ฝั่งของแคว้ นมัลละ
พรมแดนแห่ งสั กกะกับแคว้ นมัลละ เสด็จข้ ามแม่ นา้ อโนมา
เข้ าสู่ ฝั่งของแคว้ นมัลละประทับยับยั้งอยู่ที่ฝั่งแม่ นา้
จากนั้นทรงตัดพระเมาลีของพระองค์ ด้วยพระ
ขรรค์ แล้วทรงอธิฐานเพศบรรพชิตทรงผนวชเป็ น สมณะ
ณ ฝั่งแม่ นา้ นั้น แล้วตรัสสั่ งนายฉันนะ ให้ นาม้ ากัณฐกะ
และเครื่องทรงกลับกบิลพัสดุ์นับ แต่ ร่ ุ งอรุ ณวันนั้นเป็ นต้ น
มา พระสิ ทธัตถะก็เสด็จแรมอยู่ทอี่ นุปิยอัมพวัน แคว้ น
มัลละ แต่ พระองค์ เดียวชั่วเวลาราว ๗ วัน
ต่ อมาพระองค์ ได้ เสด็จออกจากอนุปิย
อัมพวันแคว้ นมัลละ แล้วไปยังที่ต่างๆ จนถึงเขตกรุ ง
ราชคฤห์ แคว้ นมคธเพือ่ แสวงหา โมกขธรรม (ความ
พ้ นทุกข์ ) ครั้งเสด็จเข้ าไปอบรมศึกษาในสานักอา
ฬารดาบสกาลามโคตร และ อุทกดาบสรามบุตร
ทรงเห็นว่ า ลัทธิของ ๒ สานักนั้นไม่ ใช่ ทางพ้ นทุกข์
ใด จึงทรงอาลาจากสานักดาบสทั้งสองนั้น เสด็จ
จารึกแสวงหา โมกขธรรมต่ อไปจนถึง ตาบลอุรุเวลา
เสนานิคมอันมีแม่ นา้ เนรัญชราไหลผ่ านได้ ประทับ
อยู่ในป่ า ณ ตาบล นีท้ รงเริ่มบาเพ็ญทุกรกิริยา โดย
ประการ ต่ างๆ อย่างเคร่ งครัด ในเวลานั้นพวก
ปัญจวัคคีย์ เกิดความเลือ่ มใสในพระสิ ทธัตถะ ได้ พากันมาเฝ้ าปฏิบัติพระองค์ ด้วยความ
เคารพ
นับแต่ ปีทีท่ รงผนวชถึงปี ทีไ่ ด้ ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาอย่ าง
เคร่ งครัดนั้น เป็ นเวลา ๖ ปี แล้วพระสิ ทธัตถะทรงแน่ พระทัยว่ า การ
บาเพ็ญทุกรกิริยานั้นไม่ ใช่ ทางพ้ นทุกข์ แน่ และประกอบกับเวลานั้น
ท้ าวสั กกะได้ เสด็จมาเฝ้ า ทรงดีดพิณ ๓ สายถวายคือ สายหนึ่งตึง
เกินไปมักขาด สายหนึ่งหย่อนเกินไปเสี ยงไม่ เพราะ สายหนึ่งพอดี
เสี ยงไพเราะยิง่ ทาให้ พระสิ ทธัตถะแน่ พระทัยยิง่ ขึน้ ว่ า การทาความ
เพียร เคร่ งครัดเกินไปนั้นไม่ ใช่ ทางพ้ นทุกข์ อย่ างแน่ แท้ พระองค์ จึง
ทรงเลิกบาเพ็ญทุกรกิริยา ทรงหันมาบาเพ็ญเพียร ทางใจอันได้ แก่
สมถะ (ความสงบ) วิปัสสนา (ปัญญา)
โดยทรงเริ่มเสวยพระกระยาหารตามปกติ พวกปัญจ
วัคคีย์ท้งั ๕ เห็นดังนั้น จึงคลายศรัทธาเลิกเฝ้ าปฏิบัติ แล้วพากันไป
อยู่ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี เป็ นเหตุให้
พระองค์ ประทับอยู่แต่ พระองค์ เดียว ทาให้ ได้ รับความวิเวกยิง่ ขึน้
ครั้นอยู่ต่อมาถึงวันเพ็ญเดือนวิสาขะ เวลา
เช้ า พระองค์ เสด็จไปประทับทีโ่ คนต้ นไทรต้ นหนึ่ง
ใกล้ แม่ นา้ เนรัญชรา เวลานั้นนางสุ ชาดา ธิดาสาวของ
กฎมพี
ุ นายบ้ านเสนานิคม ตาบลอุรุเวลา ได้ จัดข้ าว
มธุปายาสใส่ ถาดทองคา นาไปบวงสรวงเทวดาทีต่ ้ น
ไทรนั้นตามลัทธินิยมของตน ครั้นเห็นพระสิ ทธัตถะ
ประทับนั่งอยู่ทเี่ ข้ าใจว่ าเป็ นเทวดาจึงน้ อมถวายข้ าว
มธุปายาสพร้ อมทั้งถาดทองคา พระสิ ทธัตถะทรงรับ
ข้ าวมธุปายาสแล้ วเสด็จไปยังแม่ นา้ เนรัญชรา ทรงสรง
สนานพระวรกาย แล้ วเสวยข้ าวมธุปายาสแล้ วทรงลอย
ถาดลงในกระแสแม่ นา้ เนรัญชรา ครั้นแล้วแล้วจึงเสด็จ
ไปประทับในดงไม้ สาละใกล้ฝั่งแม่ นา้ เนรัญชรานั้น
ครั้นย่างเข้ ายามเย็น พระสิ ทธัตถะก็เสด็จ
จากป่ าสาละไปยังต้ นอัสสั ตถพฤกษ์ (มหาโพธิ) ต้ น
หนึ่งซึ่งอยู่ริมฝั่งทีโ่ ค้ งแม่ นา้ เนรัญชราฝั่งตะวันตก
ระหว่ างทางทรงรับฟ่ อนหญ้ าคาที่คนหาบหญ้ าขายชื่อ
โสตถิยะน้ อมถวาย ๘ ฟ่ อน ทรงนาไปปูลาดเป็ น
บัลลังก์ทคี่ วงไม้ มหาโพธิน้ัน แล้วประทับลงบนบัลลังก์
นั้น ผินพระพักต์ ไปทางทิศตะวันออก ทางแม่ นา้ เนรัญ
ชรา ทรงบาเพ็ญเพียรทางใจ คือ ทรงเจริญสมถะและ
วิปัสสนาได้ บรรลุพระอนุตรสั มมาสั มโพธิญาณ สาเร็จ
เป็ นพระพุทธเจ้ าในยามสุ ดท้ ายแห่ งวันเพ็ญเดือน
วิสาขะ ก่ อนพุทธศักราช ๔๕ ปี
เมือ่ พระพุทธองค์ ได้
ตรัสรู้ และแสดงธรรมมาเป็ น
เวลานานถึง ๔๕ ปี มี
พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ได้ ประทับจาพรรษา ณ เวฬุ คาม ใกล้ เมืองเวสาลี ทรงประชวร
อย่าง
หนัก ครั้นเมือ่ ถึงวันเพ็ญเดือน ๖ พระพุทธองค์ กบั
พระภิกษุ
สงฆ์ ทั้งหลาย ก็ไปรับ บิณฑบาตทีบ่ ้ านนายจุนทะ ตามคา
กราบทูลนิมนต์ พระองค์ เสวยสุ กรมัททวะทีน่ ายจุนทะตั้งใจ
ทาถวาย ก็เกิดอาพาธลง แต่ ทรงอดกลั้นมุ่งเสด็จไปยังเมือง
กุสินารา ประทับ ณ ป่ าสาละ ในราตรีน้ัน ได้ มีปริพาชกผู้
หนึ่งชื่อสุ ภัททะขอเข้ าเฝ้ า และได้ อุปสมบทเป็ นพระพุทธ
สาวกองค์ สุดท้ าย
เมือ่ ถึงยามสุ ดท้ ายของคืนนั้น พระพุทธองค์ กท็ รงประทานปัจฉิมโอวาท ว่ า
“ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อันว่ าสั งขารทั้งหลายย่ อมมีความเสื่ อมสลาย ไปเป็ นธรรมดา ท่ าน
ทั้งหลายจงยังกิจทั้งปวง อันเป็ นประโยชน์ ของตน และประโยชน์ ของผู้อนื่ ให้ บริบูรณ์ ด้ วย
ความไม่ ประมาทเถิด ” หลังจากนั้นก็เสด็จเข้ าดับขันธุ์ปรินิพพาน ในราตรีวนั เพ็ญเดือน ๖
คณะผู้จัดทา
นาย ประกิจ ประชาศรัทธาชาติ
นางสาว ประทุมวดี ศักดิ์กาญจนรัตน์
นาย ธีระวิทย์ กลมเกลียว
กลุ่มสาระ สั งคมศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียน วัดปทุมวนาราม ในพระบรม
ราชู ปถัมภ์ ฯ
สานักงานเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
ปัจจุบันคือ ต.รุ มมินเด ประเทศเนปาล
พราหมณ์ ๕ รู ป อันได้ แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ
เมืองกุสินารา แคว้ นมัลละ
ปัจจุบันคือ ต.พุทธคยา ประเทศอินเดีย
"ราหุล" แปลว่ า บ่ วง ได้ มาจากการทีพ่ ระบิดาพอได้ ทราบว่ า พระกุมาร
ประสู ติ ก็ทรงเปล่ งอุทานออกมาว่ า "ราหุล ชาต พนฺธน ชาต : บ่ วงเกิดขึน้ แล้ว
พันธนาการเกิดขึน้ แล้ว" พระอัยกา (ปู่ ) ทรงนึกว่ า สิ ทธัตถราชกุมารทรงต้ องการตั้ง
พระนามของโอรสอย่างนั้น จึงทรงขนานนามพระภาคิไนย (หลาน) ว่ า "ราหุล"